โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ

ดัชนี สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ นายกสภามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.

6 ความสัมพันธ์: มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยลอนดอนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติคิงส์คอลเลจ ลอนดอนคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (Kalasin University) คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐตั้งอยู่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการจัดโครงสร้างการเรียนการสอนแบ่งเป็น 9 คณะ จำนวนหลักสูตรทั้งสิ้น 67 หลักสูตร โดยแบ่งเป็น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงจำนวน 10 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จำนวน 11 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จำนวน 1 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี จำนวน 32 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 5 ปี จำนวน 6 หลักสูตร และระดับปริญญาโท จำนวน 7 หลักสูตร.

ใหม่!!: สุทธิพร จิตต์มิตรภาพและมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลอนดอน

ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองในสหราชอาณาจักร ดำเนินงานส่วนใหญ่อยู่ในลอนดอน มีนักศึกษาในวิทยาเขต 135,090 คน และมากกว่า 40,000 ในโครงการ University of London External Programme มหาวิทยาลัยก่อตั้งใน..

ใหม่!!: สุทธิพร จิตต์มิตรภาพและมหาวิทยาลัยลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2499 มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิจัย และมีบทบาทเป็นหน่วยงานกลางในการทำหน้าที่เสนอแนะนโยบายและแผนการวิจัยทั้งด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร.

ใหม่!!: สุทธิพร จิตต์มิตรภาพและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คิงส์คอลเลจ ลอนดอน

งส์คอลเลจ ลอนดอน (King's College London; King's; KCL) หรือในชื่อย่อว่า KCL เป็นวิทยาลัยแห่งหนึ่งในมหาวิทยาลัยลอนดอน King's จัดเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร ปัจจุบัน อธิการบดีของราชวิทยาลัยลอนดอน คือ เจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระวรราชกุมารี (The Princess Royal) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กล่าวคือ พระองค์ทรงมีฐานะเป็นอธิการบดีของมหาวิทยาลัยลอนดอน (Chancellor of the University of London) โดยมีศาสตราจารย์ เอ็ดเวิร์ด เบิร์น (Edward Byrne) ดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีและอาจารย์ใหญ่ (President and Principal) ตั้งแต่เดือนกันยายน..2014 เป็นต้นมา คิงส์คอลเลจ ลอนดอน ก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม..1829 โดยสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 (King George IV) และดยุคแห่งเวลลิงตัน (the Duke of Wellington) กล่าวได้ว่า คิงส์คอลเลจ ลอนดอนเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเก่าแก่มากที่สุดเป็นลำดับที่ 4 ของประเทศอังกฤษ King's ถือเป็นหนึ่งในสองวิทยาลัย - อีกหนึ่งคือ มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (UCL) ที่ร่วมกันก่อตั้งและสถาปนามหาวิทยาลัยลอนดอนในวันที่ 28 พฤศจิกายน..1836 King's ได้ดำเนินการรวมวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์หลายแห่งในกรุงลอนดอนเข้าด้วยกัน ได้แก่ Queen Elizabeth College (ค.ศ.1985) Chelsea College of Science and Technology (ค.ศ.1985) the Institute of Psychiatry (ค.ศ.1997) และ the United Medical and Dental Schools of Guy's (ค.ศ.1998) and St Thomas' Hospitals (ค.ศ.1998) และ Florence Nightingale School of Nursing and Midwifery (ค.ศ.1998) กล่าวได้ว่า คิงส์คอลเลจ ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอนและการวิจัยด้านการแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป นอกเหนือจากความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์แล้ว King's ยังได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของโลกที่มีผลงานการค้นคว้าและการวิจัยที่ได้รับการยอมรับมาอย่างต่อเนื่องในอีกหลายสาขาวิชา เช่น มนุษยศาสตร์ กฎหมาย การระหว่างประเทศ และสังคมศาสตร์ ปัจจุบัน (ค.ศ.2017) การการเรียนการสอนและการวิจัยของมหาวิทยาลัยได้ดำเนินการและแบ่งการจัดการออกเป็นจำนวน 9 คณะ (academic faculties) ได้แก.

ใหม่!!: สุทธิพร จิตต์มิตรภาพและคิงส์คอลเลจ ลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: สุทธิพร จิตต์มิตรภาพและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: สุทธิพร จิตต์มิตรภาพและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »