โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิสรรชนีย์

ดัชนี วิสรรชนีย์

วิสรรชนีย์ หรือ นมนางทั้งคู่ (ะ) ใช้เป็นสระ อะ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น และใช้ประสมสระ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ และ อัวะ อนึ่ง คำว่า "ประวิสรรชนีย์" เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่เครื่องหมายวิสรรชนีย์ นี้ (ประ หมายถึง ทำเป็นจุดๆ) วิสรรชนีย์เป็นเครื่องหมายที่มีใช้ในตระกูลอักษรพราหมี ตั้งแต่หลังสมัยพระเจ้าอโศก (ในราวราชวงศ์กษัตรปะ) โดยมีลักษณะเป็นเครื่องหมายวงกลมขนาดเล็กสองวง คล้ายเครื่องหมาย: (colon) คำว่า "วิสรรชนีย์" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต "วิสรฺชนีย" (ในสมัยหลังนิยมเรียกว่า วิสรฺค) หมายถึงเครื่องหมายที่ใช้เพื่อแทนเสียงลมหายใจมาก โดยวางไว้หลังสระ เช่น "दुःख, रामः" เมื่อถ่ายทอดเป็นอักษรไทย นิยมใช้เครื่องหมาย "ะ" เป็น "ทุะข, รามะ" เป็นต้น สำหรับระบบการเขียน IAST ใช้ "ḥ", ระบบ Harvard-Kyoto ใช้ H, และอักษรเทวนาครีใช้ "ः".

7 ความสัมพันธ์: พยัญชนะพระเจ้าอโศกมหาราชพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542ภาษาสันสกฤตสระตระกูลอักษรพราหมีColon

พยัญชนะ

พยัญชนะ (วฺยญฺชน, consonant) ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่น ๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า 'พยัญชนะ' คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว.

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และพยัญชนะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอโศกมหาราช

ระเจ้าอโศกมหาราช (अशोकः; พ.ศ. 240 - พ.ศ. 312 ครองราชย์ พ.ศ. 270 - พ.ศ. 311) เป็นจักรพรรดิอินเดียโบราณแห่ง ราชวงศ์โมริยะ หรือเมารยะผู้ปกครอง อนุทวีปอินเดีย เกือบทั้งหมดพระองค์เป็นราชนัดดา (หลาน) ของผู้ก่อตั้งราชวงศ์เมารยะคือ พระเจ้าจันทรคุปต์ ผู้สร้างหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียโบราณและจันทรคุปต์สละทั้งหมดแล้วบวชเป็นนักบวชเชน พระเจ้าอโศกเป็นหนึ่งในจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียพระองค์ขยายจักรวรรดิของพระเจ้าจันทรคุปต์และครอบครองเหนือดินแดนตั้งแต่ทางทิศตะวันตกคือพื้นที่ ประเทศอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันขยายออกไปทางทิศตะวันออกถึงบังกลาเทศ เป็นพื้นที่ครอบคลุมอนุทวีปของชาวอินเดียทั้งหมดยกเว้นพื้นที่ที่เป็น รัฐทมิฬนาฑู ในปัจจุบัน คาร์นาตากาและรัฐเกรละ เมืองหลวงของจักรวรรดิคือเมืองปาฏลีบุตร (ในแคว้นมคธปัจจุบันนี้คือเมืองปัฏนะ)พร้อมด้วยเมืองหลวงต่างจังหวัดคือเมือง ตักศิลา และเมืองอุชเชน หรือ อุชเชนี ในครั้งพุทธกาล ประมาณ..

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และพระเจ้าอโศกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

หน้าปกพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

สระ

ระ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และสระ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลอักษรพราหมี

ตระกูลอักษรพราหมี เป็นกลุ่มของอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ได้แก่อักษรที่ใช้ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และตระกูลอักษรพราหมี · ดูเพิ่มเติม »

Colon

Colon อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วิสรรชนีย์และColon · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วิสรรคสระอะประวิสรรชนีย์นมนางทั้งคู่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »