โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

ดัชนี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

นิติบัญญัติแห่งชาต..

116 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชลอ ธรรมศิริบัญชา ล่ำซำบัญญัติ สุชีวะชาญ อังศุโชติบุญชัย บำรุงพงศ์บุญชู โรจนเสถียรบุญชนะ อัตถากรบุญช่วย ศรีสารคามบุญเลื่อน เครือตราชูบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ชูสิน โคนันทน์ชูสง่า ฤทธิประศาสน์บดี จุณณานนท์ชนะ รุ่งแสงพร ธนะภูมิพิชัย รัตตกุลพิศาล มูลศาสตรสาทรพนัส สิมะเสถียรกมล เดชะตุงคะกระมล ทองธรรมชาติกระแส ชนะวงศ์กำพล วัชรพลกำจร สถิรกุลกำธน สินธวานนท์ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์มารุต บุนนาคมาลัย หุวะนันทน์ระวี ภาวิไลวสิษฐ เดชกุญชรวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ศรีสุข มหินทรเทพศิริ สิริโยธินสมภพ ภิรมย์สมศักดิ์ ชูโตสมัชชาแห่งชาติไทยสมัคร สุนทรเวชสมคิด ศรีสังคมสัญญา ธรรมศักดิ์สายหยุด เกิดผลสาโรช บัวศรีสำราญ แพทยกุลสิทธิ เศวตศิลาสิปปนนท์ เกตุทัตสุรพล จุลละพราหมณ์สุรินทร์ มาศดิตถ์สุด แสงวิเชียรสงัด ชลออยู่สง่า กิตติขจรสง่า สรรพศรี...สนั่น เกตุทัตหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุลหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)อรรถ วิสูตรโยธาภิบาลอรุณ ภาณุพงศ์อวย เกตุสิงห์อาษา เมฆสวรรค์อาคารรัฐสภาไทยอำนวย วีรวรรณอุกฤษ มงคลนาวินอุทิศ นาคสวัสดิ์อดุล วิเชียรเจริญจำรัส มังคลารัตน์จิตติ ติงศภัทิย์จิตต์ สังขดุลย์ธานินทร์ กรัยวิเชียรถนอม กิตติขจรถนัด คอมันตร์ทวิช กลิ่นประทุมทวี แรงขำทองหยด จิตตวีระณรงค์ มหานนท์ณัฐวุฒิ สุทธิสงครามคนึง ฦาไชยประกายเพชร อินทุโสภณประภาศน์ อวยชัยประมวล กุลมาตย์ประมาณ อดิเรกสารประหยัด ศ. นาคะนาทประทีป ม. โกมลมาศประเสริฐ ณ นครประเทือง กีรติบุตรปราโมทย์ นาครทรรพปรีดี เกษมทรัพย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์นพพร บุณยฤทธิ์นิพนธ์ ศศิธรนิสสัย เวชชาชีวะนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์นิคม จันทรวิทุรแมนรัตน์ ศรีกรานนท์แถมสิน รัตนพันธุ์ใหญ่ ศวิตชาติไพจิตร เอื้อทวีกุลเชาวน์ ณศีลวันต์เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษม ศิริสัมพันธ์เกษม สุวรรณกุลเกษม จาติกวณิชเภา สารสินเลอศักดิ์ สมบัติศิริเล็ก แนวมาลีเสริม ณ นครเสนาะ อูนากูลเสน่ห์ จามริกเหตุการณ์ 14 ตุลาเอนก สิทธิประศาสน์เจริญ คันธวงศ์เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่เทียนชัย ศิริสัมพันธ์เติมศักดิ์ กฤษณามระเฉก ธนะสิริเฉลียว วัชรพุกก์ ขยายดัชนี (66 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชลอ ธรรมศิริ

นายชลอ ธรรมศิริ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครลำดับที่ 6 โดยเป็นผู้ว่าราชการจากการแต่งตั้ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และชลอ ธรรมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บัญชา ล่ำซำ

ัญชา ล่ำซำ (12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบัญชา ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ สุชีวะ

ตราจารย์พิเศษ บัญญัติ สุชีวะ (23 เมษายน พ.ศ. 2467 – 4 สิงหาคม พ.ศ. 2540) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบัญญัติ สุชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญ อังศุโชติ

ลโท ชาญ อังศุโชติ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมัย เคยมีประสบการในการรับราชการ การทูต เป็นผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ และเป็นนายทหารที่ได้รับความไว้วางใจของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และชาญ อังศุโชติ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 - 30 กันยายน 2519 เป็นบุตรนายยัง และนางแพ บำรุงพงศ์ สมรสกับคุณหญิงจรัสลักษณ์ บำรุงพงศ์ บุญชัยสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบุญชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบุญชู โรจนเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

บุญชนะ อัตถากร

ญชนะ อัตถากร (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2453-17 เมษายน พ.ศ. 2547) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ บญชนะ สมรสกับท่านผู้หญิงแส อัตถากร มีบุตรสาว คือ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ทักษิณา สวนานนท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบุญชนะ อัตถากร · ดูเพิ่มเติม »

บุญช่วย ศรีสารคาม

นายบุญช่วย ศรีสารคาม (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์,ขอนแก่น, อุบลราชธานี, ชลบุรี, และจันทบุรี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบุญช่วย ศรีสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลื่อน เครือตราชู

ณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ก่อตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ และ โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบุญเลื่อน เครือตราชู · ดูเพิ่มเติม »

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูสิน โคนันทน์

ูสิน โคนันทน์ (5 ธันวาคม พ.ศ. 2466 - 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2545) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 3 สมั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และชูสิน โคนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูสง่า ฤทธิประศาสน์

นายชูสง่า ฤทธิประศาสน์ (ชูสง่า ไชยพันธ์) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 2 สมัย สังกัดพรรคชาติไทย อดีตอธิบดีกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และชูสง่า ฤทธิประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

บดี จุณณานนท์

ี จุณณานนท์ (30 สิงหาคม พ.ศ. 2478 —) ประธานกรรมการบริหาร บริษัท พุทธธรรมประกันภัย จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กระทรวงการคลัง เป็นที่รู้จักในฐานะที่เป็นผู้อำนวยการสำนักงบประมาณที่ครองตำแหน่งอยู่นานที่สุด และยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และบดี จุณณานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ รุ่งแสง

นะ รุ่งแสง อดีตนักการเมืองสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ (ส.ส.) และนักธุรกิจการธนาคารชาวไทย นายชนะเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเป็นทายาทตระกูลคหบดีชาวนาตำบลบางนา ซึ่งปัจจุบันคือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ถนนสุขุมวิท (สี่แยกบางนา), ถนนสุขุมวิท 103, ถนนสุขุมวิท 105, ถนนสรรพาวุธ, สองฝั่งคลองบางนา และบริเวณตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเข้าสู่แวดวงธุรกิจด้วยการเป็นผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าสู่แวดวงการเมือง ด้วยการลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร ในสังกัดของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง รวมทั้งได้ดำรงตำแหน่งเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร อีกด้วย และได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 จากนั้นในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 นายชนะได้ลงรับสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในเขต 8 กรุงเทพมหานคร ก็ได้รับเลือกตั้งไป แต่ก็ต้องพ้นจากตำแหน่งในวันที่ 6 ตุลาคม ปีเดียวกัน เมื่อเกิดเหตุการณ์นองเลือดขึ้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสนามหลวง และก็มีการรัฐประหารขึ้นในวันเดียวกัน ต่อมา ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ โดยได้หมายเลข 4 มีนโยบาย คือ "6 เป้าหมาย 4 แนวทางและ 10 มาตรการ" และใช้คำขวัญในการหาเสียง คือ "เลือกชนะ เพื่อชัยชนะของประชาชน" แต่ก็ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยแพ้ให้แก่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง ผู้สมัครอิสระ หมายเลข 8 ไป โดยนายชนะได้ 241,002 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ได้ 408,233 คะแนน ปัจจุบัน นายชนะได้วางมือจากการเมืองแล้ว แต่ยังมีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการน้ำแห่งชาติ และคณะทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศ.) และมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นนายกสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีหลานชาย คือ นายชนินทร์ รุ่งแสง เป็น..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และชนะ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

พร ธนะภูมิ

ลเอก พร ธนะภูมิ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นบิดาของนางเกสรา ณ ระนอง ภริยาของนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และพร ธนะภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล มูลศาสตรสาทร

ล มูลศาสตรสาทร (10 พฤษภาคม 2472 - 27 มีนาคม 2539) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และพิศาล มูลศาสตรสาทร · ดูเพิ่มเติม »

พนัส สิมะเสถียร

ตราจารย์ พนัส สิมะเสถียร เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และพนัส สิมะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

กมล เดชะตุงคะ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กมล เดชะตุงคะ อดีตประธานรัฐสภา อดีตประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ในการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และกมล เดชะตุงคะ · ดูเพิ่มเติม »

กระมล ทองธรรมชาติ

ตราจารย์ กระมล ทองธรรมชาติ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครองสูง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และกระมล ทองธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กำพล วัชรพล

นายกำพล วัชรพล จ่าโท กำพล วัชรพล (27 ธันวาคม พ.ศ. 2462 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, เสียงอ่างทอง, ข่าวภาพ, มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และกำพล วัชรพล · ดูเพิ่มเติม »

กำจร สถิรกุล

กำจร สถิรกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย คนที่ 11 และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และกำจร สถิรกุล · ดูเพิ่มเติม »

กำธน สินธวานนท์

ลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และกำธน สินธวานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์

ตราจารย์ ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 3 สมัย และอดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย หุวะนันทน์

ตราจารย์ มาลัย หุวะนันทน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และมาลัย หุวะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ระวี ภาวิไล

ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และระวี ภาวิไล · ดูเพิ่มเติม »

วสิษฐ เดชกุญชร

ลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561)) อดีตนายตำรวจราชสำนักประจำ และเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้วางพระราชหฤทัย จนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้านายตำรวจราชสำนักประจำ ก่อนที่จะออกมาดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมตำรวจ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ที่เป็นนักเขียนนวนิยายเกี่ยวกับวงการตำรวจ และอาชญากรรม โดยนำมาจากประสบการณ์จริง จนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2541 ได้รับยกย่องว่าเป็นตำรวจตงฉินแห่งกรมตำรวจไทย ยุคปราบปรามคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และวสิษฐ เดชกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์

ลโท พลตำรวจเอก วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ อดีตรองเสนาธิการทหารบกและบิดาของ นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ อดีต ส.ว. จังหวัดพะเยา และอดีตรองหัวหน้า พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสุข มหินทรเทพ

ลตำรวจเอก ศรีสุข มหินทรเทพ (19 มกราคม 2460 - 2536) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยตำรว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และศรีสุข มหินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริ สิริโยธิน

ลตรีศิริ สิริโยธิน (5 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และศิริ สิริโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ ภิรมย์

ตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ (26 กรกฎาคม 2459 -3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลผู้อนุรักษ์มรดกด้านสถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลด้านสถาปัตยกรรมไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี 2529 และราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ อดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม เป็นผู้มีผลงานทางด้านสถาปัตยกรรม และผลงานวิชาการงานเขียนมากมาย ผลงานชิ้นสำคัญ ได้แก่ “กุฎาคาร” “พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยรัตนโกสินทร์” และ “บ้านไทยภาคกลาง” โดยมักจะใช้คำนำหน้าหนังสือหรือบทความว่า “ปกิณกคดีหมายเลข 13” ศาสตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสมภพ ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ชูโต

ตราจารย์ สมศักดิ์ ชูโต เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42) เป็นอดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสมศักดิ์ ชูโต · ดูเพิ่มเติม »

สมัชชาแห่งชาติไทย

มัชชาแห่งชาติของประเทศไทย (National People's Assembly of Thailand) เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายสาขาอาชีพ มาประชุมกันเพื่อคัดเลือกกันเองไปเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสมัชชาแห่งชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด ศรีสังคม

ันเอก สมคิด ศรีสังคม (1 สิงหาคม พ.ศ. 2460 – 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560) คือ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุดรธานี และอดีตประธานโครงการรณรงค์เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย (ครป.).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสมคิด ศรีสังคม · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สายหยุด เกิดผล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สายหยุด เกิดผล (เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2465) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด สมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันเป็นรองประธานมูลนิธิองค์กรกลางเพื่อประชาธิปไตย และประธานเครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้ง (พีเน็ต) และเป็นบิดาของพลเอก อักษรา เกิดผล หรือ บิ๊กโบ้ ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสายหยุด เกิดผล · ดูเพิ่มเติม »

สาโรช บัวศรี

ตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสาโรช บัวศรี · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ แพทยกุล

ลเอก สำราญ แพทยกุล (? - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) อดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตแม่ทัพภาคที่ 1และแม่ทัพภาคที่ 3 และองคมนตรีไทย พลเอก สำราญ แพทยกุล เคยดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชา กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ระหว่าง..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสำราญ แพทยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสิทธิ เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สิปปนนท์ เกตุทัต

ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เวลา 13:08 น. ที่โรงพยาบาลศิริราช ด้วยโรคมะเร็งในกระดูก รวมอายุ 75 ปี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสิปปนนท์ เกตุทัต · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล จุลละพราหมณ์

ลตำรวจเอก สุรพล จุลละพราหมณ์ (15 กันยายน พ.ศ. 2465 - พ.ศ. 2539) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 18 และอดีตผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสุรพล จุลละพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ มาศดิตถ์

นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นบิดาของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสุรินทร์ มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุด แสงวิเชียร

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450— 8 มิถุนายน พ.ศ. 2538) แพทย์ชาวไทย นักกายวิภาคศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักโบราณคดี ราชบัณฑิต และ ผู้ได้รับรางวัลแพทย์ดีเด่น บุคคลดีเด่นแห่งชาติ และนักอนุรักษ์ดีเด่น ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร มีผลงานโดดเด่นในเรื่องวิทยาเอ็มบริโอ ด้านจุลกายวิภาคศาสตร์ ด้านมหกายวิภาคศาสตร์ หนึ่งในแพทย์ผู้ชันสูตรพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสุด แสงวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 พล.ร.อ.สงัดในขณะนั้นยังมียศ นาวาโท (น.ท.) เป็นผู้บังคับบัญชาเรือรบหลวงสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ยิงปืนจากเรือไปยังรถถังของฝ่ายรัฐบาลจนเสียหาย หลังเหตุการณ์ได้ถูกควบคุมตัวและถูกคุมขังเช่นเดียวกับผู้ต้องหาคนอื่น ๆ ที่สนามกีฬาแห่งชาติด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นนายทหารที่มีบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ด้วยการเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารเรือและผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเป็นผู้นำในการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง คือในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จนได้รับฉายาว่า "บิ๊กจอวส์" หรือ "จอวส์ใหญ่" ถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการหัวใจวาย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสงัด ชลออยู่ · ดูเพิ่มเติม »

สง่า กิตติขจร

ลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสง่า กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

สง่า สรรพศรี

ตราจารย์ สง่า สรรพศรี (วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 29 มกราคม พ.ศ. 2542) เกิดที่ จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรของนายมุ่ง และนางอุสา สรรพศรี สมรสกับ ร.วชิรา สรรพศรี มีบุตร 1 คน คือ ร.ดร.ชโยดม สรรพศรี คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.ดร.สง่า สรรพศรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งทางวิชาการอื่นๆ หลายตำแหน่ง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสง่า สรรพศรี · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น เกตุทัต

อาจารย์สนั่น เกตุทัต อาจารย์สนั่น เกตุทัต (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) ผู้ร่วมก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง เคยได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และสนั่น เกตุทัต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (พ.ศ. 2456-พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์

หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 -) เป็น ศิลปินแห่งชาติ นักแสดง นักร้อง นักเขียน และนักจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการแนะนำและจัดระดับความอร่อยของร้านอาหาร ในชื่อ "เชลล์ชวนชิม" สัญลักษณ์ชามลายผักกาด ทางหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล

หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล (20 ธันวาคม 2457 - 26 พฤศจิกายน 2527) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นโอรสของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย และหม่อมเพี้ยน เทวกุล (บุนนาค) เกิดที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และหม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)

ตราจารย์พิเศษ อินทรี จันทรสถิตย์ หรือ หลวงอิงคศรีกสิการ (14 กันยายน พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตอธิบดีกรมเกษตร และเป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) · ดูเพิ่มเติม »

อรรถ วิสูตรโยธาภิบาล

นายอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 2 และอดีตอธิบดีกรมที่ดิน คนที่ 19 กระทรวงมหาดไทย รวมถึงอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย เป็นผู้คิดวิธีออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3ก.) โดยใช้รูปถ่ายทางอากาศเป็นระวาง และยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการร่างกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกาถึง 5 ครั้ง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

อรุณ ภาณุพงศ์

ตราจารย์พิเศษ อรุณ ภาณุพงศ์ เป็นสมาชิกฝ่ายไทยในศาลประจำอนุญาโตตุลาการ ณ กรุงเฮก อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอรุณ ภาณุพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อวย เกตุสิงห์

ตราจารย์เกียรติคุณ เรือโท นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ เป็นแพทย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2451 เป็นชาวจังหวัดพระนคร สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วได้ทุนไปศึกษาเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาสรีรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อวยได้รับการยกย่องว่าเป็นนายแพทย์ที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาสูง รู้จักประยุกต์ใช้คำสอนของพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการบำบัดผู้ป่วยกับวิชาแพทย์แผนใหม่รุ่นบุกเบิกของไทย ในขณะเดียวกัน ท่านยังเป็นนายแพทย์ผู้บุกเบิกเอาวิชาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแพทยศาสตร์มาประยุกต์และได้รับสมญานามว่าเป็น บิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอวย เกตุสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

อาษา เมฆสวรรค์

อาษา เมฆสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (จากการแต่งตั้ง).

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอาษา เมฆสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคารรัฐสภาไทย

อาคารรัฐสภา เป็นสำนักของรัฐสภาไทย ใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันหรือแยกกันของสภาผู้แทนราษฎรไทยและวุฒิสภาไทย ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รวมตลอดถึงหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐสภาด้วย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 หลังการปฏิวัติสยามและประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก ผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรและประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้โปรดให้สภาผู้แทนราษฎรประชุมกันที่พระที่นั่งนี้ได้ต่อไป ครั้นจำนวนสมาชิกรัฐสภาเพิ่มขึ้นตามอัตราประชากรที่เพิ่มขึ้น และจำต้องมีที่ทำการของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา จึงจำต้องสร้างอาคารรัฐสภาที่รับความต้องการดังกล่าวได้ ในการนี้ มีการวางโครงการสร้างอาคารรัฐสภาใหม่ถึงสี่ครั้ง แต่สามครั้งแรกไปไม่ตลอดรอดฝั่งเพราะคณะรัฐมนตรีซึ่งริเริ่มโครงการต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน ในครั้งที่สี่ เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2513 มีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอาคารรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย วีรวรรณ

ตราจารย์พิเศษ อำนวย วีรวรรณ อดีตหัวหน้าพรรคนำไทย และพรรคมวลชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นบิดาของนายถกลเกียรติ วีรวรรณ เจ้าของธุรกิจทางด้านรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอำนวย วีรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อุกฤษ มงคลนาวิน

ตราจารย์พิเศษ อุกฤษ มงคลนาวิน อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา ผู้ก่อตั้งสำนักงานทนายความอุกฤษ มงคลนาวิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอิสระเพื่ออำนวยความยุติธรรม และเสริมสร้างสิทธิเสรีภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กอ.ยส.จชต.) และกรรมการสภากาชาดไทยนอกจากนั้นยังดำรงตำแหน่งประธานพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้ว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอุกฤษ มงคลนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

อุทิศ นาคสวัสดิ์

.อุทิศ นาคสวัสดิ์ เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงไทย ผู้ส่งเสริมดนตรีไทย นักเขียน นักจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ นักเขียนบทละคร และเป็นศาสตราจารย์ในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอุทิศ นาคสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อดุล วิเชียรเจริญ

ตราจารย์ อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2469 เป็นชาวเพชรบุรี คณบดีคนแรกของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ้นจากตำแหน่งคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และอดุล วิเชียรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

จำรัส มังคลารัตน์

ลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 - 3 มกราคม พ.ศ. 2540) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และจำรัส มังคลารัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ ติงศภัทิย์

ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และจิตติ ติงศภัทิย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์ สังขดุลย์

ลเรือเอกจิตต์ สังขดุลย์ (นามเดิม จงจิตต์ สังขดุลย์) นายทหารผ่านศึกในยุทธนาวีเกาะช้าง อดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายเรือ ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหาร เจ้ากรมส่งกำลังบำรุง เสนาธิการทหารเรือ และปลัดกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และจิตต์ สังขดุลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และธานินทร์ กรัยวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และถนัด คอมันตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และทวิช กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

ทวี แรงขำ

ตราจารย์ ทวี แรงขำ เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ครม.27, 28, 30, 31) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และทวี แรงขำ · ดูเพิ่มเติม »

ทองหยด จิตตวีระ

ทองหยด จิตตวีระ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 จังหวัด คือ จังหวัดระนอง และจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตนายกสมาคมสันนิบาทเทศบาลแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และทองหยด จิตตวีระ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ มหานนท์

ล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ เป็นอดีตอธิบดีกรมตำรวจ 2525-2530 อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานที่ปรึกษาบริษัท ช.การช่าง จำกั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และณรงค์ มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร (ส.ส.พระนคร) และกรุงเทพมหานคร (ส.ส.กรุงเทพมหานคร) พรรคประชาธิปัตย์ และนักเขียนสารคดีแนวประวัติศาสตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

คนึง ฦาไชย

ตราจารย์พิเศษ คนึง ฦาไชย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และคนึง ฦาไชย · ดูเพิ่มเติม »

ประกายเพชร อินทุโสภณ

นายประกายเพชร อินทุโสภณ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประกายเพชร อินทุโสภณ · ดูเพิ่มเติม »

ประภาศน์ อวยชัย

ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประภาศน์ อวยชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล กุลมาตย์

นายประมวล กุลมาตย์ (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2527) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 5 สมั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประมวล กุลมาตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประมาณ อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ประหยัด ศ. นาคะนาท

ลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประหยั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประหยัด ศ. นาคะนาท · ดูเพิ่มเติม »

ประทีป ม. โกมลมาศ

ราดา ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้มีคุณธรรม อุทิศตนทำงานด้านการบริหารการศึกษา จนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประทีป ม. โกมลมาศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประเสริฐ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทือง กีรติบุตร

ตราจารย์พิเศษ นายกองใหญ่ ประเทือง กีรติบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (ครม.41) อดีตตุลาการรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตประธานกรรมการอัยการ.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และประเทือง กีรติบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ นาครทรรพ

ตราจารย์ ปราโมทย์ นาครทรรพ นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษาพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ผู้อ้างแผนฟินแลนด์ (ปฏิญญาฟินแลนด์) และอดีตเลขาธิการพรรคพลังใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และปราโมทย์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี เกษมทรัพย์

ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และปรีดี เกษมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นพพร บุณยฤทธิ์

นพพร บุณยฤทธิ์ (8 เมษายน พ.ศ. 2469 -) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ อดีตบรรณาธิการนิตยสาร ชาวกรุง และสยามรัฐ เคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสมาชิกวุฒิสภา ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และนพพร บุณยฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ ศศิธร

ตราจารย์ นิพนธ์ ศศิธร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และนิพนธ์ ศศิธร · ดูเพิ่มเติม »

นิสสัย เวชชาชีวะ

นายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบิดาของนายสุรนันทน์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และนิสสัย เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ (พ.ศ. 2463 - พ.ศ. 2536) อดีตเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย ในรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ ช่วง..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิคม จันทรวิทุร

180px ศาสตราจารย์นิคม จันทรวิทุร (6 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544) นักรณรงค์เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของแรงงานและคนยากจนด้อยโอกาส และนักวิชาการด้านแรงงานคนสำคัญคนหนึ่งของไทย เกิดที่บ้านท่าล้อ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ในครอบครัวไทย-จีน บิดาชื่อจันทร์ หรือ “พ่อเลี้ยงจันทร์” อพยพมาจากเมืองจีนตั้งแต่เล็ก ส่วนมารดาเป็นไทยชื่อ บัวจีน ศาสตราจารย์นิคม จันทรวิทุรเป็นบุตรคนที่ 9 จากพี่น้อง 11 คน บิดามีอาชีพทำนาและทำไม้.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และนิคม จันทรวิทุร · ดูเพิ่มเติม »

แมนรัตน์ ศรีกรานนท์

รืออากาศตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แถมสิน รัตนพันธุ์

นายแถมสิน รัตนพันธุ์ อดีตคอลัมนิสต์ผู้เขียนเรื่องราว ในวงการสังคมชั้นสูง ในหนังสือพิมพ์ และนิตยสารหลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ ผู้จัดการรายวัน โพสต์ทูเดย์ สกุลไทย เป็นต้น โดยใช้นามปากกาว่า “ลัดดา” ซึ่งเป็นชื่อภรรยาของเขาเอง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และแถมสิน รัตนพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ใหญ่ ศวิตชาติ

นายใหญ่ ศวิตชาติ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2450 – 12 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และใหญ่ ศวิตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ไพจิตร เอื้อทวีกุล

ตราจารย์ ไพจิตร เอื้อทวีกุล (14 มกราคม พ.ศ. 2477 — 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และไพจิตร เอื้อทวีกุล · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ. 2523) มีบุตรชาย 1 คน คือ นายไชย ณศีลวันต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเชาวน์ ณศีลวันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเกษม สุวรรณกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จาติกวณิช

นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเกษม จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

เภา สารสิน

ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเภา สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

เลอศักดิ์ สมบัติศิริ

ท่านผู้หญิง เลอศักดิ์ สมบัติศิริ (20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 — 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) อดีตประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท โรงแรมปาร์คนายเลิศ จำกัด, อดีตเจ้าของโรงแรมสวิสโซเทลปาร์คนายเลิศ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมหญิงคนแรกของไท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเลอศักดิ์ สมบัติศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก แนวมาลี

ลเอก นายกองใหญ่ เล็ก แนวมาลี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาไท.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเล็ก แนวมาลี · ดูเพิ่มเติม »

เสริม ณ นคร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเสริม ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ อูนากูล

นาะ อูนากูล (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเสนาะ อูนากูล · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ จามริก

ตราจารย์ เสน่ห์ จามริก เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ราษฎรอาวุโส นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ประะธานสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเสน่ห์ จามริก · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอนก สิทธิประศาสน์

นายเอนก สิทธิประศาสน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเอนก สิทธิประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเจริญ คันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่

้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ เป็นที่รู้จักในนาม เจ้ายาย (22 พฤษภาคม 2472) เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือและนักสังคมสงเคราะห์ชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนชัย ศิริสัมพันธ์

ลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตหัวหน้าพรรคราษฎร.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเทียนชัย ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เติมศักดิ์ กฤษณามระ

ตราจารย์กิตติคุณ เติมศักดิ์ กฤษณามระ ผู้อำนวยการสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานราชินีมูลน.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเติมศักดิ์ กฤษณามระ · ดูเพิ่มเติม »

เฉก ธนะสิริ

นายแพทย์ เฉก ธนะสิริ (เกิด กันยายน พ.ศ. 2468 -) แพทย์ชาวไทย อดีตรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นักบริหาร 10) เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิม และชมรมอยู่ 100 ปี-ชีวีเป็นสุข ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเฉก ธนะสิริ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว วัชรพุกก์

นายเฉลียว วัชรพุกก์ (29 มกราคม พ.ศ. 2464 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก.

ใหม่!!: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516และเฉลียว วัชรพุกก์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2516

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »