โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องเนอชองช์ปา

ดัชนี องเนอชองช์ปา

องเนอชองช์ปา (On ne change pas, "เราไม่เปลี่ยนแปลง") คืออัลบั้มรวบรวมเพลงยอดนิยมของเซลีน ดิออนที่รวบรวมขึ้นหลังการทำงานในฐานะนักร้องของเธอครบ 25 ปี อัลบั้มนี้เป็นอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสอัลบั้มแรกของเธอ องเนอชองช์ปา คืออัลบั้มภาษาฝรั่งเศสที่ 22 และ 33 เมื่อนับรวมอัลบั้มภาษาอังกฤษด้วย วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

57 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พฤศจิกายน พ.ศ. 2548กงตร์นาตูร์มานูแวล-ฟรองซ์มิราเคิลมิวสิกวิดีโอมีนาคม พ.ศ. 2549รัฐควิเบกลามูร์เอ็กซีสต์อ็องกอร์อองนาต็องด็องเซปาอิลดีโวองเนอชองช์ปา (เพลง)ทวีปยุโรปทวีปอเมริกาเหนือดองเซิงโนตเรอมงด์ดีวีดีตุลาคม พ.ศ. 2548ตูลอร์เดซอมตูเลเซอเกรซอราซูรีซูเลอวองซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง)ประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศแคนาดาประเทศไทยปูร์เกอตูแมมอองกอร์ป็อปแผ่นซีดีแดลโคลัมเบียเรเคิดส์โซนี บีเอ็มจีไลฟ์อาปารี (วิดีโอ)ไอบีลีฟอินยู (เฌอกรัวซองตัว)เชอลุยดีเรเมษายน พ.ศ. 2549เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเยเอเชอแตมอองกอร์เฌอเนอวูซูบลีปาเซลีน ดิออน1 พฤศจิกายน1 พฤษภาคม1 กุมภาพันธ์10 ตุลาคม13 มีนาคม18 ตุลาคม...21 พฤศจิกายน29 พฤศจิกายน3 ตุลาคม30 กันยายน4 ตุลาคม4 เมษายน6 มีนาคม ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กงตร์นาตูร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "กงตร์นาตูร์" (พ.ศ. 2547) "กงตร์นาตูร์" (Contre nature, "ฝืนธรรมชาติ") คือซิงเกิลวิทยุที่ 3 ของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม อวีนฟีย์เอกาตร์ตีป ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในบางประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส "กงตร์นาตูร์" เป็นผลงานการประพันธ์ของชาก เวอเนอรูโซ ผู้ประพันธ์เพลง "ตูลอร์เดซอม" และ "ซูเลอวอง" ให้กับเซลีนก่อนหน้านี้ ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เซลีนได้บันทึกเทปรายการพิเศษ "อวีนฟีเยอเอกัตเรอตี" ที่โรงแรมซีซ่าร์พาเลซ ลาส เวกัส มิวสิกวิดีโอเป็นผลงานอำนวยการสร้างของ Didier Kerbrat ถ่ายทำในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในทะเลทรายรัฐเนวาดา ลอสแอนเจลิส และปฐมทัศน์ในวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2547 ซึ่งได้บรรจุใน องเนอชองช์ปา ดีวีดีรวบรวมเพลงยอดนิยม ซึ่งออกจำหน่ายในปี พ.ศ. 2548 เพลงนี้ขึ้นสู่อันดับที่ 2 ชาร์ตควิเบกแอร์เพล และที่ 9 ชาร์ตโพลิช แอร์เพล "กงตร์นาตูร์" ได้บรรตุในอัลบั้ม อะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัส ฉบับของประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและกงตร์นาตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

มานูแวล-ฟรองซ์

"มานูแวล-ฟรองซ์" (Ma Nouvelle-France,"ฝรั่งเศสใหม่ของฉัน") คือเพลงประกอบภาพยนตร์แคนาดา-ฝรั่งเศส โดยเซลีน ดิออน เผยแพร่ในวิทยุเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ในแคนาดา "มานูแวล-ฟรองซ์" คือผลงานการประพันธ์ของลุก ปลามงดง ผู้ร่วมงานกับเซลีนตลอดมา และอำนวยการสร้างโดย Christopher Neil ("ธิงค์ทไวซ์," "แวดัสมายฮาร์ตบีทนาว"") และ Patrick Doyle เป็นผู้เรียบเรียงบทเพลง ภาพยนตร์เชิงประวัติศาสตร์ "นูแวล-ฟรองซ์" เป็นเหตุการณ์เกิดขึ้นกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตอนฝรั่งเศสออกจาแคนาดา ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นผลงานการกำกับของ Jean Beaudin และ Gérard Depardieu เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "มานูแวล-ฟรองซ์" (พ.ศ. 2547)จากการติดต่อโดยผู้อำนวยการสร้างเพลง Richard Goudreau 5 เดือนก่อนหน้านี้ สามีของเซลีน ดิออน เรเน่ แองเชลลิล ก็เปิดไฟเขียวให้เซลีนร้องเพลงนี้เพราะเขาประทับใจในภาพยนตร์เรื่องนี้มาก โดยใช้ชื่อเพลงว่า "มานูแวล-ฟรองซ์" เซลีนบันทึกเสียงเพลงนี้ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ที่ลาส เวกัส ซึ่งเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "นูแวล-ฟรองซ์" และได้บรรจุลงในอัลบั้ม องเนอชองช์ปา ในภายหลัง (3 ตุลาคม พ.ศ. 2548) มิวสิกวิดีโออำนวยการสร้างโดย Jean Beaudin ซึ่งเป็นภาพที่เซลีนบันทึกเสียงในห้องบันทึกเสียง และภาพจากภาพยนตร์ "มานูแวล-ฟรองซ์" อันดับสูงสุดที่ 17 ชาร์ตควิเบกแอร์เพล.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและมานูแวล-ฟรองซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มิราเคิล

ลงในชื่อเรียกเดียวกันนี้ ดูบทความที่ มิราเคิล (เพลงเซลีน ดิออน) หนังสือในชื่อเรียกเดียวกันนี้ ดูบทความที่ มิราเคิล (หนังสือ) มิราเคิล (Miracle) เป็นอัลบั้มภาษาอังกฤษที่ 12 และอัลบั้มที่ 32 ในทั้งหมด (นับรวมอัลบั้มภาษาฝรั่งเศส) ของเซลีน ดิออน วางแผงเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2547 และ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ในประเทศไท.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและมิราเคิล · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐควิเบก

วิเบก (Québec, Quebec) หรือ เกแบ็ก (Québec) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดาอยู่ทางตะวันออกของประเทศ และเป็นรัฐเดียวที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในระดับรัฐ แต่ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทน รัฐควิเบกมีเมืองหลวงในชื่อเดียวกันคือควิเบก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือมอนทรีออล.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและรัฐควิเบก · ดูเพิ่มเติม »

ลามูร์เอ็กซีสต์อ็องกอร์

"ลามูร์เอ็กซีสต์อ็องกอร์" (L'amour existe encore, "ความรักยังคงอยู่") คือซิงเกิลภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออนซึ่งในภายหลังได้มีการแต่งคำร้องใหม่เป็นภาษาสเปน และเรียบเรียงทำนองใหม่ ในชื่อว่า "อาอูนเอ็กซิสเตอามอร์" (Aún Existe Amor).

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและลามูร์เอ็กซีสต์อ็องกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อองนาต็องด็องเซปา

"อองนาต็องด็องเซปา" (En attendant ses pas, "รอคอยก้าวเดินของเขา") คือซิงเกิลที่ 4 ของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม เป็นซิงเกิลวิทยุในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 "อองนาต็องด็องเซปา" คือผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน ซึ่งเผยแพร่พร้อมกับเพลง "เชอกรัวซองตัว" ไม่มีมิวสิกวิดีโอสำหรับเพลงนี้ "อองนาต็องด็องเซปา" ขึ้นอันดับสูงสุดที่ 10 ในชาร์ตเบลเยี่ยมวอลโลนีแอร์เพล เพลงนี้ได้บรรจุลงในอัลบั้ม องเนอชองช์ปา แบบกล่องยาวในปี..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและอองนาต็องด็องเซปา · ดูเพิ่มเติม »

อิลดีโว

อิลดีโว คือกลุ่มศิลปินที่นำเทคนิคการร้องแบบโอเปร่าผสมผสานดนตรีแนวป๊อปในแบบโรแมนติก โดยมีวงออร์เคสตราบรรเลงประกอบ อิลดีโวประสบความสำเร็จอันดับที่ 1 ในชาร์ตระหว่างประเทศกว่า 26 แห่ง ยอดขายกว่า 13 ล้านแผ่น ได้รับสถานะทองและทองคำขาวกว่า 104 รางวัลทั่วโลก อิลดีโวประกอบไปด้วยสมาชิกดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและอิลดีโว · ดูเพิ่มเติม »

องเนอชองช์ปา (เพลง)

"องเนอชองช์ปา" (On ne change pas, "พวกเราจะไม่เปลี่ยนแปลง") คือซิงเกิลที่ 3 และซิงเกิลทางการค้าสุดท้ายของเซลีน ดิออนจากอัลบั้มซีลซูฟฟีเซแดมเม ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2542 ในบางประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส เพลงนี้เป็นอีกเพลงหนึ่งที่เป็นผลงานการประพันธ์และอำนวยการสร้างโดยชอง-ชาก โกลด์แมน เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "องเนอชองช์ปา" (พ.ศ. 2542) มิวสิกวิดีโอเพลง "องเนอชองช์ปา" อำนวยการสร้างโดย Gilbert Namiand ในปี..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและองเนอชองช์ปา (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ดองเซิงโนตเรอมงด์

"ดองเซิงโนตเรอมงด์" (Dans un autre monde, "ในโลกอื่นๆ") คือซิงเกิลวิทยุจากอัลบั้มอูร์เกอร์ดูสตาด เผยแพร่ในฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เพลงนี้เดิมบรรจุในอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม ปี..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและดองเซิงโนตเรอมงด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีวีดี

right ดีวีดี (Digital Versatile Disc; ชื่อย่อ DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น digital versatile disc ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด ความเร็วในการเขียนแผ่นดีวีดี 1x มีค่าเท่ากับ 10.5 Mb/s หรือราวๆ 1.32 MB/s เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและดีวีดี · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและตุลาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ตูลอร์เดซอม

"ตูลอร์เดซอม" (Tout l'or des hommes) คือซิงเกิลแรกจากอัลบั้มอวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ของเซลีน ดิออน จำหน่ายเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ในบางประเทศ "ตูลอร์เดซอม " ประพันธ์โดย ชาก เวอเนอรูโซ ผู้ประพันธ์เพลงภาษาฝรั่งเศสยอดนิยมของเซลีนก่อนหน้านี้ "ซูเลอวอง" เพลงอำนวยการสร้างโดย Erick Benzi ผู้เคยทำงานร่วมกับเซลีนในอัลบั้ม เดอ ในปี พ.ศ. 2538 และอัลบั้มซีลซูฟฟีเซแดมเม ในปี พ.ศ. 2541 เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ตูลอร์เดซอม" (พ.ศ. 2546)มิวสิกวิดีโอเพลงนี้อำนวยการสร้างโดย Yannick Saillet ถ่ายทำเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2546 ในทะเลทรายในรัฐเนวาดา ลอสแอนเจลิส และเผยแพร่เมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและตูลอร์เดซอม · ดูเพิ่มเติม »

ตูเลเซอเกร

"ตูเลเซอเกร" (Tous les secrets, "ทุกความลับ") คือซิงเกิลที่ 2 จากอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน องเนอชองช์ปา ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2549 ในบางประเทศ นอกจากนี้เพลงนี้ "ตูเลเซอเกร" ยังเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์การ์ตูนแอนนิเมชั่นฝรั่งเศสเรื่อง Asterix and the Vikings เพลงประพันธ์และอำนวยการสร้างโดย Kristian Lundin (ผู้ประพันธ์เพลง "แดทส์เดอะเวย์อิทอิส", "แอมอะไลฟ์") และ ชาก เวอเนอรูโซ ประพันธ์ในฉบับภาษาฝรั่งเศส (ผู้ประพันธ์เพลง "ซูเลอวอง", "ตูลอร์เดซอม", "กงตร์นาตูร์", "เชอเนอวูอูบลีปา") "ตูเลเซอเกร" ออกเผยแพร่ผ่านสถานีวิทยุ ในโปแลนด์ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2548 และในแคนาดาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 และวางจำหน่ายเพื่อการค้าในบางประเทศในทวีปยุโรป เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2549 ภาพปกของตูเลเซอเกร นำมาใช้อีกครั้งจากซิงเกิล "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" ที่วางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2545 อีกเพลงหนึ่งของซิงเกิล "ตูเลเซอเกร" คือเพลง "เล็ดยัวร์ฮาร์ตดีไซด์" เป็นฉบับภาษาอังกฤษของเพลงตูเลเซอเกร ทั้ง 2 ฉบับสามารถฟังได้ในอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์ Asterix and the Vikings ซึ่งวางจำหน่ายในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2549 เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ตูเลเซอเกร" และ "เล็ดยัวร์ฮาร์ตดีไซด์" (พ.ศ. 2549) มิวสิกวิดีโอ ของทั้ง 2 ฉบับ ประกอบไปด้วย ภาพจากภาพยนตร์ และภาพเซลีน ขณะบันทึกเพลงในห้องบันทึกเสียง เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ต่อมาได้บรรจุอยู่ในแผ่นดีวีดีภาพยนตร์เรื่อง Asterix and the Vikings ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เซลีนเคยบันทึกเสียงก่อนแสดงในเพลงตูเลเซอเกร ในรายการโทรทัศน์ประเทศฝรั่งเศส เรียกว่า "ฮิตแมตชีน" ระหว่างการเยือนฝรั่งเศสของเธอ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 และแพร่ภาพในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและตูเลเซอเกร · ดูเพิ่มเติม »

ซอราซูรี

"ซอราซูรี" (Zora sourit, "รอยยิ้มของซอรา") คือซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2541 ในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส " เพลงนี้คือผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน และน้องชายของเขา J. Kapler มิวสิกวิดีโอเพลง "ซอราซูรี" อำนวยการสร้างโดย Yannick Saillet ในไมอามี, ฟลอริดา และ Aubervilliers, ปารีสออกเผยแพร่เดือนกันยายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและซอราซูรี · ดูเพิ่มเติม »

ซูเลอวอง

"ซูเลอวอง" (Sous le vent - "ในสายลม") คือการร้องคู่กันระหว่างเซลีน ดิออน และการู ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เป็นซิงเกิลที่ 3 ของการู จากอัลบั้ม Seul (พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) "ซูเลอวอง" ได้บรรจุลงในอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมของเซลีน ดิออน ในปี พ.ศ. 2548 องเนอชองเช่ปา "ซูเลอวอง" เป็นผลงานการประพันธ์ของ ชาก เวอเนอรุสโซผู้ประพันธ์เพลง "ตูลอร์เดซอม" และ "เชอเนอวูอูบลีปา" เซลีนและการู ในมิวสิกวิดีโอเพลง "ซูเลอวอง" (พ.ศ. 2544)มิวสิกวิดีโอ เพลง "ซูเลอวอง" อำนวยการสร้างโดย Istan Rozumny และแพร่ภาพเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งได้บรรจุลงในดีวีดีรวมมิวสิกวิดีโอของเซลีน ใน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและซูเลอวอง · ดูเพิ่มเติม »

ซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง)

"ซีลซูฟฟีเซแดมเม" (S'il suffisait d'aimer, "ถ้าความรักเพียงเท่านั้นเท่าเพียงพอ") คือซิงเกิลที่ 2 ของเซลีน ดิออนจากอัลบั้มซีลซูฟฟีเซแดมเม ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และเป็นซิงเกิลหนึ่งที่ประสบความสำเร็จมากในอัลบั้มนี้ เพลงนี้ประพันธ์และอำนวยการสร้างโดยชอง-ชาก โกลด์แมน เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ซีลซูฟฟีเซแดมเม" (พ.ศ. 2541) มิวสิกวิดีโอฉบับร้องสดเพลง "ซีลซูฟฟีเซแดมเม" เป็นผลงานการอำนวยการสร้างของ Yannick Saillet ระหว่างการจัดคอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ และต่อมาได้บรรจุลงใน''ดีวีดีองเนอชองช์ปา'' ซิงเกิลนี้วางจำหน่ายในยุโรป ขึ้นอันดับที่ 4 ในฝรั่งเศส, 6 ในเบลเยี่ยม และ 19 ในยุโรป ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ (262,000 แผ่น) และเบลเยี่ยม (25,000 แผ่น) ฉบับร้องสดเพลง "ซีลซูฟฟีเซแดมเม" พบได้ใน ''ดีวีดีอูร์เกอร์ดูสตาด'' เพลงนี้ได้บรรจุลงในอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออนในปี..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปูร์เกอตูแมมอองกอร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอ เพลง "ปูร์เกอตูแมมอองกอร์" (พ.ศ. 2538) เซลีนขับร้องเพลง "ปูร์เกอตูแมมอองกอร์" ในมหรสพ''อะนิวเดย์...'' (พ.ศ. 2550) ปูร์เกอตูแมมอองกอร์ (Pour que tu m'aimes encore, "เพื่อให้คุณกลับมารักฉันอีกครั้ง") เป็นซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบัม เดอ (D'eux) ซึ่งออกจำหน่ายเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2538 เพลงนี้เป็นผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน (Jean-Jacques Goldman) และเป็นเพลงหนึ่งอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดของเซลีน ดิออน มิวสิกวิดีโอเพลงนี้ อำนวยการสร้างโดยมีแชล แมแยร์ (Michel Meyer) ใน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและปูร์เกอตูแมมอองกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและป็อป · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นซีดี

แผ่นซีดี แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นจานแสง หรือดิสก์แสงเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตราฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและแผ่นซีดี · ดูเพิ่มเติม »

แดล

แดล (D'elles) คืออัลบั้มภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน ที่ออกจำหน่ายในช่วงวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ในบางประเทศในยุโรปที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส แคนาดา และญี่ปุ่น รูปแบบการจำหน่ายประกอบไปด้วยรูปแบบซีดีธรรมดา, รูปแบบดิจิแพ็ก และรูปแบบกล่องนักสะสม นับเป็นอัลบั้มชุดที่ 34 ของเซลีน และเป็นอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสลำดับที่ 23 แดล สร้างสรรค์ขึ้นบนแนวคิดเชิดชูความเป็นอิตสรี โดยมีนักแต่งเพลงภาษาฝรั่งเศสทั้งชาวแคนาดาเชื้อสาวฝรั่งเศสและชาวฝรั่งเศสเองร่วมกันประพันธ์เพลงในอัลบั้มกว่า 10 คน เริ่มบันทึกเสียงตั้งแต่ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 เสร็จสิ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ พิกโคโลสตูดิโอส์ (Piccolo Studios) ในมอนทรีออลและมหานครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้เพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน (เชอเซอเรแซลเลอ-ลา)" เป็นซิงเกิลในการประชาสัมพันธ์ยอดขายอัลบั้มเป็นซิงเกิลแรก เริ่มจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2550 และมีการเผยแพร่เพลงอื่นๆ ในแต่ละสถานที่แตกต่างกันไป เซลีนประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการบันทึกเทปรายการพิเศษ 2 รายการในฝรั่งเศสและแคนาดา โดยมีการนำเทปบันทึกรายการพิเศษดังกล่าวออกอากาศทางช่อง TF1 และ TVA ในฝรั่งเศสและแคนาดาตามลำดับ และออกอากาศในเมืองมอนทรีออลเมื่อวันที่ 11 - 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและแดล · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมเบียเรเคิดส์

โคลัมเบียเรเคิดส์ เป็นเครื่องหมายการค้าในการบันทึกเสียง (ค่ายเพลง) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลือในปัจจุบัน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2431 หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและโคลัมเบียเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

โซนี บีเอ็มจี

ซนี่ บีเอ็มจี มิวสิก เอนเตอร์เทนเมนต์ เกิดจากการร่วมธุรกิจกันระหว่าง โซนี่ มิวสิก ของ โซนี่ คอร์เปอเรชัน และ บีเอ็มจี มิวสิก ของบริษัท เบอร์เทลส์แมน ในสัดส่วนร้อยละ 50 ต่อ 50 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและโซนี บีเอ็มจี · ดูเพิ่มเติม »

ไลฟ์อาปารี (วิดีโอ)

ลฟ์อาปารี (Live à Paris) คือ สื่อวีดิทัศน์ที่ 3 ของเซลีน ดิออน ซึ่งบันทึกภาพที่ Zenith Theatre ใน ปารีสเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2538 ระหว่างคอนเสิร์ตทัวร์เดอ เซลีน ระหว่างการแสดงคอนเสิร์ตไลฟ์อาปารีส (ปี พ.ศ. 2538) คอนเสิร์ตนำโดยเพลงฝรั่งเศสและเพลงภาษาอังกฤษเล็กน้อย ชอง-ชาก โกลด์แมนร่วมกับเซลีน ดิออน ในเพลง "Les derniers seront les premiers" และ "ชีเรเออตูอีรา" ไลฟ์อาปารี จำหน่ายเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ในรูปแบบวิดีโอ และวางจำหน่ายใหม่ในรูปแบบดีวีดีเมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งไม่ได้บรรจุเพลง "ริเวอร์ดีฟ, เมาท์เทนไฮ" ไลฟ์อาปารี วิดีโอ ได้รับการรับรองสถานะ 3x พลาตตินัม ในฝรั่งเศส (60,000 แผ่น) และดีวีดีที่วางจำหน่ายใหม่ได้รับรับรองเป็นสถานะพลาตตินัม (20,000 แผ่น) ในชาร์ทมิวสิกวีดีโอฝรั่งเศส ตั้งแต่กันยายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและไลฟ์อาปารี (วิดีโอ) · ดูเพิ่มเติม »

ไอบีลีฟอินยู (เฌอกรัวซองตัว)

"ไอบีลีฟอินยู (เฌอกรัวซองตัว)" (I Believe in You (Je crois en toi)) คือซิงเกิลที่ อิล ดิโว่วงป๊อป-โอเปร่า และเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดาขับร้องร่วมกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เป็นซิงเกิลที่ 3 ของเซลีนจากอัลบั้ม องเนอชองช์ปา และซิงเกิลแรกและซิงเกิลเดียวของอิล ดิโว่จากอัลบั้ม อังโกร่า เซลีน และอิล ดิโว่ ในภาพการแสดงในรายการโทรทัศน์ เพลง "ไอบีลีฟอินยู (เฌอกรัวซองตัว)" (พ.ศ. 2549) ลุก ปลามงดงเป็นผู้ประพันธ์เนื้อร้องส่วนที่เป็นภาษาฝรั่งเศสซึ่งเคยทำงานร่วมกับเซลีน ดิออนมาแล้วในอัลบั้ม ดียงชองเตอปลามงดง "ไอบีลีฟอินยู (เฌอกรัวซองตัว)" ออกเผยแพร่ทางวิทยุในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 และออกจำหน่ายในรูปแบบซีดีในยุโรปเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 นอกจากนี้ยังเผยแพร่ทางวิทยุในแคนาดาเมื่อบ พ.ศ. 2549 อีกด้วย ไม่มีมิวสิกวิดีโอสำหรับเพลงนี้ เซลีน และอิล ดิโว่ขับร้องเพลงนี้ทางรายการโทรทัศน์ทั่วไปตลอดเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและไอบีลีฟอินยู (เฌอกรัวซองตัว) · ดูเพิ่มเติม »

เชอลุยดีเร

อลุยดีเร (Je lui dirai, "ฉันจะบอกเขา") คือซิงเกิลจากอัลบั้ม มิราเคิล ลำดับที่ 3 เผยแพร่ทางวิทยุเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ในฝรั่งเศส และเบลเยี่ยม ประพันธ์โดยชอง-ชาก โกลด์แมน อำนวยการสร้างโดย Erick Benzi เพลงนี้เคยบรรจุในอัลบั้มอวีนฟีย์เอกาตร์ตีป เมื่อปี พ.ศ. 2546 มิวสิกวิดีโออำนวยการสร้างโดย Scott Floyd Lochmus เผยแพร่เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งเป็นการแสดงถึงขั้นตอนการถ่ายทำหนังสือภาพ ปาฎิหารย์: หนังสือเฉลิมฉลองชีวิตใหม่ ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เซลีนบันทึกภาพรายการพิเศษอวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ที่โรงแรมซีซ่าร์พาเลซ ในลาส เวกัส เชอลุยดีเรติดอันดับสูงสุดที่ 11 ในชาร์ต Belgian Wallonie Airplay.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและเชอลุยดีเร · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและเมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย

"เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย" (Les derniers seront les premiers) คือซิงเกิลของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม ไลฟ์อาปารี ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2539 ในยุโรปและแคนาดา ซึ่งเป็นผลงานการร้องสดของเธอร่วมกับชอง-ชาก โกลด์แมน "เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย" เป็นผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน เดิมเป็นเพลงหนึ่งในอัลบั้ม เดอ ซึ่งชอง-ชากขับร้องเป็นเสียงพื้นหลังเท่านั้น มิวสิกวิดีโอได้นำมาจากการแสดงสดเพลงดังกล่าว ณ โรงละคร Zenith ปารีส ซึ่งสามารถดูได้จาก ไลฟ์อาปารี ดีวีดี "เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย" ขึ้นอันดับสูงสุดที่ 3 ในควิเบกแอร์เพลย์ชาร์ต เข้าสู่ชาร์ตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 และอยู่บนชาร์ตนานกว่า 35 สัปดาห์ นอกจากนี้ยังขึ้นชาร์ตอันดับที่ 47 ของเบลเยี่ยมวอลโลเนียแอร์เพลย์ชาร์ตอีกด้ว.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและเลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย · ดูเพิ่มเติม »

เอเชอแตมอองกอร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "เอเชอแตมอองกอร์" (พ.ศ. 2546) "เอเชอแตมอองกอร์" (Et je t'aime encore,"และฉันก็ยังคงรักคุณ") คือซิงเกิลที่ 2 ของเซลีน ดิออน จากอัลบั้มอวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ในบางประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส "เอเชอแตมอองกอร์" ประพันธ์โดยชอง-ชาก โกลด์แมนผู้ร่วมทำงานกับเซลีน ในอัลบั้ม เดอ ในปี พ.ศ. 2538 และซีลซูฟฟีเซแดมเม ในปี พ.ศ. 2541 ฉบับภาษาอังกฤษของเพลงนี้บรรจุในอัลบั้มวันฮาร์ต ซึ่งบันทึกเสียงก่อนและใช้ชื่อเพลงเดียวกัน ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เซลีนได้บันทึกเทปรายการพิเศษ อวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ที่โรงแรมซีซ่าร์พาเลซ, ลาสเวกัส มิวสิกวิดีโอ อำนวยการสร้างโดย Yannick Saillet ถ่ายทำที่บาร์ Whiskey Bar ในลาส เวกัส ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและเอเชอแตมอองกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฌอเนอวูซูบลีปา

"เฌอเนอวูซูบลีปา" (Je ne vous oublie pas, "ฉันไม่ลืมคุณ") เป็นซิงเกิลแรกจากอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน องเนอชองช์ปา วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2548 คำร้องประพันธ์โดย ฌัก เวอเนอรูโซ (ผู้ทำงานร่วมกับเซลีน ดิออนในอัลบั้ม อวีนฟีเยอเอกัตเรอตี อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสก่อนหน้านี้) กล่าวว่าเพลงนี้เป็นการขอบคุณแฟนเพลงของเธอ "เฌอเนอวูซูบลีปา" ออกจำหน่ายเพื่อการค้าในบางประเทศในยุโรป และออกเผยแพร่ในสถานีวิทยุแบบซิงเกิลสถานีวิทยุในแคนาดา เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "เฌอเนอวูซูบลีปา" (พ.ศ. 2548) มิวสิกวิดีโอ ถ่ายทำและอำนวยการผลิตในโรงละครมอนทรีออล อิมพีเรียล ประเทศแคนาดาเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 โดย Didier Kerbrat และออกเผยแพร่ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและเฌอเนอวูซูบลีปา · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ1 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มีนาคม

วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันที่ 72 ของปี (วันที่ 73 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 293 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ13 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ18 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤศจิกายน

วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ21 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ4 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปาและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

On Ne Change Pas (อัลบั้ม)On ne change pasองเนอชองเชอปาองเนอชองเช่ปา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »