โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าฟ้าเสือห่มเมือง

ดัชนี เจ้าฟ้าเสือห่มเมือง

้าฟ้าเสือห่มเมือง ผู้เป็นโอรสของสุพิมฟ้าขึ้นครองชากุยะสืบต่อมา ทรงเป็นประมุขที่กล้าหาญและขยันขันแข็ง อาณาจักรอาหมได้แผ่อาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง มีอาณานิคมอยู่ทุกทิศทาง พวกชุติยะยอมอยู่ใต้อำนาจและอยู่ใต้การควบคุมดูแลของขุนนางอาหมที่สทิยะและทิหิง ครอบครัวอาหมหลายครัวเรือนก็ได้ไปตั้งหลักแหล่งอยู่โดยรอบ การโจมตีของชาวนาคะก็ถูกปราบลงด้วยกำลังทหารที่แข็งแกร่ง อำนาจของชนชาวกะฉารีถูกลิดรอน และราชธานีทิมาปุระก็ตกเป็นของอาหมถึงสองครั้ง ขุนนางผู้หนึ่งชื่อ มารังกี โควา โกฮาอิน ได้รับแต่งตั้งให้ดูแลดินแดนตอนล่างของลุ่มน้ำทันสิริ และดินแดนส่วนใหญ่ของเนากองก็ตกเป็นของอาหม การรุกรานถึงสามครั้งของพวกโมฮัมหมัดก็ถูกปราบลงได้ สภาพสังคมของพลเมืองอาหมได้รับความดูแลเอาใจใส่ ได้แบ่งออกเป็นหมู่เป็นเหล่า ช่างก่อสร้างถูกส่งตัวมากจากชุติยะและที่อื่นๆ การใช้อาวุธปืนได้มีขึ้นเป็นครั้งแรก ศักราช "สัก" ตามแบบของฮินดูถูกนำมาใช้แทนศักราชเก่าซึ่งคำนวณวันเดือนปีตามแบบโจเวียน และในรัชกาลนี้ ความสำคัญทางศาสนาก็มีมิใช่น้อย นอกจากอิทธิพลของพราหมณ์แล้ว ยังมีการปฏิรูปแบบเวชนาวาซึ่งสังคเทพเป็นผู้นำออกเผยแพร.

36 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2040พ.ศ. 2049พ.ศ. 2053พ.ศ. 2055พ.ศ. 2056พ.ศ. 2063พ.ศ. 2066พ.ศ. 2068พ.ศ. 2069พ.ศ. 2070พ.ศ. 2072พ.ศ. 2074พ.ศ. 2075พ.ศ. 2076พ.ศ. 2078พ.ศ. 2079พ.ศ. 2080พ.ศ. 2081พ.ศ. 2082พกะตาพระเจ้าพราหมณ์ฐานันดรแห่งราชอาณาจักรรัฐมณีปุระรัฐมนตรีราชวงศ์ราชวงศ์อาหมศาสนาฮินดูสามเจ้าผู้พรองอาณาจักรอาหมผู้บัญชาการทหารจรากุราปืนใหญ่แม่น้ำพรหมบุตรโมเรียเจ้าฟ้าเสือเปี่ยม

พ.ศ. 2040

ทธศักราช 2040 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2040 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2049

ทธศักราช 2049 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2049 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2053

ทธศักราช 2053 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2053 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2055

ทธศักราช 2055 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2055 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2056

ทธศักราช 2056 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2056 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2063

ทธศักราช 2063 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2063 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2066

ทธศักราช 2066 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2066 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2068

ทธศักราช 2068 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2068 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2069

ทธศักราช 2069 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2069 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2070

ทธศักราช 2070 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2070 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2072

ทธศักราช 2072 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2072 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2074

ทธศักราช 2074 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2074 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2075

ทธศักราช 2075 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2075 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2076

ทธศักราช 2076 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2076 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2078

ทธศักราช 2078 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1535 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2078 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2079

ทธศักราช 2079 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2079 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2080

ทธศักราช 2080 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2080 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2081

ทธศักราช 2081 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2081 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2082

ทธศักราช 2082 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพ.ศ. 2082 · ดูเพิ่มเติม »

พกะตา

ราชธานีพกะตา เป็นราชธานีแห่งที่สามของอาณาจักรอาหม ในสมัยของพระเจ้าสุหังเมือง (ทิหิงเกียราชา) ราชธานีบาคาตาตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำทิหิง ต่อมาในรัชกาลของพระเจ้าสุเคลนเมือง จึงย้ายราชธานีแห่งใหม่ไปยังราชธานีครหคาออน หมวดหมู่:อาณาจักรอาหม.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพกะตา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้า

ระเจ้า อาจหมายถึง; ศาสน.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พราหมณ์

ราหมณ์ (อักษรเทวนาครี: ब्राह्मण) เป็นวรรณะหนึ่งในแนวคิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น วิปฺระ, ทฺวิช, ทฺวิโชตฺตมะ หรือ ภูสร เป็นต้น พราหมณนั้นเป็นวรรณะหนึ่งในสี่วรรณะของสังคมอินเดีย เป็นผู้สืบทอดวิชาความรู้ ในคัมภีร์ ไตรเวทพิธีกรรม จารีต ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรม และคติความเชื่อต่าง ๆ ให้สืบทอดต่อไป หรือไม่สืบทอดก็ได้โดยใช้ชีวิตตามปกติชนคนธรรมดาทั่วไป คงไว้ให้ผู้ใดในตระกูลสืบทอดแทน เป็นผู้มีสิทธิ์เลือก แบ่งแยกเป็นนิกายคือ พวกไศวนิกาย จะถือเพศ นุ่งขาว ห่มขาว ไว้มวยผม ถือศีล จริยาวัตรของพราหมณ์ มีครอบครัวได้ อยู่บ้าน หรือ เทวะสถาน ประจำลัทธิ นิกายแห่งตน อีกนิกายหนึ่งคือ ไวษณวะนิกาย จะไว้ผมเปียหรือมวยผม ถือเพศพรหมจรรย์ กินมังสวิรัติ ไม่ถูกต้องตัวสตรีเพศ นุ่งห่มสีขาว หรือสีต่าง ๆตามวรรณะนิกาย และอาศัยอยูในเทวสถาน ในการบวชเป็นพราหมณ์หลวง จะต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุมพราหมณ์ ในทำเนียบพราหมณ์หลวง โดยผู้บวชจะนำของมาถวายพราหมณ์ผู้ใหญ่ แล้วพราหมณ์ผู้ใหญ่จะมอบสายสิญจน์รับพราหมณ์ใหม่ หรือทวิชาติ ซึ่งหมายถึงการเกิดครั้งที่ 2 ซึ่งการบวชพราหมณ์ไม่ได้มีกฎปฏิบัติจำนวนมากเหมือนกับการบวชพระ โดยถือศีล 5 เป็นศีลปฏิบัติ สามารถแต่งกายสุภาพเหมือนผู้ชายทั่วไปในเวลาปกติ และสวมเครื่องแบบเป็นเสื้อราชปะแตนและโจงกระเบนสีขาวในยามประกอบพิธีกรรม รวมถึงสามารถมีภรรยาเพื่อมีทายาทสืบตระกูลพราหมณ์ต่อไปได้ กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามบางประการที่พราหมณ์ไม่สามารถทำได้ อาทิ ห้ามรับประทานเนื้อวัว ปลาไหล และงูต่างๆ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบริวารของเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และห้ามตัดแต่งผม ต้องไว้ผมยาวแล้วมุ่นเป็นมวยไว้ที่ท้ายทอย เพราะตามหลักศาสนาเชื่อว่าบริเวณดังกล่าวเป็นที่อยู่ของเทวดา สำหรับกิจประจำวันที่พราหมณ์ต้องทำ คือนมัสการพระอาทิตย์ตามเวลาเช้า กลางวัน เย็น เพื่อเป็นการนำจิตวิญญาณกลับไปสู่พรหม กล่าวคือ การไหว้พระอาทิตย์จะนำแสงสว่างให้เกิดในปัญญานำไปสู่การหลุดพ้น และจะมีการสาธยายพระเวท ซึ่งถือเป็นคัมภีร์หลักในศาสนาพราหมณ์ ประกอบด้วย ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวท ใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวท ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ ปฏิบัติต่อเทพด้วยความศรัทธา ปัจจุบันพราหมณ์หลวงจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับ พระราชพิธีต่างๆ ของพระมหากษัตริย์ ในการอัญเชิญพระผู้เป็นเจ้าและทวยเทพตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มาเป็นสักขีในการกระทำพิธีนั้นๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแด่องค์พระมหากษัตริย์ ราชบัลลังก์ และบ้านเมือง โดยงานพระราชพิธีจะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ งานประจำปี ได้แก่ งานเฉลิมพระชนมพรรษา วันฉัตรมงคล วันพืชมงคล การเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต เป็นต้น และงานตามวาระ อาทิ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อปีที่แล้ว เป็นต้น หน้าที่ของพราหมณ์หลวงคือการรักษาวัฒนธรรมในการประกอบพระราชพิธีถวายตามโอกาสต่างๆ แต่ก็สามารถรับประกอบพิธีอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานพระราชพิธีได้ เรียกว่า รัฐพิธี เป็นงานที่ถูกเชิญมาจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น วางศิลาฤกษ์ ยกเสาเอก งานวันเกิด งานตัดจุก ตั้งศาลพระภูมิ ซึ่งจะมีเงินทักษิณามอบให้พราหมณ์ตามศรัทธา ทั้งนี้ ปัจจุบันมีตระกูลพราหมณ์ที่ปฏิบัติหน้าที่ถวายงานพระราชพิธี หรือที่เรียกกันว่า พราหมณ์หลวง ซึ่งสืบสายมาจากบรรพบุรุษทั้งสิ้น 7 ตระกูล ได้แก่ สยมภพ โกมลเวทิน นาคะเวทิน วุฒิพราหมณ์ ภวังคนันท์ รัตนพราหมณ์ และรังสิพราหมณกุล.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร

นันดรแห่งราชอาณาจักร (estates of the realm) เป็นระเบียบสังคมอย่างกว้างของสังคมซึ่งมีแนวคิดเป็นลำดับชั้น (hierarchically conceived society) รับรองในสมัยกลางและสมัยใหม่ตอนต้นในทวีปยุโรปที่นับถือศาสนาคริสต์ บ้างแยกเป็นสามฐานันดร ได้แก่ นักบวช ชนชั้นขุนนางและสามัญชน และมักกล่าวถึงตามการจัดอันดับความสำคัญในสมัยกลาง (เนื่องจากพระเป็นเจ้าทรงลิขิตลำดับชั้น) เป็นฐานันดรที่หนึ่ง ที่สองและที่สามตามลำดับ ในแผนดังกล่าว พระเป็นเจ้าทรงลิขิตพันธกิจ (ministry) ซึ่งจำเป็นต่อการลิขิตราชนิกุลและชนชั้นขุนนาง ผู้มอบเอกสิทธิ์แก่สามัญชนผู้ทรงเกียรติ คำว่า "ฐานันดรที่สี่" กำเนิดขึ้นภายหลัง โดยอ้างถึงแรงนอกโครงสร้างอำนาจซึ่งเป็นที่ยอมรับ และมักอ้างอิงถึงสื่อมวลชนอิสระมากที่สุด ระหว่างสมัยกลาง บุคคลเกิดในชนชั้นของตัว และแม้การเปลี่ยนแปลงฐานะทางสังคมเป็นไปได้ก็เกิดขึ้นช้า ยกเว้น ศาสนจักรสมัยกลาง ซึ่งเป็นเพียงสถาบันเดียวซึ่งบุรุษสามารถถึงตำแหน่งสูงสุดในสังคมได้ครั้งหนึ่งในชีวิต.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและฐานันดรแห่งราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมณีปุระ

รัฐมณีปุระ (ภาษาเบงกาลี: মণিপুর, ภาษามณีปุรี: mnipur) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีเขตติดต่อกับรัฐนาคาแลนด์ทางทิศเหนือ รัฐอัสสัมทางทิศตะวันตก รัฐมิโซรัมทางทิศใต้ และประเทศพม่าทางทิศตะวันออก เป็นรัฐในเขตชายแดนซึ่งถือเป็นเขตพิเศษ ชาวต่างชาติที่จะเข้าไปต้องได้รับอนุญาต เป็นจุดกำเนิดของกีฬาโปโลสมัยใหม.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและรัฐมณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อาหม

ราชวงศ์อาหม (ค.ศ. 1228-1826) ปกครองอาณาจักรอาหม ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอัสลัมมาเป็นเวลาเกือบ 600 ปี ราชวงศ์อาหมก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า โดยทรงอพยพออกจากเมืองมาวหลวง จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลังจากการรุกรานอัสลัมของพม่าและการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอังกฤษโดยบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากสนธิสัญญายันดาโบ ในปี..

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและราชวงศ์อาหม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

สามเจ้าผู้พรอง

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า ปฐมกษัตริย์อาหม ผู้วางรากฐานตำแหน่งขุนนางผู้พรอง สามเจ้าผู้พรองฉัตรทิพย์ นาถสุภา และเรณู วิชาศิลป์, หน้า 116 (พรอง แปลว่า "ปกครอง") เป็นตำแหน่งขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของอาณาจักรอาหม มีทั้งหมดสามตำแหน่งจึงเรียกกันว่า "สามเจ้าผู้พรอง" เรียงตามลำดับดังนี้.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและสามเจ้าผู้พรอง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอาหม

อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและอาณาจักรอาหม · ดูเพิ่มเติม »

ผู้บัญชาการทหาร

ผู้บัญชาการทหาร (Commander-in-chief) คือ ผู้ที่สามารถใช้อำนาจสูงสุดหรือกองกำลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้คือประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็นพลเรือนก็ได้ สำหรับในประเทศไทยมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ จอมทัพ ซึ่งเรียกว่า จอมทัพไทย โดยจอมทัพไทยไม่ใช่ยศทหาร ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คือ พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งเป็นทั้งประมุขและผู้นำทหารทั้งประเทศ ทรงดำรงพระยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอาก.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและผู้บัญชาการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

จรากุรา

จรากุรา (চৰাগুৱা) หรือที่รู้จักในนามราชธานีชากุยะ ถูกสถาปนาเป็นราชธานีในรัชสมัยสุดางฟ้า (โอรสมเหสีองค์รองของท้าวขำติ) เนื่องจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเริ่มเพิ่มพูนมากในรัชกาลนี้ เดิมสุดางฟ้าสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่โธลา แต่ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่ชารากูจา (ชากุยะ) และราชธานีแห่งนี้ใกล้กับแม่น้ำทิหิง หมวดหมู่:อาณาจักรอาหม.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและจรากุรา · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและปืนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำพรหมบุตร

แม่น้ำยาร์ลุงซางโปในทิเบต แม่น้ำพรหมบุตร มุมมองจากใกล้ท่าน้ำสุเกลศวรในเมืองคูวาหตี แม่น้ำพรหมบุตร (เทวนาครี: ब्रह्मपुत्र พรฺหฺมปุตฺร; Brahmaputra) เป็นแม่น้ำที่กั้นเขตแดนสายสำคัญสายหนึ่งของทวีปเอเชีย มีความความยาว 2,900 กิโลเมตร ส่วนความยาวของลำน้ำตอนบนนั้นไม่ทราบแน่ชัด มีต้นกำเนิดอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเขตปกครองตนเองทิเบต สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีชื่อเรียกเป็นภาษาทิเบตว่า "แม่น้ำยาร์ลุงซางโป (Yarlung Tsangpo)" จากนั้นไหลผ่านพื้นที่ตอนใต้ของทิเบต มีชื่อเรียกว่า "แม่น้ำดีฮัง (Dihang)" ไปตัดผ่านเทือกเขาหิมาลัยในโกรกธารใหญ่ แล้วไหลวกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ผ่านหุบเขาอัสสัม และไปทางใต้ผ่านประเทศบังกลาเทศ มีชื่อเรียกว่า "แม่น้ำยมุนา (Jamuna)" จากนั้นได้ไหลมารวมกับแม่น้ำคงคา เกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ชื่อว่าสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา นับเป็นแหล่งชลประทานและการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่ง อนึ่ง แม่น้ำยมุนาแห่งบังกลาเทศซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำพรหมบุตรนี้เป็นคนละสายกับแม่น้ำยมุนา (Yamuna) แห่งอินเดียซึ่งไหลขนานกับแม่น้ำคงคา และมารวมกันที่เมืองอัลลอฮาบาดในอินเดีย แม่น้ำส่วนใหญ่ของอินเดียและบังกลาเทศจะมีชื่อเป็นเพศหญิง แต่แม่น้ำพรหมบุตรมีชื่อเป็นเพศชาย ในภาษาสันสกฤต คำว่า "พรหมบุตร" หมายถึง โอรสของพระพรหม ในภาษาอาหม เรียกแม่น้ำพรหมบุตรว่า น้ำดาวผี หรือ แสงดาว.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและแม่น้ำพรหมบุตร · ดูเพิ่มเติม »

โมเรีย

มอเรีย (Morea; Μωρέας หรือ Μωριάς; Mora) เป็นชื่อเดิมของคาบสมุทรเพโลพอนนีสที่ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศกรีซที่ใช้ในยุคกลางและสมัยใหม่ตอนต้น และบางทีก็เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นจังหวัดไบแซนไทน์ที่เรียกว่าอาณาจักรดิสปอเทตแห่งมอเรีย (Despotate of Morea) ที่มาของชื่อไม่เป็นที่ทราบแต่ได้รับการบันทึกครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในบันทึกพงศาวดารของจังหวัดไบแซนไทน์ ในกรีซปัจจุบันนิยมเชื่อกันว่ามาจากคำว่า “moria” ที่แปลว่า “มัลเบอร์รี” ซึ่งเป็นต้นไม้ที่พบในท้องถิ่นที่ใช้ในการเลี้ยงตัวไหม ซึ่งเพโลพอนนีสมีชื่อเสียง รูปทรงของคาบสมุทรเพโลพอนนีสเองก็มีลักษณะเหมือนใบมัลเบอร์รี แต่ก็มีผู้เชื่อว่ามาจากคำแฟรงก์แม้ว่าเขตการปกครองของแฟรงก์จะมิได้มีขึ้นจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและโมเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าเสือเปี่ยม

มฟ้า หรือ เจ้าฟ้าเสือเปี่ยม หรือ เจ้าหลวงเสือเปี่ยมฟ้า เป็นพระโอรสของสุเหนฟ้าและครองราชย์สืบม.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าเสือห่มเมืองและเจ้าฟ้าเสือเปี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุหังเมือง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »