โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโท

ดัชนี รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโท

ราชอาณาจักรเลโซโทเป็นหนึ่งในสามของประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (อีก 2 ประเทศ คือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก และราชอาณาจักรสวาซิแลนด์) เดิมประเทศเลโซโทมีชื่อว่า บาซูทู (Basutho) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..1818 โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 1 เป็นผู้ปกครอง ต่อมา ชนเผ่าซูลู และคนผิวขาวเข้าไปตั้งหลักแหล่งในประเทศ และถูกแอฟริกาใต้รุกราน ประเทศบาซูทูขอรับความคุ้มครองจากรัฐบาลสหราชอาณาจักร และมีฐานะเป็นรัฐในปกครองของสหราชอาณาจักร (British protectorate of Basutholand) ตั้งแต่ปี..

5 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2365มาเซรูสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทเจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ

พ.ศ. 2365

ทธศักราช 2365 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโทและพ.ศ. 2365 · ดูเพิ่มเติม »

มาเซรู

ที่ตั้งกรุงมาเซรู ที่ตั้งกรุงมาเซรู กรุงมาเซรูในยามค่ำคืน มาเซรู เป็นเมืองหลวงของประเทศเลโซโทในทวีปแอฟริกา มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศแอฟริกาใต้ อีกทั้งกรุงมาเซรูยังเป็นเมืองหลวงของบาซูโตแลนด์ในขณะที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษอีกด้วย หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:ประเทศเลโซโท.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโทและมาเซรู · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท (King Moshoeshoe II of Lesotho) (2 พฤษภาคม 1938 - 15 มกราคม 1996) หรือพระนามเดิม คอนแสตนติน เบเรง ซีอีโซ (Constantine Bereng Seeiso) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเลโซโทตั้งแต่ปี 1966 จนกระทั่งพระองค์ถูกเนรเทศในปี 1990 และกลับมาครองราชย์ครั้งที่สองในปี 1995 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1996 ในรัชกาลของสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 นั้น พระองค์ค่อนข้างมีอำนาจทางการเมืองที่จำกัด ในช่วงที่เลอาบัว โจนาธานเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศเลโซโท ประเทศถูกควบคุมจากรัฐบาล ในปี 1970 พระองค์ถูกปลดจากราชบัลลังก์ แต่ยังทรงพระอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์ เพื่อที่จะฟื้นฟูอำนาจของพระองค์หลังจากที่พรรคของพระองค์แพ้การเลือกตั้ง พระองค์จึเสด็จลี้ภัยไปยังเนเธอร์แลนด์ โจนาธานถูกปลดในปี 1986 พระมหากษัตริย์ได้รับอำนาจคืนมาบ้าง แต่พระองค์ถูกปลดจากพระอิสริยยศในปี 1990 ในขณะที่โอรสของพระองค์เจ้าชายเดวิด โมฮาโต เบเร ซีอีโซถูกบีบบังคับให้เป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ทรงลี้ภัยไปที่สหราชอาณาจักร ต่อมาพระองค์สามารถกลับมาครองราชย์ได้อีกในปี 1995 แต่ปีต่อมาพระองค์ก็ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์และเสด็จสวรรคต, by Donald G. McNeil Jr in The New York Times, 16 January 1996 (accessed 3 November 2007) เจ้าชายเดวิด โมฮาโต เบเร ซีอีโซพระโอรสของพระองค์จึงครองราชย์ต่อทรงพระนามว่า "สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท".

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโทและสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโทและสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ

้าชายเลโรโทรี เซเอโซ เป็นพระราชบุตรพระองค์สุดท้องและพระราชโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท กับสมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ พระองค์มีพระเชษฐภคินี 2พระองค์ แต่ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ประเทศเลโซโท เจ้าชายยังได้เปรียบในการสืบราชสันตติวงศ์ก่อนเจ้าหญิง พระองค์จึงเป็น รัชทายาทแห่งเลโซโท ตั้งแต่แรกพระราชสม.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโทและเจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »