โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา

ดัชนี หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา (ท.จ.) (4 ธันวาคม พ.ศ. 2422-20 ตุลาคม พ.ศ. 2481) มีนามเดิมว่า อัญญานางเจียงคำ สกุลเดิม บุตโรบล เป็นเจ้านายสตรีของเมืองอุบลราชธานีซึ่งเป็นเมืองประเทศราชของราชอาณาสยามมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ที่ถวายตัวเป็นหม่อมใน พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) และองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาพึ่ง เพื่อเป็นการกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างราชสำนักสยาม กับเจ้านายพื้นถิ่นเมืองอุบลราชธานีให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ในช่วงที่มีนโยบายปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5).

39 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2422พ.ศ. 2481พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์กระสุนภาษาบาลีภาษาลาวลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)ลูกธนูหม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพลหม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพลหน้าไม้อัมพาตอาญาสี่อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์อำเภอเขื่องในจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดอุบลราชธานีธนูและลูกธนูทวารวดีทุติยจุลจอมเกล้าทุ่งศรีเมืองประเทศราชโรงพยาบาลโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์โรงเรียนนารีนุกูลโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชเหรียญรัตนาภรณ์เจ้าพระตาเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)เทศบาลนครอุบลราชธานีเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า20 ตุลาคม4 ธันวาคม

พ.ศ. 2422

ทธศักราช 2422 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1879.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพ.ศ. 2422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช

'''"ธาตุหลวงเฒ่า"''' เจดีย์บรรจุอัฐิธาตุของพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (ท้าวฝ่ายหน้า หรือ เจ้าหน้า) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ลำดับที่ 3 ที่วัดเหนือในเมืองเก่าคันเกิง แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (เรียกกันทั่วไปในเอกสารต่างๆ ว่า "พระวิไชยราชขัติยวงศา") เป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ ลำดับที่ 3 (พ.ศ. 2335 - 2354).

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กระสุน

กระสุนปืน.357 แมกนั่ม กระสุน เป็นวัตถุที่ถูกยิงออกจากปืน โดยกระสุนปืนส่วนใหญ่หัวกระสุนจะทำจากโลหะตะกั่วผสมโลหะพลวงเล็กน้อย และหุ้มหัวกระสุนด้วยโลหะทองแดงเพื่อลดการเสียรูปทรงของหัวกระสุนและเพื่อความสะดวกในการป้อนเข้าสู่รังเพลิงของปืน โดยทั่วไปคำว่ากระสุนปืนมักจะเรียกรวมถึงส่วนของ ปลอกกระสุน และ ดินปืน ในขณะที่กระสุนของปืนใหญ่จะประกอบไปด้วย ดินปืน เป็นหลัก กระสุนปืนเกิดขึ้นมาพร้อมกับการพัฒนาปืนเคียงคู่กันไป โดยเริ่มใช้ในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศักราช 1500 ถึง 1800 โดยมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป โดยกระสุนปืนที่มีลักษณะเป็นรูปร่างเหมือนปัจจุบันเริ่มพัฒนาโดย จอห์น นอร์ตัน กัปตันของกองทัพบริติช ในปี พ.ศ. 2366 (ค.ศ. 1823).

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและกระสุน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ลูกธนู

ลูกธนูแบบทั่วไป''(ปีกสีแดง)''และลูกธนูแบบสงครามยุคกลาง''(ปีกสีขาว)'' ลูกธนู เป็นสิ่งที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จากการยิงของธนู เป็นอาวุธระยะไกลที่ทรงประสิทธิภาพและพบได้ในทุกอารยธรรม.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและลูกธนู · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล

หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อ.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและหม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล

หม่อมเจ้าอุปลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและหม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

หน้าไม้

ก็ตช์โดย เลโอนาโด ดาวินชี ประมาณ ค.ศ. 1500 หน้าไม้ เป็นอาวุธอันประกอบด้วยคันศรติดตั้งบนด้าม และยิงกระสุนวิถีโค้ง ที่มักเรียกว่า bolt หรือ quarrel หน้าไม้ในยุคกลางมีชื่อเรียกหลายชื่อ ซึ่งส่วนมากมีรากศัพท์มาจากคำว่า ballista ซึ่งเป็นเครื่องบิดที่มีรูปลักษณ์คล้ายกับหน้าไม้ ในประวัติศาสตร์ หน้าไม้มีบทบาทสำคัญในการสงครามเอเชียตะวันออก ยุโรป และเมดิเตอร์เรเนียน ปัจจุบัน หน้าไม้ใช้ในกีฬา การล่าสัตว.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและหน้าไม้ · ดูเพิ่มเติม »

อัมพาต

อัมพาต คือ อาการที่อวัยวะบางส่วนเช่นแขนขาเป็นต้นตายไปกระดิกไม่ได้ ตรงกันข้ามกับอัมพฤกษ์ที่อวัยวะร่างกายเพียงอ่อนแรง.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและอัมพาต · ดูเพิ่มเติม »

อาญาสี่

อาญาสี่ คือระบบการปกครองของราชอาณาจักรล้านช้างในสมัยโบราณ ที่พัฒนาขึ้นมาหลังการสถาปนาราชอาณาจักรล้านช้างในสมัยสมเด็จพระเจ้าฟ้างุ้ม และเป็นระบบการปกครองดั้งเดิมที่ถูกจารึกอยู่ใน คัมภีร์พระธรรมศาสตร์หลวง หรือคัมภีร์กฎหมายโบราณของลาวในสมัยสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชแห่งเวียงจันทน์ ตลอดจนกฎหมายท้าวพระยาโบราณของลาวและอีสานอีกหลายฉบับ ในวรรณกรรมโบราณเรียกระบบอาญาสี่ว่า เจ้าขันคำทั้งสี่ เมืองส่วนใหญ่ในราชอาณาจักรล้านช้างไม่ว่าจะเป็นนครหลวง เมืองเอกราช เมืองประเทศราชหรือเมืองสะทุดสะลาด เมืองหัวเศิก เมืองนครขอบด่าน เมืองกัลปนาหรือเมืองศาสนานคร ตลอดจนหัวบ้านหัวเมืองใหญ่น้อยและเมืองห้อยเมืองแขวนทั้งหลาย เช่น เมืองชั้นเอก เมืองชั้นโท เมืองชั้นตรี และเมืองชั้นจัตวา ต่างนิยมใช้ระบบการปกครองแบบอาญาสี่ทั้งสิ้น หลังจากประกาศสถาปนาพระราชอาณาจักรลาวได้มีการยกย่องพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตให้อยู่เหนืออาญาทั้ง ๓ ตำแหน่ง แล้วเพิ่มอาญาตำแหน่งอื่นเข้าไปอีก ๒ ตำแหน่ง รวมเป็น ๕ ตำแหน่งเรียกว่า เจ้าย่ำขม่อมทั้งห้า หรือ เจ้ายั้งกระหม่อมทั้งห้า ระบบอาญาสี่แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทที่เป็นการปกครองของลาวโดยตรง ประกอบด้วย ๔ ตำแหน่ง คือ เจ้าเมือง อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร และประเภทที่สองเป็นการปกครองของลาวที่ได้รับอิทธิพลจากเขมร แบ่งออกเป็น ๔ ตำแหน่งเช่นกัน ได้แก่ เจ้าเมือง ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และกรมการเมืองหรือกรรมการเมือง แต่ในความเข้าใจโดยทั่วไปแล้วอาญาสี่มักหมายถึงถึงระบบการปกครองประเภทแรกมากกว่าประเภทที่สอง ส่วนเจ้านายในราชวงศ์ที่มีตำแหน่งต่ำกว่าอาญาสี่นั้นกษัตริย์หรือเจ้าเมืองมักโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้ดำรงตำแหน่งเสนาบดีสำคัญอีก ๒ ประเภท ได้แก่ เสนาบดีจตุสดมภ์ และเสนาบดีอัตถสดม.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและอาญาสี่ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์

ราชอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ คืออาณาจักรลาวล้านช้างที่ตั้งอยู่ทางต้นใต้ของประเทศลาวในปัจจุบัน ดำรงอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2256 ถึง พ.ศ. 2489 เป็นเวลา 236 ปี อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ตกเป็นประเทศราชของไทยจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อฝรั่งเศสเข้ามาครอบครองบริเวณประเทศลาวทั้งหมด จำปาศักดิ์ถูกยุบรวมเข้ากับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง กลายมาเป็นราชอาณาจักรลาว เมื่อปี..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขื่องใน

ื่องใน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและอำเภอเขื่องใน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดอำนาจเจริญและจังหวัดสระแก้ว.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและจังหวัดหนองบัวลำภู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

ธนูและลูกธนู

นูคอมโพสิทสมัยใหม่ ธนูและลูกธนู (Bow and arrow) จัดเป็นอาวุธระยะไกล ที่ได้รับการจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นวิวัฒนาการที่สำคัญในเกือบทุกวัฒนธรรมโบราณ โดยการยิงธนูถือเป็นศาสตร์และศิลป์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้ต้องใช้เวลาฝึกฝนเป็นระยะเวลานาน ปัจจุบันธนูได้ถูกพัฒนามาเพื่อใช้ในการล่าสัตว์ และเพื่อใช้ในการกีฬาเท่านั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและธนูและลูกธนู · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยจุลจอมเกล้า

ทุติยจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ท.. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 250 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 18 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยเท่านั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและทุติยจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ทุ่งศรีเมือง

ทุ่งศรีเมือง (Thoung Sri Mueang) เดิมชื่อ "นาทุ่งศรีเมือง" เป็นสถานที่สำคัญของจังหวัดอุบลราชธานี มีความสำคัญมาตั้งแต่ในอดีต คือ เป็นสถานที่ทำนาของเจ้าเมืองอุบลราชธานี และใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมเผาศพแบบนกหัสดีลิงค์ของเจ้าเมืองและเจ้านายพื้นเมืองอุบลราชธานีศรีวะนาไล ปัจจุบันใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมที่สำคัญของจังหวัด และเป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ใจกลางเมืองเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ ทุ่งศรีเมือง ตั้งอยู่ถนนอุปราช ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานีหลังเก่า (ปัจจุบันคือ พิพิธภัณฑ์เมืองอุบลราชธานีศรีวะนาไล) ประกอบด้วยคูเมืองเป็นน้ำล้อมลอบ มีประตูทางเข้า 4 ทิศ 4 ประตู ซึ่งตั้งชื่อตามนามของเจ้านายพื้นเมือง คือ.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและทุ่งศรีเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศราช

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราชต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437).

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและประเทศราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาล

ห้องพยาบาลในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเดนมาร์ก โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์ เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านสุขภาพให้กับผู้ป่วย โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ ปัจจุบันโรงพยาบาลได้ถูกแบ่งประเภทตามการดูแลควบคุมบริการเป็น โรงพยาบาลรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน นอกจากนี้โรงพยาบาลยังถูกแบ่งเป็นสถานพยาบาลเฉพาะทางอีก เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, โรงพยาบาลสงฆ์, โรงพยาบาลตา, โรงพยาบาลฟัน, สถาบันโรคผิวหนัง.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและโรงพยาบาล · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์

รงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ เป็นโรงพยาบาลศูนย์ ขนาด 1,427 เตียง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนารีนุกูล

รงเรียนนารีนุกูล (Narinukun School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำจังหวัดอุบลราชธานี แต่เดิมเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัด แต่ในปัจจุบันได้จัดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา เช่นเดียวกับโรงเรียนประจำจังหวัดคือ โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช โรงเรียนนารีนุกูลตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี ถนนแจ้งสนิท ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี - อำนาจเจริญ) กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและโรงเรียนนารีนุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระตา

้าพระตา เป็นเจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลำภู) ระหว่าง พ.ศ. 2311 - พ.ศ. 2314 สืบเชื้อสายเจ้าปางคำ จากราชวงศ์เชียงรุ่งสิบสองปันนา เป็นพระบิดาเจ้าพระวิไชยราชสุริยวงศาขัติยราช เจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ องค์ที่ 3 และเป็นพระบิดาเจ้าพระประทุมวรราชวงศา เจ้าเมืองอุบลราชธานี คนที่ 1.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและเจ้าพระตา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)

อนุสาวรีย์พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ที่ทุ่งศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) หรือ พระปทุมวรราชสุริยวงษ ในจารึกพระเจ้าอินแปงออกนามว่า เจ้าพระปทุม ชาวเมืองอุบลราชธานีในสมัยโบราณนิยมออกนามว่า อาชญาหลวงเฒ่า ดำรงตำแหน่งเจ้าประเทศราชครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราชคนแรก (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานีในภาคอีสานของประเทศไทย) นามเดิมว่า เจ้าคำผง หรือ ท้าวคำผง เป็นโอรสในเจ้าพระตา (เจ้าพระวรราชปิตา) เจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลุ่มภู) กับเจ้านางบุศดี สมภพเมื่อ พ.ศ. 2252 ณ นครเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์อันเก่าแก่ อันเนื่องมาจากพระอัยยิกา (ย่า) ของพระองค์ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าปางคำ (ปู่) มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ จึงเป็นเหตุให้มีสร้อยราชทินนาม (รวมทั้งของเจ้าฝ่ายหน้า-ผู้อนุชา) มีคำว่า สุริยวงศ์ ต่อท้ายนาม อีกทั้งยังสืบเชื้อสายมาจากพระอัยกา (ปู่) คือเจ้าปางคำ เจ้านายเชื้อสายลื้อแห่งราชวงศ์เชียงรุ่งจากอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง (เมืองเชียงรุ้งแสวนหวีฟ้า) ผู้สร้างเมืองหนองบัวลุ่มภู (จังหวัดหนองบัวลำภูในปัจจุบัน) อนึ่ง พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ อุบล แห่งจังหวัดอุบลราชธานี ในภาคอีสานของประเทศไท.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล) · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครอุบลราชธานี

นครอุบลราชธานี หรือ เทศบาลนครอุบลราชธานี เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตัวเมืองตั้งอยู่ริมฝั่งทิศเหนือของแม่น้ำมูล มีพื้นที่ประมาณ 29 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งตำบล เป็นเทศบาลนครที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากเทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครนครราชสีมา และเทศบาลนครขอนแก่น มีระยะทางจากกรุงเทพมหานครมาถึงตัวเมือง 615 กิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและเทศบาลนครอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 ธันวาคม

วันที่ 4 ธันวาคม เป็นวันที่ 338 ของปี (วันที่ 339 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 27 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาและ4 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมเจียงคำเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »