โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องค์คำ

ดัชนี องค์คำ

ระบรมเชษฐขัตติยสุริยวงศา มีพระนามเดิมว่า เจ้าองค์คำ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ต่อจาก เจ้ากิ่งกิสราช พระองค์มีนามแรกประสูติว่า หม่อมน้อย เป็นโอรสใน เจ้าอินทกุมาร เจ้าเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาวเชื้อสายกษัตริย์เมืองเชียงรุ้ง กับ หม่อมคำแล เมื่อแรกพระบิดาของพระองค์ทรงลี้ภัยสงครามลงมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารใน พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช ที่อณาจักรล้านช้าง เมื่อ เจ้ากิ่งกิสราช สวรรคตลง เจ้ากิ่งกิสราช ไม่มีพระโอรสสืบบัลลังค์ อันจะมีแต่พระธิดา 2 องค์ เหล่าบรรดาขุนนาได้อัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราช และให้ เจ้านางแทนสาว เจ้านางแทนคำ ขึ้นเป็นเทวี คู่กับพระองค์ แต่เมือ เจ้าอินทโฉม ซึ่งตอนนั้นครองเมืองเชียงขอมอยู่ทราบข่าวการสวรรคตของ เจ้ากิ่งกิสราช จึงได้รวบรวมไพล่พลลงมาตีเอาเมืองคืน เจ้าองค์คำ เห็นว่าสู้ไม่ได้จึงได้จึงได้พาบริวาลส่วนหนึ่งเดินทางหนีไปผนวชอยู่ที่วัดช้างเผือกในเมืองเชียงใหม.

17 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2256พ.ศ. 2265พ.ศ. 2266พ.ศ. 2270พ.ศ. 2302รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาวอังวะองค์จันทร์จังหวัดพะเยาเจ้ากิ่งกิสราชเจ้าสุวรรณเจ้าอินทกุมารเจ้าอินทโฉมเจ้าองค์คำเจ้าอโนชาเจ้าไชยน้อยเทพสิงห์

พ.ศ. 2256

ทธศักราช 2256 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: องค์คำและพ.ศ. 2256 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2265

ทธศักราช 2265 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: องค์คำและพ.ศ. 2265 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2266

ทธศักราช 2266 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: องค์คำและพ.ศ. 2266 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2270

ทธศักราช 2270 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: องค์คำและพ.ศ. 2270 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2302

ทธศักราช 2302 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: องค์คำและพ.ศ. 2302 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว

ระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร (เจ้าอุ่นคำ) กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ประทับบนพระราชบัลลังก์ ในพระราชวังหลวงเมืองหลวงพระบาง ลำดับกษัตริย์ลาว อ้างอิงตามพงศาวดารหลวงพระบาง ชินกาลมาลีปกรณ์ และ ตำนานพระแก้วมรกต กรณีศักราชไม่ตรงกัน จะยึดตามตำนานพระแก้วมรกตเป็นหลัก ขุนบรมราชาธิราช (พ.ศ. 1240 - พ.ศ. 1293) ได้ย้ายจากหนองแส (เมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้า) มาอยู่ที่ใหม่เรียกว่า นาน้อยอ้อยหนู (เมืองแถนหรือเมืองกาหลง) ปัจจุบันเรียกว่าเชียงรุ่งเขตสิบสองพันนา พร้อมทั้งขยายอาณาเขตออกไปโดยส่งโอรส 7 องค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: องค์คำและรายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

อังวะ

อังวะ (အင်းဝ, อีนวะ หรือ อะวะ) ตั้งอยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เป็นเมืองหลวงเก่าของพม่าถึง 5 ครั้งในช่วง 360 ปีระหว่าง ค.ศ. 1365 ถึง ค.ศ. 1842 ทั้งในสมัยราชวงศ์อังวะ ราชวงศ์ตองอู และราชวงศ์คองบอง ในประวัติศาสตร์เมืองอังวะผ่านการสู้รบ ถูกปล้นสะดมและฟื้นฟูมาแล้วหลายครั้ง ปัจจุบันถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิง อันเป็นผลมาจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1839 ซากปรักหักพังที่เหลืออยู่ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในเขตมัณฑะเลย์ อังวะมีชื่อในภาษาบาลีว่า "รัตนปุระ" (พม่าเรียก ยะดะหน่าบู่ยะ) (ऋअतनपुर; ရတနာပူရ) ส่วนชื่อในภาษาพม่า มีความหมายว่า "ปากทะเลสาบ" เนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมือง ตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบในเขตอำเภอจอกเซ.

ใหม่!!: องค์คำและอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

องค์จันทร์

องค์จันทร์ เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ พระองค์ที่ 3 ตั้งแต่เมืองเชียงใหม่เป็นอิสระจากพม่า องค์จันทร์ เป็นพระโอรสในองค์คำ ได้ครองเชียงใหม่หลังจากที่พระบิดาสิ้นพระชนม์ แต่ครองล้านนาได้เพียง 2 ปี เจ้าปัดได้ยึดเมืองเชียงใหม่จากองค์จันทร์แต่กลับไม่ยอมครองเมืองอาจเป็นเพราะไม่มีอำนาจบารมีเพียงพอ ดังนั้นจึงไปขอให้พระภิกษุวัดดวงดี ลาสิกขาบทออกมาเป็นเจ้าเมืองแทนเจ้าปัด เรียกว่า เจ้าขี้หุด ในปี..

ใหม่!!: องค์คำและองค์จันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ใหม่!!: องค์คำและจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากิ่งกิสราช

ระธรรมกิจล้านช้างร่มขาวบรมบพิตรราชธานีกรุงศรีสัตนาคนหุต อุดมราชธานีบุรีรมย์ยมจักรพรรดิราชเจ้า มีพระนามเดิมว่า พระเจ้ากิ่งกิสราช เป็นโอรสของ เจ้าราชวงษ์โอรสในพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช และ เจ้านางจันทรกุมารีเป็นขนิษฐาในเจ้าอินทกุมารเจ้าเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาวโดยเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาวเกิดการแย่งชิงบัลลังค์ขึ้นเจ้าอินทกุมารจึงได้อพยกไพล่พลมาขอลี้ภัยที่เมืองล้านช้างและได้พาเจ้านางจันทรกุมารีมาด้วย เจ้าราชวงษ์มีใจประดิพัทธด้วยเจ้านางจันทรกุมารีจึงได้ขอเจ้านางจันทรกุมารีไปเป็นชายา ทรงมีโอรสด้วยกัน 2 องค์ คือ เจ้ากิ่งกิสราช และ เจ้าอินทโฉม.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้ากิ่งกิสราช · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุวรรณ

เจ้าสุวรรณ เป็นโอรสใน เจ้าองค์คำ กับ หม่อมยวน มารดาน่าจะเป็นสตรีชาวล้านนา เมื่อครั้งที่พระบิดาได้ครองล้านนา(เชียงใหม่) พระบิดาขอพระองค์พยายามจะตีเอาเมือง ล้านช้างช้างหลวงพระบางคืนจาก เจ้าอินทโฉม หลายครั้งแต่ไม่สำเร็จ จนทำให้พระอนุชาหลายพระองค์สิ้นพระชนม์ เจ้าสุวรรณ ถือว่าเป็นรัชทายาทในการสืบบัลลังค์ ต่อจากพระบิดา แต่มีเหตุการหนึ่ง กล่าวคือ เมื่อครั้งเดือนสิบสองเพ็ญ พระยาคำใต้ (เจ้าสุวรรณ) อยากกินข้าวปูน(ขนมจีน) จึงให้ข้าชายผู้หนึ่งไปซื้อ แต่ข้าชายนั้นกลับหาซื้อไม่ได้ พระองค์จึงโกรธมากไล่เอาไม้ตีข้าชายผู้นั้น ข้าชายผู้นั้นหนีเขาไปในวังของ เจ้าอโนชา พระอนุชาของพระองค์ เจ้าอโนชา ทรงตกพระทัยนึกว่าเจ้าสุวรรณพระเชษฐา จะคิดปองร้าย จึงได้ใช้ดาบแทง เจ้าสุวรรณ สิ้นพระชนม์ ความทราบถึงพระบิดา เจ้าอโนชา จึงถูก เจ้าองค์คำ พระบิดาลงพระอาญาประหารชีวิตพร้อมกับข้านายนั้นเสีย.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้าสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทกุมาร

เจ้าอินทกุมาร เป็นเจ้าเมืองศรีฟ้าวาหะหัว(เชียงรุ่ง)ทรงเป็นพระบิดาของ เจ้าองค์คำ และทรงมีบทบาททางการเมืองในยุดที่ล้านช้างแตกแยกมากเมื่อครั้งเมืองเชียงรุ่งเกิดกบฎพระองค์ทรงลี้ภัยมาเมืองล้านช้างดังปรากฏว่า "ปางนั้นยังมีกระลียุคเกิดในเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาว เจ้าอินทกุมารอันเปนเชื้อเจ้าเมืองศรีฟ้าอยู่บ่ได้ จึ่งพาเอาน้องสาวผู้หนึ่งชื่อว่านางจันทรกุมารี แลข้อยไพร่พ่ายลงมาเมืองพระยาสุริยวงษาธรรมิกราช ในเวียงจันนั้นแล ส่วนว่าเจ้าราชบุตรผู้พี่ อันเปนลูกชายพระยาสุริยวงษานั้น จึงมีใจประดิพัทธด้วยนางจันทร น้องสาวอาชาลื้อผู้ไปพึ่งนั้นแล จึ่งบังเกิดลูกชายสองคน องค์พี่ชื่อว่ากิ่งกิจกุมาร องค์น้องชื่อว่าเจ้าอินทโฉมกุมารนั้นแล" เมื่อพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช สวรรคคตลงเกิดการชิงบัลลังค์ขึ้น เจ้าอินทกุมาร ได้พาเจ้ากิ่งกิสราชและเจ้าอินทโฉม เจ้าองค์คำอพยกหนีไปยังเมืองเชียงแสน เหตุเพราะ พระไชยองค์เว้ หรือ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ส่งท้าวนองมาตีเอาเมืองหลวงพระบาง พระองค์ทรงสมรสกับหม่อมคำแลสันนิฐานว่าน่าจะเป็นพระญาติของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้าอินทกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทโฉม

้าอินทโฉม ทรงมีชายาก่อนที่จะทรงครองราชอยู่ ๒ ท่าน คือ เจ้านางอุบะ และพระธิดาในเจ้าอินทรกุมาร เมืองได้ครองราชจึงได้เชิญ เจ้านางแทนสาว และ เจ้านางแทนคำ มาเป็นอัครมเหสี ทรงมีโอรสธิดาทั้งหมด 17 พระอง.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้าอินทโฉม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าองค์คำ

ระบรมเชษฐขัตติยสุริยวงศา มีพระนามเดิมว่า เจ้าองค์คำ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ต่อจาก เจ้ากิ่งกิสราช พระองค์มีนามแรกประสูติว่า หม่อมน้อย เป็นโอรสใน เจ้าอินทกุมาร เจ้าเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาวเชื้อสายกษัตริย์เมืองเชียงรุ้ง กับ หม่อมคำแล เมื่อแรกพระบิดาของพระองค์ทรงลี้ภัยสงครามลงมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารใน พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช ที่อณาจักรล้านช้าง เมื่อ เจ้ากิ่งกิสราช สวรรคตลง เจ้ากิ่งกิสราช ไม่มีพระโอรสสืบบัลลังค์ อันจะมีแต่พระธิดา 2 องค์ เหล่าบรรดาขุนนาได้อัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราช และให้ เจ้านางแทนสาว เจ้านางแทนคำ ขึ้นเป็นเทวี คู่กับพระองค์ แต่เมือ เจ้าอินทโฉม ซึ่งตอนนั้นครองเมืองเชียงขอมอยู่ทราบข่าวการสวรรคตของ เจ้ากิ่งกิสราช จึงได้รวบรวมไพล่พลลงมาตีเอาเมืองคืน เจ้าองค์คำ เห็นว่าสู้ไม่ได้จึงได้จึงได้พาบริวาลส่วนหนึ่งเดินทางหนีไปผนวชอยู่ที่วัดช้างเผือกในเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้าองค์คำ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอโนชา

เจ้าอโนชา เป็นโอรสใน เจ้าองค์คำ กับ หม่อมยวน มารดาน่าจะเป็นสตรีชาวล้านนา เมื่อครั้งที่พระบิดาได้ครองล้านนา(เชียงใหม่) พระบิดาขอพระองค์พยายามจะตีเอาเมือง ล้านช้างหลวงพระบางคืนจาก เจ้าอินทโฉม หลายครั้งแต่ไม่สำเร็จจึงทำให้ พระเชษฐาของพระองค์สิ้นพระชนม์หลายพระองค์ เจ้าอโนชา ทรงถูกต้องพระอาญาเนี่องจากควาวเข้าใจผิดเพราะทรงฆ่าพระเชษฐาของพระองค์ พระองค์จึงถูกพระบิดาลงโทษประหาร.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้าอโนชา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยน้อย

เจ้าไชยน้อย เป็นโอรสใน เจ้าองค์คำ และ หม่อมยวนมารดาน่าจะเป็นสตรีชาวล้านนา เมื่อครั้งที่พระบิดาได้ครองล้านนา(เชียงใหม่) พระบิดาขอพระองค์พยายามจะตีเอาเมือง ล้านช้างหลวงพระบางคืนจาก เจ้าอินทโฉม หลายครั้งแต่ไม่สำเร็จ จนทำให้พระอนุชาหลายพระองค์สิ้นพระชนม์ เมื่อครั้งรบกับพม่า พระบิดาส่งพระองค์ลงไปตั้งรับที่หัวเมือง อันจะพบประวัติของพระองค์ในประวัติการสร้างหมู่บ้านนาเบื้ยแขวนเมืองเถิน ความว่า"เมื่อเจ้าน้อยเมืองเชียงใหม่ได้เกณฑ์คนมาถางป่าเพื่อทำเป็นที่นาสำหรับสเบี่ยงอาหารกลับพบว่าบริเวณนั้นเต็มไปด้วยหอยเบื้ย และที่บริเวณนั้นยังอุดมสมบูรณ์ดีจึงเหมาะที่จะให้ตั้งรกรากและที่นั้นว่า นาเบี้ย" จนถึงปัจจุบัน เมื่อครั้งที่พระเชษฐา เจ้าสุวรรณ ของพระองค์มีเรื่องบาดหมางกันกับพระอนุชา เจ้าอโนชา ทำให้พระองค์เป็นรัชทายาทต่อจะพระอนุชา แต่พระองค์ทรงเบื่อหนายกับการเมืองหรืออาจจะถูกพระอนุชา เจ้าจันทร์เนรเทศ พระองค์จึงได้ทิ้งเชียงใหม่มาอยู่ที่เมืองเถิน หรือ นาเบื้ย นาโป่ง พร้อมข้าทาส ซึ่งได้ขยับขยายไปอย่างกว้างขวางจะพบกำแพงเมืองเก่าและวัดเก่าในแถบนี้อยู่สายสกุลที่สืบเชื้อสายพระองค์จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ไชยมูลวงศ์ ใจมูลวงศ์.

ใหม่!!: องค์คำและเจ้าไชยน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เทพสิงห์

ทพสิงห์ เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ ผู้นำชาวเชียงใหม่ขับไล่พม่า และเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์แรกที่ปกครองเชียงใหม่ในช่วงที่เป็นอิสระจากพม่า เทพสิงห์ เป็นชาวเมืองยวมใต้ มีใจเจ็บแค้นที่ถูกข้าศึกชาวพม่าย่ำยีบีฑามาช้านาน จึงได้รวบรวมสมัครพรรคพวก ยกเข้าไปปล้นเมืองเชียงใหม่ในเวลากลางคืน และจับมังแรนร่าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ชาวพม่าได้และเทพสิงห์ก็ได้จัดการฆ่ามังแรนราและต่อมาก็ได้ขึ้นปกครองเมืองเชียงใหม่เมื่อ..

ใหม่!!: องค์คำและเทพสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »