โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า

ดัชนี เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า

้าหลวงเสือก่าฟ้า ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรอาหม สันนิษฐานกันว่า พระองค์เป็นเจ้าองค์หนึ่งในเมืองมาวหลวง ซึ่งก่อตั้งโดยกษัตริย์พระนามว่า ขุนลุง ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพระองค์ เสือก่าฟ้าได้เกิดความขัดแย้งกับญาติพี่น้อง และในที่สุดจึงได้นำสมบัติประจำราชวงศ์ซึ่งเป็นเทวรูปนาม สมเทวะ อพยพออกมาจากมาวหลวง.

20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1732พ.ศ. 1758พ.ศ. 1771พ.ศ. 1783พ.ศ. 1787พ.ศ. 1789พ.ศ. 1796พ.ศ. 1811พินอินกลุ่มภาษาจีนภาษาพม่าภาษาโบโดราชวงศ์อาหมสามเจ้าผู้พรองหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)อาณาจักรอาหมแม่น้ำพรหมบุตรเจ้รายดอยเจ้าหลวงเสือใต้ฟ้าเทวไท

พ.ศ. 1732

ทธศักราช 1732 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1732 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1758

ทธศักราช 1758 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1758 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1771

ทธศักราช 1771 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1771 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1783

ทธศักราช 1783 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1783 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1787

ทธศักราช 1787 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1787 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1789

ทธศักราช 1789 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1789 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1796

ทธศักราช 1796 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1796 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1811

ทธศักราช 1811 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพ.ศ. 1811 · ดูเพิ่มเติม »

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและพินอิน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโบโด

ษาโบโด(बोडो)จัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวโบโดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและเนปาล เคยเขียนด้วยอักษรละติน ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครี.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและภาษาโบโด · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อาหม

ราชวงศ์อาหม (ค.ศ. 1228-1826) ปกครองอาณาจักรอาหม ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอัสลัมมาเป็นเวลาเกือบ 600 ปี ราชวงศ์อาหมก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า โดยทรงอพยพออกจากเมืองมาวหลวง จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลังจากการรุกรานอัสลัมของพม่าและการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอังกฤษโดยบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากสนธิสัญญายันดาโบ ในปี..

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและราชวงศ์อาหม · ดูเพิ่มเติม »

สามเจ้าผู้พรอง

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า ปฐมกษัตริย์อาหม ผู้วางรากฐานตำแหน่งขุนนางผู้พรอง สามเจ้าผู้พรองฉัตรทิพย์ นาถสุภา และเรณู วิชาศิลป์, หน้า 116 (พรอง แปลว่า "ปกครอง") เป็นตำแหน่งขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของอาณาจักรอาหม มีทั้งหมดสามตำแหน่งจึงเรียกกันว่า "สามเจ้าผู้พรอง" เรียงตามลำดับดังนี้.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและสามเจ้าผู้พรอง · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอาหม

อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและอาณาจักรอาหม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำพรหมบุตร

แม่น้ำยาร์ลุงซางโปในทิเบต แม่น้ำพรหมบุตร มุมมองจากใกล้ท่าน้ำสุเกลศวรในเมืองคูวาหตี แม่น้ำพรหมบุตร (เทวนาครี: ब्रह्मपुत्र พรฺหฺมปุตฺร; Brahmaputra) เป็นแม่น้ำที่กั้นเขตแดนสายสำคัญสายหนึ่งของทวีปเอเชีย มีความความยาว 2,900 กิโลเมตร ส่วนความยาวของลำน้ำตอนบนนั้นไม่ทราบแน่ชัด มีต้นกำเนิดอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเขตปกครองตนเองทิเบต สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีชื่อเรียกเป็นภาษาทิเบตว่า "แม่น้ำยาร์ลุงซางโป (Yarlung Tsangpo)" จากนั้นไหลผ่านพื้นที่ตอนใต้ของทิเบต มีชื่อเรียกว่า "แม่น้ำดีฮัง (Dihang)" ไปตัดผ่านเทือกเขาหิมาลัยในโกรกธารใหญ่ แล้วไหลวกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ผ่านหุบเขาอัสสัม และไปทางใต้ผ่านประเทศบังกลาเทศ มีชื่อเรียกว่า "แม่น้ำยมุนา (Jamuna)" จากนั้นได้ไหลมารวมกับแม่น้ำคงคา เกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ชื่อว่าสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา นับเป็นแหล่งชลประทานและการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่ง อนึ่ง แม่น้ำยมุนาแห่งบังกลาเทศซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำพรหมบุตรนี้เป็นคนละสายกับแม่น้ำยมุนา (Yamuna) แห่งอินเดียซึ่งไหลขนานกับแม่น้ำคงคา และมารวมกันที่เมืองอัลลอฮาบาดในอินเดีย แม่น้ำส่วนใหญ่ของอินเดียและบังกลาเทศจะมีชื่อเป็นเพศหญิง แต่แม่น้ำพรหมบุตรมีชื่อเป็นเพศชาย ในภาษาสันสกฤต คำว่า "พรหมบุตร" หมายถึง โอรสของพระพรหม ในภาษาอาหม เรียกแม่น้ำพรหมบุตรว่า น้ำดาวผี หรือ แสงดาว.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและแม่น้ำพรหมบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้รายดอย

กลุ่มสุสาน ''มอยด้ำ'' ทั้งสี่ เจ้รายดอยการศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 35 (চৰাইদেও) เป็นราชธานีแห่งแรกของอาณาจักรอาหม แต่เดิมราชธานีเจ้รายดอยมีชื่อเดิมว่า "อภัยปุระ" ส่วนชื่อ เจ้รายดอย ซึ่งนามของเมืองมีความหมายตามภาษาอาหม มีความหมายว่า เมืองที่เรียงรายอยู่บนเขา และภายหลังได้ออกเสียงเพี้ยนเรียกชื่อเมืองดังกล่าวว่า "จรวยเทพ" (Charaideo) ราชธานีแห่งนี้ทำหน้าที่เป็นนครหลวงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1228 โดยกษัตริย์เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า กษัตริย์พระองค์แรกของอาหม และเป็นราชธานีเรื่อยมาจนถึงสมัยท้าวคำถี่ ภายหลังเมื่อเข้าสู่รัชกาลเจ้าฟ้าเสือดัง จึงได้ย้ายนครหลวงไปที่ราชธานีจรากุรา ในการต่อมา แต่อดีตราชธานีเจ้รายดอยยังมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ของอาหมอยู่ไม่น้อย เพราะถือว่าเป็นเมืองที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่ฝังพระศพของเหล่าเจ้าฟ้า ปัจจุบันเจ้รายดอยเป็นส่วนหนึ่งของเมืองศิวสาคร รัฐอัสสัม ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปราว 30 กิโลเมตร และได้รับความเสียหายจากโจรที่เข้ามาขุดเอาของมีค่าไป ในปี ค.ศ. 2006 ได้มีการเสนอชื่อให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของยูเนสโก.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและเจ้รายดอย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหลวงเสือใต้ฟ้า

ทิวฟ้า หรือ เจ้าหลวงเสือใต้ฟ้า เป็นพระราชโอรสของสุกาฟ้าและได้ครอบครองอาณาจักรต่อมา และสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. ๑๘๒๔ ทรงครองราชย์ได้ ๑๓ ปี.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและเจ้าหลวงเสือใต้ฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เทวไท

เทวไท หรือเทพไท เป็นบุคคลประเภทหนึ่งทำหน้าที่คล้ายพราหมณ์ หรือปุโรหิต ในลัทธิฟ้าหลวงของชาวอาหม ซึ่งเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ให้แก่ชาวบ้านชาวเมือง พร้อมกันนั้นก็ ทำหน้าที่ เป็นผู้จารึก และทำตำนานของอาหมด้วย บุคคลประเภทนี้เรียกว่า "เทวไท" หรือ "เทพไท" นี้ซึ่งยังมีเหลืออยู่ในปัจจุบันนี้ และเทวไทบางคนยังสามารถพูด หรือสื่อสารด้วยภาษาอาหม ภาษาของชาวอาหมเองซึ่งสูญหายไปนานแล้ว หมวดหมู่:ไทอาหม.

ใหม่!!: เจ้าหลวงเสือก่าฟ้าและเทวไท · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุกาฟ้า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »