โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามยุทธหัตถี

ดัชนี สงครามยุทธหัตถี

ระมหาอุปราชมังกะยอชวา สงครามยุทธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างอยุธยากับพม่า ผลของสงครามครั้งนั้นปรากฏว่าอยุธยาเป็นฝ่ายชนะถึงแม้จะมีกำลังพลน้อยกว.

22 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2135พระยาศรีไสยณรงค์พระเจ้านันทบุเรงมังกะยอชวายุทธหัตถีราชวงศ์ตองอูสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสงครามยุทธหัตถีหมวกอาณาจักรอยุธยาอำเภอพนมทวนอำเภอดอนเจดีย์จังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีง้าวตะนาวศรีเจ้าพระยามหาเสนาเจ้าพระยาจักรีเจ้าพระยาปราบหงสาวดีเจ้าพระยาปราบไตรจักร

พ.ศ. 2135

ทธศักราช 2135 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและพ.ศ. 2135 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีไสยณรงค์

พระยาศรีไสยณรงค์ (?-พ.ศ. 2137)เป็นข้าหลวงเดิมและทหารเอกคู่พระทัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เกิดเมื่อใดไม่ปรากฏเดิมมี ยศเป็น พระศรีถมอรัตน์ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 ก็ทรงแต่งตั้งให้ พระศรีถมอรัตน์เป็น พระยาศรีไสยณรงค์ ต่อมาในคราว สงครามยุทธหัตถี ปี พ.ศ. 2135 ท่านและแม่ทัพท่านอื่นๆตามเสด็จ ไม่ทันพระองค์ก็ทรงพิโรธโปรดให้ ประหารชีวิต แต่ สมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว ได้มาขอร้องเอาไว้จึงโปรดให้ ไปตีเมืองมะริด, ทวายและตะนาวศรีแทน เมื่อพระยาศรีไสยณรงค์ตีได้เมืองตะนาวศรีจึงโปรดให้ท่านครองเมืองนี้แต่หลังจากสมเด็จพระนเรศวรทรงตีได้กรุงกัมพูชาแล้วในปีพ.ศ. 2136 พระยาศรีไสยณรงค์ก็น้อยใจพระองค์ว่าทำไมไม่ให้ท่านร่วมกองทัพไปด้วยจึงก่อการกบฏเมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบจึงโปรดให้พระราชอนุชาคือ สมเด็จพระเอกาทศรถ ไปเจรจาและเกลี้ยกล่อมข้าหลวงเดิมท่านนี้แต่ท่านพระยาไม่ยอมพระองค์ทรงทราบก็ทรงพระพิโรธและมีพระบัญชาให้ ้พระเอกาทศรถขณะที่ทรงดำรงพระอิสริยศเป็น พระมหาอุปราช เข้าตีเมืองตะนาวศรีและจับพระยาศรีไสยณรงค์ ประหารชีวิต ในปี พ.ศ. 2137 หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา ศรีไสยณรงค์.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและพระยาศรีไสยณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธหัตถี

วาดในจินตนาการการใช้ช้างศึกออกสงครามของพระเจ้าเปารยะ สู้กับ กองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราช ยุทธหัตถี หรือ การชนช้าง (Elephant duel) คือการทำสงครามบนหลังช้างตามประเพณีโบราณของกษัตริย์ในภูมิภาคอุษาคเนย์ เป็นการทำสงครามซึ่งถือว่ามีเกียรติยศ เพราะช้างถือเป็นสัตว์ใหญ่ และเป็นการปะทะกันซึ่ง ๆ หน้า ผู้แพ้อาจถึงแก่ชีวิตได้.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยุทธหัตถี

ระมหาอุปราชมังกะยอชวา สงครามยุทธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างอยุธยากับพม่า ผลของสงครามครั้งนั้นปรากฏว่าอยุธยาเป็นฝ่ายชนะถึงแม้จะมีกำลังพลน้อยกว.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและสงครามยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

หมวก

หมวก หมวก เป็นสิ่งที่ใส่สวมใส่บนศีรษะเพื่อจุดประสงค์ต่าง ๆ เช่นใส่เพื่อป้องกันสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น แสงแดด ฝน เพื่อเฉลิมฉลองหรือเหตุจำเป็นเกี่ยวกับศาสนา เพื่อความปลอดภัย หรือเพื่อประดับเป็นแฟชัน ในอดีต หมวกใช้บ่งบอกสถานะทางสังคม ในทางการทหาร ใช้หมวกเพื่อแสดงถึงชาติ ตำแหน่ง และ/หรือ ยศของทหารนายนั้น.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและหมวก · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพนมทวน

อำเภอพนมทวน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและอำเภอพนมทวน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอนเจดีย์

อนเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและอำเภอดอนเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ง้าว

ง้าว และของ้าวไทย คนถือง้าว ง้าว เป็นอาวุธจีนโบราณ สำหรับต่อสู้บนหลังม้า พบว่าส่วนใหญ่ง้าวจะใช้โดยขุนพล แม่ทัพ โดยส่วนมาก ง้าวมีลักษณะเป็นอาวุธด้ามยาว คล้ายกับ ทวน และ หอก แต่จะมีความยาวด้ามจับสั้นกว่า คือสูงเท่าลำตัว ส่วนใหญ่หัวของง้าวนั้นคล้ายจะมีลักษณ์คล้ายลิ้นของมังกร และมีความโค้งเป็นเสี้ยวพระจันทร์ ลักษณะการต่อสู้โดยการใช้ง้าวนั้นจะต่างกับการใช้หอกคือ หอกจะใช้สำหรับการโจมตีโดยการแทงไปที่เป้าหมายเท่านั้น แต่ง้าวจะใช้โจมตีโดยการฟัน และด้วยลักษณะเด่นของง้าวที่มีส่วนหัวที่ใหญ่จึงมักจะใช้ปัด เบี่ยง หรือ รับ การโจมตีจากศัตรู ซึ่งจะเห็นได้บ่อยๆในฉากรบกันของหนังจีนโบราณ จุดเสียของง้าวนั้นเนื่องจากมีส่วนหัวที่ใหญ่จึงทำให้มีน้ำหนักมาก ดังนั้นผู้ใช้ง้าวส่วนใหญ่จึงเป็นผู้ที่มีกำลังมากเท่านั้น ในประวัติศาสตร์ประเทศไทยนั้นได้พบว่า ได้มีการใช้ง้าวเป็นอาวุธด้วยเช่นกัน ดังเช่น ประวัติสมเด็จพระสุริโยไท เป็นต้น หมวดหมู่:อาวุธมีคม หมวดหมู่:อาวุธด้ามยาว.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและง้าว · ดูเพิ่มเติม »

ตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီ, ตะนี้นตายี; สำเนียงมอญ: ตะเนิงซอย; Tanintharyi, Taninthayi) เดิมใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า เทนัสเซริม (Tenasserim) เป็นเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในภูมิภาคตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหาเสนา

้าพระยามหาเสนา ในบางรัชกาลเรียกว่า เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ไทยที่เริ่มใช้ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สำหรับขุนนางที่ดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เจ้าพระยามหาเสนาที่สำคัญ เช่น.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและเจ้าพระยามหาเสนา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาจักรี

้าพระยาจักรี เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ไทยที่เริ่มใช้ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สำหรับขุนนางที่ดำรงตำแหน่งสมุหนายกสมัยอยุธยาและธนบุรี เจ้าพระยาจักรีที่สำคัญ เช่น.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและเจ้าพระยาจักรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาปราบหงสาวดี

พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าพระยาปราบหงสาวดี เดิมชื่อ พลายภูเขาทอง (มีบางบันทึกบอกว่ามีชื่อเดิมว่า "พลายมิ่งเมือง" ในคำให้การชาวกรุงเก่าเรียก "พลายพุทรากระแทก") เป็นช้างคู่พระบารมีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจากขึ้นระวางแล้ว ได้บรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาไชยานุภาพ ต่อมาได้รับพระราชทานนามว่า เจ้าพระยาปราบหงสาวดี ในครั้งที่ชนะศึกยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2135 (ซึ่งในปัจจุบัน ได้เปลี่ยนมาเป็นวันที่ 18 มกราคม) ณ ตำบลท่าคอย (ซึ่งปัจจุบันเป็นตำบลดอนเจดีย์ อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี) ถูกบันทึกไว้ในพงศาวดาร เชื่อกันว่าเป็นช้างที่มีความจงรักภักดี และมีความกล้าหาญเสียสละช่วยกอบกู้ชาติให้แผ่นดิน มีลักษณะทางคชลักษณ์ที่ดี ส่วนหนึ่งได้แก่หลังที่โค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อ พลายพุทรากระแทก หรือ พลายพุทรากระทืบ ได้มาจากในพงศาวดาร ซึ่งระบุว่า ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรตัวเล็กกว่าพลายพัทธกอของพระมหาอุปราชา สู้แรงไม่ได้ แต่อาศัยยันโคนต้นพุทรา ทำให้แบกได้ล่าง และสมเด็จพระนเรศวรฟันด้วยพระแสงของ้าว ต้องคอของพระมหาอุปราชาขาดกับคอช้าง จากจดหมายเหตุของ de Coutre ระบุว่าเจ้าพระยาปราบหงสา ล้มลงในปี ค.ศ. 1596 (พ.ศ. 2139) หลังศึกยุทธหัตถี 4 ปี สมเด็จพระนเรศวรโปรดได้มีการสร้างเมรุ เผาศพช้างหลวงอย่างสมเกียรติยศเจ้าพระยา ถึง 7 วัน 7 คืน ชื่อ ไชยานุภาพ ได้กลายมาเป็นชื่อชุดแข่งขันของฟุตบอลทีมชาติไทยตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและเจ้าพระยาปราบหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาปราบไตรจักร

้าพระยาปราบไตรจักร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สงครามยุทธหัตถีและเจ้าพระยาปราบไตรจักร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สงครามยุทธหัตถีพระมหาอุปราชา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »