โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก

ดัชนี สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก

มเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก อัยรุมลู (เปอร์เซีย:تاج‌الملوک, พระราชสมภพ 17 มีนาคม ค.ศ. 1896 ณ บากู จักรวรรดิรัสเซีย - สวรรคต 10 มีนาคม ค.ศ. 1982 ณ อะคาปุลโก ประเทศเม็กซิโก) พระองค์เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวี และครองราชย์ในช่วงปี ค.ศ. 1925-1941.

38 ความสัมพันธ์: บากูพ.ศ. 2439พ.ศ. 2460พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465พ.ศ. 2468พ.ศ. 2477พ.ศ. 2484พ.ศ. 2497พ.ศ. 2523พ.ศ. 2525พ.ศ. 2539พ.ศ. 2559พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวีภาษาเปอร์เซียมะเร็งเม็ดเลือดขาวราชวงศ์ปาห์ลาวีรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่านฮิญาบจักรวรรดิรัสเซียประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอิหร่านประเทศเม็กซิโกเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์เตหะราน1 มีนาคม10 มีนาคม17 มีนาคม17 ตุลาคม18 ตุลาคม26 ตุลาคม27 กรกฎาคม29 กุมภาพันธ์7 มกราคม

บากู

กู บากู หรือ บากี (Bakı หรือ Baky; ซีริลลิก: Бакы) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศอาเซอร์ไบจาน ตั้งอยู่ชายฝั่งทางใต้ของคาบสมุทรเล็ก ๆ ที่ยื่นออกไปในทะเลแคสเปียนชื่ออับชิรอน (Abşeron) กรุงบากูประกอบด้วยพื้นที่สามส่วน ได้แก่ ย่านเมืองเก่า (อิตแชรีแชแฮร์) ตัวเมืองปัจจุบัน และตัวเมืองที่สร้างขึ้นในสมัยโซเวียต รวมแล้วมีประชากร 2,074,300 คน (ค.ศ. 2003) แต่มีประมาณ 3 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตมหานคร (เนื่องจากมีผู้อพยพและผู้พลัดถิ่นภายในประเทศเป็นจำนวนมาก) ปัจจุบันมีนายฮาชีบาลา อาบูตาลีบอฟ (Hajibala Abutalybov) เป็นนายกเทศมนตรี ประวัติศาสตร์บากูย้อนไปถึงช่วง 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ส่วนเอกสารที่อ้างถึงเมืองนี้เป็นครั้งแรกอยู่ในปี ค.ศ. 885 บากูเคยเป็นเมืองหลวงของดินแดนต่าง ๆ ที่เป็นประเทศอาเซอร์ไบจานปัจจุบันในหลายยุคสมัย ได้แก่ แคว้นชีร์วาน (ในสมัยของพระเจ้าอัคซีตันที่ 1 และพระเจ้าคาลีลุลลาห์ที่ 1) รัฐข่านบากู จังหวัดบากูของรัสเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาเซอร์ไบจาน และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน (Azerbaijan SSR) ตั้งแต่อดีต เมืองแห่งนี้ต้องประสบกับการรุกรานของชนชาติต่าง ๆ เสมอ ไม่ว่าจะเป็นมองโกล ซาฟาวิด ออตโตมัน และรัสเซีย ในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 การค้นพบน้ำมันและแก๊สธรรมชาติได้นำความรุ่งเรืองมั่งคั่งมาสู่เมืองนี้ ผังของเมืองที่ร่ำรวยน้ำมันแห่งนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีเพียงส่วนที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองภายในกำแพงป้อมเท่านั้น ที่มีถนนที่มีลักษณะโค้งและแคบ เขตตัวเมืองที่มีความเจริญมั่งคั่ง (ซึ่งอยู่ทางใต้ของเมืองเก่า) ถูกสร้างขึ้นหลังจากมีการนำปิโตรเลียมจำนวนมหาศาลขึ้นมาใช้ประโยชน์เมื่อเกือบศตวรรษที่ผ่านมา และมีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม รวมพิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวรรณคดีตั้งอยู่นั่นด้วย ปัจจุบันบากูสมัยใหม่ขยายเขตออกไปนอกกำแพงเมือง อาคารและถนนสายต่าง ๆ จึงเริ่มปรากฏขึ้นบนเนินเขาริมอ่าว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและบากู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี (Rezā Ŝāh Pahlawi พระนามเดิม เรซา ข่าน (15 มีนาคม ค.ศ. 1878 – 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นชาห์แห่งจักรวรรดิเปอร์เซียThe Columbia Encyclopedia, 6th ed.: ตั้งแต่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1925 จนกระทั่งทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติโดยสหราชอาณาจักร-สหภาพโซเวียตภายหลังทั้งสองกองทัพได้รุกรานอิหร่าน เมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1941 ในปี 1925 ชาห์ เรซา ได้ทำการโค่นล้มราชบัลลังก์ของพระเจ้าชาห์อะหมัด ชาห์ กอญัร ชาห์พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์กอญัร และก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีขึ้น พระองค์ทรงใช้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญปกครองอิหร่าน จนกระทั่งถูกล้มล้างในปี ค.ศ. 1979 ในช่วงการปฏิวัติอิหร่าน พระเจ้าชาห์ เรซา ทรงเป็นผู้นำให้มีการปฏิรูปสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองจำนวนมากในช่วงรัชสมัยของพระองค์ และท้ายที่สุดคือการวางรากฐานของรัฐอิหร่านที่ทันสมัย พระราชมรดกของพระองค์ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่จนถึงทุกวันนี้ ป้อมปราการของพระองค์ยืนยันว่าพระองค์เป็นแรงผลักดันให้อิหร่านเข้าไปสู่ความทันสมัย ในขณะที่ผู้คนวิพากษ์วิจารณ์ว่าการครองราชย์ของพระองค์นั้นเป็นเผด็จการและจะนำไปสู่ความล้มเหลวในที่สุด แม้ว่าพระองค์จะพยายามนำอิหร่านไปสู่ความก้าวหน้าเพียงใด ท้ายที่สุดประชาชนในชนบทก็ได้หว่านเมล็ดพันธ์ที่นำไปสู่การปฏิวัติอิหร่านในที่สุดAbrahamian, History of Modern Iran, (2008), p.91.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็งเม็ดเลือดขาว

มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือที่นิยมเรียกกันว่า ลูคิเมีย (Leukemia, Leukeamia) เป็นมะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือด ทำให้มีการสร้างเม็ดเลือดชนิดผิดปกติออกมามากกว่าปกติ และจะไปรบกวนการสร้างเม็ดเลือดปกติ ทำให้จำนวนเม็ดเลือดที่ปกตินั้นมีจำนวนลดน้อยลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและมะเร็งเม็ดเลือดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและราชวงศ์ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่าน

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่าน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิญาบ

การสวมฮิญาบในประเทศอินโดนีเซีย ตัวอย่างการสวมฮิญาบในประเทศต่างๆ (จากภาพซ้ายบน ตามเข็มนาฬิกา)1. อิสตันบูล ประเทศตุรกี2. ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์3. เตหะราน ประเทศอิหร่าน4. รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย ฮิญาบ (حجاب) หรือภาษามลายูปัตตานีว่า กาเฮงกลูบง คือผ้าคลุมศีรษะของผู้หญิงมุสลิม ซึ่งศาสนาอิสลามระบุให้ผู้หญิงสวมผ้าคลุมผมจนปิดหน้าอก เพื่อเป็นการปกปิดร่างกายให้มิดชิด เป็นการสำรวม การคลุมผ้า ของสตรีมุสลิมนั้นไม่ใช่ประเพณีของอาหรับ แต่เป็นบทบัญญัติของศาสนา ฮิญาบ แปลว่า ปิดกั้น การคลุมฮิญาบของสตรีอิสลาม เป็นการปฏิบัติธรรม เฉกเช่นสตรีในศาสนาอื่นปฏิบัติธรรมนั่นเอง การมีคุณธรรมประจำตน ทำให้สังคมมีศีลธรรมลดปัญหาสังคมต่างๆ การคลุมฮิญาบของสตรีนั้น โดยทั่วไป จะเปิดเผยแค่ใบหน้าและฝ่ามือ ส่วนการปิดจนเหลือแต่ลูกตานั้นเป็นทัศนะที่ปฏิบัติเพื่อป้องกันตนเองจากฟิตนะห์ (ความไม่ดีไม่งามทางสังคม) เช่น ป้องกันการถูกแซว หรือ การหยอกล้อเชิงชู้สาวจากเพื่อนชาย เป็นต้น การปิดหน้าจนเหลือแต่ลูกตา ไม่ได้มีไว้เพื่อปิดบังตัวเอง จากการทำสิ่งไม่ดี หรือ เพื่อเจตนากระทำสิ่งต่าง ๆ โดยไม่ให้ผู้อื่นรู้ว่าตนเองเป็นใคร เพื่อไม่ให้ใครจำได้ เช่น ยามปกติ(หมายถึงการใช้ชีวิตปกติทั่วๆไปก็ใส่ฮิญาบธรรมดา) ก็ไม่ได้ปิดหน้าปิดตา การกระทำเช่นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เช่นนี้ไม่ใช่เจตนาของอิสลาม ที่ใช้ศาสนาอำพราง กระทำในสิ่งไม่ดี การปิดหน้านั้นไม่ใช่เพื่อป้องกันฝุ่นทะเลทรายหรือประเพณี เพียงเพราะว่าอิสลามมาจากประเทศแทบอาหรับทะเลทราย แต่มาจากบทบทบัญญัติศาสนา ในเรื่องการคลุมฮิญาบ และป้องกันสิ่งที่ไม่ดี(ภาษาอาหรับเรียกว่าฟิตนะห์) และแสดงถึงการมีธรรมะโดยการปฏิบัติธรรม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและฮิญาบ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ. 2534 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1

้าชายอาลี เรซาที่ 1 ปาห์ลาวี (1 มีนาคม ค.ศ. 1922 - 17 ตุลาคม ค.ศ. 1954) พระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก ในอดีตพระองค์เป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์อิหร่านพระองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:شمس پهلوی, ประสูติ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - สิ้นพระชนม์ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก และเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี

้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี (اشرف پهلوی Ashraf Pahlavī; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2462 — 7 มกราคม พ.ศ. 2559) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก และเป็นพระขนิษฐาฝาแฝดของพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (فوزية بنت فؤاد الأول.; فوزیه فؤاد; ประสูติ: 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์: 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2013) เจ้าหญิงแห่งอียิปต์และอดีตสมเด็จพระราชินีในโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์อิหร่าน หลังจากการเสกสมรสอีกครั้งใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เตหะราน

ตหะราน (تهران; Tehran, Teheran) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิหร่าน และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในแถบประเทศตะวันออกกลาง ประชากรในเมือง 7,160,094 และในเขตนครหลวงหรือเมโทร 14 ล้านคนเศษ เตหะรานนอกจากจะเป็นเมืองหลวงแล้ว ยังเป็นเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศ เช่น อุตสาหกรรมน้ำมัน อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ฯลฯ เตหะรานยังเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ การบินพาณิชย์ ในภูมิภาคตะวันออกกลางอีกด้วย เตหะรานในภาษาเปอร์เซียแปลว่า อ้อมเขาอันอบอุ่น ซึ่งหมายถึงชาวเมืองที่อาศัยอยู่อย่างสงบและมีสันติสุขภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและเตหะราน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มีนาคม

วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ10 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ18 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ27 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กุมภาพันธ์

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ในเกรกอเรียน ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ29 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกและ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชินีทัดจ์ อัล-โมเลาก์สมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »