โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิซา ล็อง

ดัชนี จักรพรรดิซา ล็อง

ซา ล็อง (Gia Long, 嘉隆) หรือ เหงียน ฟุก อั๊ญ (Nguyễn Phúc Ánh, 阮福暎) เป็นที่รู้จักกันในพระนาม พระเจ้าเวียดนามยาลองทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

53 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2305พ.ศ. 2308พ.ศ. 2317พ.ศ. 2320พ.ศ. 2321พ.ศ. 2323พ.ศ. 2324พ.ศ. 2326พ.ศ. 2328พ.ศ. 2329พ.ศ. 2330พ.ศ. 2331พ.ศ. 2332พ.ศ. 2335พ.ศ. 2337พ.ศ. 2342พ.ศ. 2343พ.ศ. 2344พ.ศ. 2345พ.ศ. 2346พ.ศ. 2350พ.ศ. 2355พ.ศ. 2358พ.ศ. 2360พ.ศ. 2363พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระราชวังต้องห้ามกวีเญินราชวงศ์ชิงราชวงศ์เหงียนรายพระนามจักรพรรดิเวียดนามลัทธิขงจื๊อสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตัน กรมหลวงเทพหริรักษ์สงครามเก้าทัพอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)ฮานอยจอหงวนจักรพรรดิจักรพรรดิมิญ หมั่งจักรพรรดินีเถื่อ เทียนจักรพรรดิเจียชิ่งจังหวัดพระสีหนุดานังประเทศเวียดนามปักกิ่งปูดูเชร์รีนครโฮจิมินห์แวร์ซายโรคฝีดาษ...เว้เหงียน ฟุก กั๋ญเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

พ.ศ. 2305

ทธศักราช 2305 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2305 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2308

ทธศักราช 2308 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2308 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2317 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2320

ทธศักราช 2320 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2320 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2323

ทธศักราช 2323 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2323 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2328 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2329

ทธศักราช 2329 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 1786.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2329 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2330 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2331

ทธศักราช 2331 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2331 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2332

ทธศักราช 2332 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2332 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2335

ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2335 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2337 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2345 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2346

ทธศักราช 2346 ตรงกับคริสต์ศักราช 1803 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2346 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2350

ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2350 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2355

ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2355 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2360

ทธศักราช 2360 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2360 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพ.ศ. 2363 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1949 จนถึง พ.ศ. 1963 พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจตุรัสเทียนอันเหมิน นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัสนี้ ผ่านประตูเทียนอันเหมิน บริเวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิน เรียกว่า อาณาเขตหลวง โดยมีสิ่งก่อสร้างสำคัญอยู่โดยรอบ เช่น มหาศาลาประชาคม ในอดีต พระราชวังแห่งนี้ เป็นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ข้าราชการชั้นสูง ยังต้องขออนุญาต เป็นกรณีพิเศษ จึงเรียกพระราชวังนี้ว่า "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ในพระราชวังแห่งนี้ กั้นพระองค์จากโลกภายนอก โดยมีสนมกำนัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ซึ่งคนเหล่านี้ต้องอาศัยอยู่ในนครต้องห้ามตลอดชีวิต เพื่อความสำราญของจักรพรรดิ ในวังจะมีวิเสท 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกำนัล 9,000 นาง ซึ่งมีขันที 70,000 คน คอยดูแลให้ มีคำเล่าลือกันว่า พระนางซูสีไทเฮา เวลาเสวยก็จะมีพระกระยาหารถึง 148 ชุด และทรงส่งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่มซึ่งเข้าวังแล้วจะไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย แม้ว่าประเทศจีนจะไม่มีสถาบันพระมหากษัตริย์แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ยังคงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยังปรากฏอยู่ในตราประจำสาธารณรัฐประชาชนจีนอีกด้วย นอกจากนี้ พระราชวังต้องห้ามยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งไม่นานมานี้ ทางรัฐบาลจีนได้มีนโยบายจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้ ยูเนสโกได้ประกาศให้พระราชวังต้องห้ามร่วมกับพระราชวังเสิ่นหยางเป็นหนึ่งในมรดกโลกในนาม พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง เมื่อ พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987).

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและพระราชวังต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

กวีเญิน

กวีเญิน (Quy Nhơn) เป็นเมืองชายฝั่งทะเลและเมืองหลักของจังหวัดบิ่ญดิ่ญทางตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีเนื้อที่ 286 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยแขวง (phường) 16 แขวง และตำบล (xã) 5 ตำบล มีจำนวนประชากร 280,900 คน ณ ปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและกวีเญิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหงียน

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ. 1802 เมื่อจักรพรรดิซา ล็อง ทรงปราบดาภิเษกหลังจากปราบปรามกบฏไตเซินแล้ว และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 เมื่อจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยทรงสละราชสมบัติ และมอบอำนาจให้กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในระหว่างรัชกาลของจักรพรรดิซา ล็อง เวียดนามมีชื่อว่า เวียดนาม (越南) อยู่อย่างปัจจุบัน แต่ในรัชสมัยของจักรพรรดิมิญ หมั่ง พระองค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ดั่ยนาม (大南, แปลว่า "ชาติยิ่งใหญ่ทางตอนใต้") การปกครองของราชวงศ์เหงียนถูกจำกัดโดยอิทธิพลที่เพิ่มขึ้นของนักล่าอาณานิคมฝรั่งเศส ประเทศได้ถูกแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ โคชินไชนาเป็นรัฐอาณานิคมโดยตรงขณะที่อันนามและตังเกี๋ยกลายเป็นรัฐอารักขาซึ่งมีอิสระเพียงในนาม.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและราชวงศ์เหงียน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม

้านล่างนี้คือ รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและรายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตัน กรมหลวงเทพหริรักษ์

มเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตัน กรมหลวงเทพหริรักษ์ (พ.ศ. 2302 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2348) พระนามเดิม ตัน เป็นพระโอรสลำดับที่ 1 ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ กับ เจ้าขรัวเงิน ประสูติในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตัน กรมหลวงเทพหริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก้าทัพ

งครามเก้าทัพ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรมราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังวะแล้ว ทำสงครามรวบรวมเมืองเล็กเมืองน้อยรวมถึงเมืองประเทศราชให้เป็นปึกแผ่น แล้วก็ได้ยกกองกำลังเข้ามา โดยมีจุดประสงค์ทำสงครามกับกรุงรัตนโกสินทร์ สงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงได้ยกทัพมาถึง 9 ทัพ รวมกำลังพลมากถึง 144,000 นาย โดยแบ่งการเข้าโจมตีกรุงรัตนโกสินทร์ออกเป็น 5 ทิศทาง.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและสงครามเก้าทัพ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2519 และก่อนหน้านั้นเคยเป็นเมืองหลวงของพื้นที่เวียดนามในปัจจุบันเป็นครั้งคราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึง..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและฮานอย · ดูเพิ่มเติม »

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิญ หมั่ง

มิญ หมั่ง (Minh Mạng, 明命; 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 — 20 มกราคม ค.ศ. 1841) หรือในพงศาวดารไทยเรียก มินมาง มีพระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก ด๋าม (Nguyễn Phúc Đảm, 阮福膽) เป็นจักรพรรดิแห่งเวียดนามจากราชวงศ์เหงียน ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงเป็นผู้นำของเวียดนามในช่วงสงครามอานามสยามยุทธ จักรพรรดิซา ล็อง พระบิดาของจักรพรรดิมิญ หมั่ง ได้กอบกู้เวียดนามจากกบฏเต็ยเซิน จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงรับช่วงต่อบ้านเมืองจากพระบิดาและทรงจัดระเบียบการปกครองของราชสำนักเวียดนามให้เรียบร้อย จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo–Confucianism) เป็นอย่างมาก เป็นกษัตริย์ที่ใส่พระทัยในการปกครองและความเป็นอยู่ของราษฎร แต่ทว่าความเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อของพระองค์ทำให้ราชสำนักเวียดนามเกิดความขัดแย้งกับมิชชันนารีชาวตะวันตก ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเวียดนามกับชาติตะวันตกโดยเฉพาะฝรั่งเศสเสื่อมถอยลงอย่างมากในรัชสมัยของพระองค์ จนนำไปสู่การสูญเสียเอกราชแก่ฝรั่งเศสในที.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและจักรพรรดิมิญ หมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเถื่อ เทียน

ักรพรรดินีเถื่อ เทียน (Thừa Thiên Cao Hoàng hậu, จื๋อโนม: 承天高皇后; 19 มกราคม ค.ศ. 1762 – 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1814) มีพระนามาภิไธยเดิมว่า ต๊ง ฟุก ถิ ลาน (Tống Phúc Thị Lan, 宋福氏蘭) เป็นจักรพรรดินีในจักรพรรดิซา ล็อง หรือองเชียงสือ (Gia Long, 嘉隆) และเป็นพระราชชนนีของมกุฎราชกุมารอัญเส่ว (Anh Duệ, 英睿).

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและจักรพรรดินีเถื่อ เทียน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียชิ่ง

มเด็จพระจักรพรรดิเจียชิ่ง (จักรพรรดิชิงเหรินจง) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303 – 2 กันยายน พ.ศ. 2363) เป็นโอรสองค์ที่ 15 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เดิมมีพระนามว่า หย่งเยี๋ยน (顒琰) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2339 (ค.ศ. 1796) เมื่อพระชนมายุได้ 37 พรรษา ภายหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดิเฉียนหลง พระราชบิดา แต่อำนาจในการปกครองแผ่นดินแท้จริงยังอยู่ในจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อจนถึงปีที่ 3 ที่ทรงครองราชย์ พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงได้สวรรคต และพระองค์จึงได้อำนาจในการปกครองอย่างแท้จริง เมื่อทรงได้อำนาจเต็มแล้ว ทรงได้กำจัดเหอเซิน ที่เป็นขุนนางกังฉิน โกงกินชาติ ซึ่งเป็นคนสนิทของจักรพรรดิเฉียนหลง ทรงรวบรวมขุนนางและบรรดาผู้ที่จงรักภักดีเพื่อกำจัดเหอเซิน โดยบุคคลสำคัญผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการครั้งนี้คือ อ๋องเฉิน ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์และเป็นพระโอรสลำดับที่ 11 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อได้ยึดทรัพย์เหอเซินแล้ว พบว่าเงินจำนวนที่เหอเซินยักยอกไว้นั้นมีมูลค่าเท่ากับรายได้ประเทศชาติถึง 10 ปี แต่เมื่อจับกุมเหอเซินได้แล้วกลับลังเลพระทัยที่จะประหารชีวิต เนื่องจากทรงเคยรับคำพระราชบิดา จักรพรรดิเฉียนหลงเอาไว้ว่าจะไว้ชีวิตเหอเซิน เมื่อพระองค์สวรรคต แต่ได้ถูกอ๋องเฉินและบรรดาขุนนางทูลทัดทาน จึงได้ตัดสินพระทัยบังคับให้เหอเซินผูกคอตาย ตลอดรัชสมัย ทรงพบกับการก่อกบฏและเรื่องทางความมั่นคงมากมาย เช่น กบฏพรรคบัวขาว, กบฏโจรสลัดไต้หวัน กบฏพรรคเที่ยงธรรม เป็นต้น ซึ่งกบฏเหล่านี้ส่วนใหญ่ เป็นกบฏชาวฮั่นที่รวบรวมคนไว้เพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิงกอบกู้ราชวงศ์หมิงนั่นเอง มีพระโอรส 3 พระองค์ พระโอรสองค์โตเกิดจากพระอัครมเหสีฮีตียา ซึ่งเป็นพระอัครมเหสีที่ทรงรักยิ่ง แต่พระนางสิ้นพระชนม์ไปก่อนเมื่ออายุยังน้อย และพระโอรสอีก 2 พระองค์ ที่เกิดจากพระมเหสีหนิวฮูลู่ พระอัครมเหสีองค์ใหม่ที่ทรงแต่งตั้งขึ้นมาจากการเป็นพระมเหสี ซึ่งพระองค์ไม่เคยโปรดพระนางเลย แต่ต้องทรงสถาปนาเนื่องจากเหตุผลทางการเมือง ด้วยต้องการให้เหล่าขุนนางและประชาราษฎร์เห็นถึงพระทัยเมตตาของพระองค์ เหตุที่ไม่โปรดพระมเหสีหนิวฮูลู่ นี้ เพราะพระนางเป็นบุตรสาวของขุนนางที่เคยเป็นพรรคพวกเหอเซินมาก่อน จึงไม่ไว้วางพระทัย ในรัชสมัยของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ปรากฏกรณีที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติมาตลอด เช่น เกิดกบฏต่างๆ การที่เวียดนามขอแยกออกไปเป็นประเทศเอกราช เป็นต้น ซึ่งพระองค์ทรงใช้ทั้งนโยบายที่ผ่อนปรนและแข็งกร้าวสลับกันไป เช่น การห้ามชาวแมนจูแต่งงานกับชาวฮั่นเด็ดขาด หรือ การห้ามชาวคริสต์เผยแพร่ศาสนาเด็ดขาด รวมทั้งการห้ามราษฎรสูบฝิ่นด้วย เป็นต้น ซึ่งสิ่งทั้งหมดเหล่านี้จะส่งผลต่อความมั่นคงตามมาในภายหลัง ในปลายรัชสมัย มีพระพลานามัยอ่อนแอ ด้วยทรงสูงพระชันษาประกอบกับการกลัดกลุ้มพระทัยอยู่บ่อยครั้งเกี่ยวกับราชภารกิจ สวรรคตในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) พระชนมายุ 61 พรรษา รวมระยะเวลาที่ได้ทรงครองราชย์ 24 ปี และผู้ที่ครองราชย์สืบต่อมาคือ องค์ชายเหมี่ยนหนิง ภายหลังขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและจักรพรรดิเจียชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระสีหนุ

ระสีหนุ หรือ เปรียะสีหนุ (ព្រះសីហនុ) เป็นจังหวัด (ខេត្ត, เขต) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา ติดต่อกับอ่าวไทย เมืองหลักของจังหวัดมีชื่อว่า พระสีหนุ เป็นเมืองท่าเรือน้ำลึก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวชั้นนำของประเทศ และเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและจังหวัดพระสีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

ดานัง

นัง หรือ ด่าหนัง (Da Nang; Đà Nẵng) เป็นเมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้ จัดเป็น 1 ใน 5 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในเวียดนาม.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและดานัง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปูดูเชร์รี

ปุทุจเจรี (புதுச்சேரி ปูดุกเชรี อ่าน ปูดุชเชรี; Poudouchéry ปูดูเชรี) หรือชื่อเดิมคือ พอนดิเชอร์รี หรือ พอนดี (Pondicherry หรือ Pondy) เป็นเขตการปกครองดินแดนสหภาพแห่งหนึ่งของสาธารณรัฐอินเดีย ซึ่งเดิมพื้นที่นี้เคยเป็นอดีตอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส และมีดินแดนส่วนแยกอีกจำนวนหนึ่ง แต่เรียกรวมว่า ปุทุจเจรี เนื่องจากปุทุจเจรีเป็นดินแดนส่วนใหญ่ เดิมปุทุจเจรี มีชื่อเดิมว่า พอนดิเชอร์รี แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่ ซึ่งมีความหมายว่า หมู่บ้านใหม่ ตามภาษาทมิฬ.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและปูดูเชร์รี · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์ซาย

แวร์ซาย (Versailles) เป็นเมืองที่โด่งดังในฐานะที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังแวร์ซาย แวร์ซายเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฝรั่งเศสโดยพฤตินัยเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ นับจาก..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

โรคฝีดาษ

ฝีดาษตามลำตัวของผู้ป่วย การระบาดของฝีดาษในยุโรป การติดเชื้อฝีดาษของชาวอเมริกันอินเดียนจากชาวยุโรป ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ หรือ ไข้หัว (Smallpox) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก small poxvirus (Variolar) มีลักษณะเฉพาะคือมีผื่นขึ้นตามตัว และมีอาการทั่วไปรุนแรง โรคนี้ระบาดในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถานและเอธิโอเปียเมื่อปี พ.ศ. 2519 สำหรับประเทศไทยมีการบันทึกไว้ว่าระบาดครั้งสุดท้ายปี พ.ศ. 2504 องค์การอนามัยโลกได้เลิกฉีดวัคซีนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและโรคฝีดาษ · ดูเพิ่มเติม »

เว้

ว้ (Huế เฮฺว้; จื๋อโนม: 化) เป็นเมืองเอกของจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ ประเทศเวียดนาม และเคยเป็นเมืองหลวงเก่าในสมัยราชวงศ์เหงียนช่วงปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและเว้ · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน ฟุก กั๋ญ

หงียน ฟุก กั๋ญ (Nguyễn Phúc Cảnh, จื๋อโนม: 阮福景; 24 มีนาคม ค.ศ. 1780 – 6 เมษายน ค.ศ. 1801) หรือพระนามลำลองว่า เจ้าชายกั๋ญ (Hoàng tử Cảnh, 皇子景) ต่อมาได้เป็นพระยุพราชเจ้าแห่งเวียดนาม มีพระนามาภิไธยว่า มกุฎราชกุมารอัญเส่ว (Anh Duệ thái tử, 英睿太子) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซา ล็อง หรือองเชียงสือ (Gia Long, 嘉隆) พระองค์ทรงเป็นเจ้านายที่มีชื่อเสียง เนื่องจากขณะมีพระชันษาได้ 7 ปี ได้เสด็จเยือนประเทศฝรั่งเศสกับปีแยร์ ปีโญ เดอ เบแอน (Pierre Pigneau de Béhaine) หรือบ๊า ดา หลก (Bá Đa Lộc, 百多祿) บาทหลวงชาวฝรั่งเศส เพื่อลงพระนามาภิไธยในสนธิสัญญาการเป็นพันธมิตรระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดนาม แม้พระองค์จะมีพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารสืบราชสมบัติตามกฎมนเทียรบาล แต่พระองค์ก็ทิวงคตเสียในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและเหงียน ฟุก กั๋ญ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)

้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2356 - 12 มิถุนายน พ.ศ. 2413) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่สมัยรัตนโกสินทร์ ผู้ช่วยปลัดกรมท่า ปลัดกรมพระตำรวจ ผู้สำเร็จราชการในกิจการต่างประเทศ นักเขียนพระราชพงศาวดาร ผู้แต่งและผู้ตีพิมพ์หนังสือรวมทั้งหนังสือแสดงกิจจานุกิจ หนังสือไทยเล่มแรกที่อธิบายความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์และศาสนาที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิซา ล็องและเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระจักรพรรดิยา ลองสมเด็จพระจักรพรรดิซา ลองสมเด็จพระจักรพรรดิซา ล็ององเชียงสือ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »