โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ดัชนี รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

296 ความสัมพันธ์: ชมพูนุช ตัณฑเศรษฐีชัยวัฒน์ สถาอานันท์บัวชมพู ฟอร์ดชาญวิทย์ เกษตรศิริชาคริต บัวทองบางจาก คอร์ปอเรชันชิบ จิตนิยมชินณิชา วงศ์สวัสดิ์บุญชู โรจนเสถียรบุษบา ดาวเรืองบุษกร วงศ์พัวพันธ์ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์บีไฟว์ชนันภรณ์ รสจันทน์ชนาธิป สรงกระสินธ์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีฟ้าเดียวกันพรรคมหาชนพรรคประชาธิปัตย์พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พริมรตา เดชอุดมพล ตัณฑเสถียรพัชญา เพียรเสมอพัฑฒิดา วงศ์โฆษวรรณพาทิศ พิสิฐกุลพิภู พุ่มแก้วพุ่มพวง (ภาพยนตร์)พงศธร จงวิลาสพนัส สิมะเสถียรกมลชนก เขมะโยธินกรพจน์ อัศวินวิจิตรกรรณิกา ธรรมเกษรกฤษติกา คงสมพงษ์กัญญาวีร์ สองเมืองกั๊กกะกาวน์กาญจน์คนึง เนตรศรีทองกำจัดจุดอ่อนกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์กิ่งฉัตรกนก รัตน์วงศ์สกุลก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ฐปณีย์ เอียดศรีไชยฝัน-หวาน-อาย-จูบภราดร ปริศนานันทกุลภาษิต อภิญญาวาทภาณุ อุทัยรัตน์ภิกษุณีธัมมนันทาภีรนีย์ คงไทยมยุริญ ผ่องผุดพันธ์...มหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มารุต สาโรวาทมาลี บุญศิริพันธ์มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์มือปืน/โลก/พระ/จันมีสุข คุณดิลกชัยพัฒน์มทิรา ตันติประสุตมติชนยุวนาถ อาระยานิมิตสกุลยุทธนา มุกดาสนิทยงยุทธ ติยะไพรัชรมิดา ธีรพัฒน์รสนา โตสิตระกูลระเบียบรัตน์ พงษ์พานิชรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์รังสิต ศิรนานนท์รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีการายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทยราณี แคมเปนรางวัลรามอน แมกไซไซรางวัลศรีบูรพาราเชนทร์ ลิ้มตระกูลรินลณี ศรีเพ็ญฤๅชนก มีแสงลิขิต ธีรเวคินวรพงษ์ สง่าเนตรวรัทยา นิลคูหาวารินทร์ วงศ์หาญเชาว์วาสนา นาน่วมวิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุลวิชา มหาคุณวิมล เจียมเจริญวิรัช อยู่ถาวรวิศาล ดิลกวณิชวิทยา วสุไกรไพศาลวิทยากร เชียงกูลวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทย์ รายนานนท์วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์วิเชียร ชวลิตวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์วุฒิสภาวีระ ธีรภัทรวงศ์รวี นทีธรวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ศักดิ์สยาม ชิดชอบศาลรัฐธรรมนูญศาสตราจารย์ศิลปินแห่งชาติศุภรัตน์ นาคบุญนำสกาวใจ พูนสวัสดิ์สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)สม จาตุศรีพิทักษ์สมบัติ จันทรวงศ์สมชาย กรุสวนสมบัติสมศักดิ์ ปริศนานันทกุลสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สรรพสิริ วิรยศิริสวัสดิ์ ตันตระรัตน์สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดลสังศิต พิริยะรังสรรค์สันติ ทักราลสารัช อยู่เย็นสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสุชาติ สวัสดิ์ศรีสุชาติ ธาดาธำรงเวชสุพัตรา มาศดิตถ์สุฐิตา ปัญญายงค์สุภา ศิริมานนท์สุภิญญา กลางณรงค์สุรินทร์ พิศสุวรรณสุวินัย ภรณวลัยสุจิรา อรุณพิพัฒน์สุขวิช รังสิตพลสุขุม นวลสกุลสุณิสา เลิศภควัตสุเนตร ชุตินธรานนท์สถาบันพระปกเกล้าสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยสถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ดหม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหนึ่งธิดา โสภณอภัย จันทนจุลกะอภิชาต การิกาญจน์อภิชาติ ดำดีอภิภู สุนทรพนาเวศอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรวิภา กนกนทีสวัสดิ์อริสรา กำธรเจริญอริสรา ทองบริสุทธิ์อรินทร์มาศ บุญครองทรัพย์อรจิรา แหลมวิไลอลงกรณ์ พลบุตรอสมทออกัสอัญชสา มงคลสมัยอัมมาร สยามวาลาอัทธนียา เอี่ยมวสันต์อิศริยา สายสนั่นอุไรวรรณ เทียนทองอธิการบดีอีเอฟเอ็ม 104.5อดิศักดิ์ ไกรษรอดุล วิเชียรเจริญอนันต์ อนันตกูลฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นฌอห์ณ จินดาโชติผัน จันทรปานผู้บัญชาการทหารผู้หญิงถึงผู้หญิงผู้ประกาศข่าวจรัญ มะลูลีมจรัล ดิษฐาอภิชัยจิรายุ ห่วงทรัพย์จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์จีจ้า ดื้อสวยดุจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูลธัญญาเรศ เองตระกูลธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ธีรภัทร์ สัจจกุลธีรยุทธ บุญมีธีระชัย แสนแก้วธงชัย วินิจจะกูลธนษิต จตุรภุชธนากร โปษยานนท์ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจธนาคารกรุงเทพธนาคารแห่งประเทศไทยธนาคารโลกธเนศ วงศ์ยานนาวาทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8ทวีศักดิ์ กออนันตกูลทักษิณ ชินวัตรทีเอ็นเอ็น24ฑิฆัมพร ฤทธิ์ธาอภินันท์ณฐนนท ทวีสินณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ณัฐชา สวัสดิ์รักเกียรติดิเรก ชัยนามดนัย จิราครอบครัวข่าว 3ความสุขของกะทิ (ภาพยนตร์)คำสิงห์ ศรีนอกคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะองคมนตรีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนเดือนตุลาค่ายฝึกเขาชนไก่งามพรรณ เวชชาชีวะตะวันทอแสงต่อพงษ์ ไชยสาส์นฉัตรชัย ดุริยประณีตประชากร ปิยะสกุลแก้วประมวล รุจนเสรีประจวบ ไชยสาส์นประทิน สันติประภพประเทศฟิลิปปินส์ปรัชญา เวสารัชช์ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุลปริศนา กัมพูสิริปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ปวีณา ตันฑ์ศรีสุโรจน์ปัณฑพล ประสารราชกิจปาลิตา โกศลศักดิ์ปานระพี รพิพันธุ์ปิยวดี มาลีนนท์ปตท.ป๋วย อึ๊งภากรณ์นพดล เฮงเจริญนริศ ชัยสูตรนรนิติ เศรษฐบุตรนลิน โฮเลอร์นักวิจัยดีเด่นแห่งชาตินันทิดา แก้วบัวสายนายกรัฐมนตรีนางสาวไทยนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัยนินนาท ชลิตานนท์นงเยาว์ ชัยเสรีน้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์แบล็ควานิลลาแอน ทองประสมโชคทวี พรหมรัตน์โพลีพลัสโลกทั้งใบให้นายคนเดียวโสภณ พรโชคชัยโน้ต-ตูนไชยรัตน์ เจริญสินโอฬารไพโรจน์ สุวรรณฉวีไตรรงค์ สุวรรณคีรีเบญจา หลุยเจริญเชาวน์ สายเชื้อเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรมเกษม ศิริสัมพันธ์เกษียร เตชะพีระเมธี ครองแก้วเรวัต พุทธินันทน์เสกสรรค์ ประเสริฐกุลเสริมศักดิ์ พงษ์พานิชเสรี วงษ์มณฑาเสรีไทยเสาวลักษณ์ ลีละบุตรเสนาะ อูนากูลเสน่ห์ จามริกเหตุการณ์ 14 ตุลาเอมี่ กลิ่นประทุมเอนก เหล่าธรรมทัศน์เผ่าทอง ทองเจือเจริญจิตต์ ณ สงขลาเจิมศักดิ์ ปิ่นทองเขมรัชต์ สุนทรนนท์เขมิศรา พลเดชเข็มอัปสร สิริสุขะเดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8เตือนใจ ดีเทศน์เฉลียง (วงดนตรี)เนชั่นทีวี6.66 ตายไม่ได้ตาย ขยายดัชนี (246 มากกว่า) »

ชมพูนุช ตัณฑเศรษฐี

มพูนุช สุวรรณบุปผา หรือชมพูนุช ตัณฑเศรษฐี ชื่อเล่น เจ็ม เกิดวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2523 ที่จังหวัดเชียงใหม่ จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์วิชาเอกสื่อสารและมวลชน มหาวิทยาลัยพายัพ และระดับปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เริ่มทำงานเป็นผู้ประกาศข่าวที่สถานีโทรทัศน์ไอทีวี นั่งอ่านในห้องข่าวร่วมกับ "เทพชัย หย่อง" ทำข่าวนอกสถานที่และอ่านข่าวในพระราชสำนัก ปลายปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชมพูนุช ตัณฑเศรษฐี · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

ตราจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำและหัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชัยวัฒน์ สถาอานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

บัวชมพู ฟอร์ด

ัวชมพู ฟอร์ด เป็นนักร้อง และนักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการจากการเป็นพิธีกรรายการ "ทีนทอล์ค (Teen Talk)" และได้แสดงละครโทรทัศน์ ก่อนจะมาเป็นศิลปินในสังกัดMusic Cream ในเครือแกรมมี่ มีผลงานเพลงที่สร้างชื่อเสียงได้แก่เพลง อยากทำให้ฉันรักเธอ, ลม, วงกลม, แค่อยากจะบอก, ฉันคนเก่า, ดอกไม้ในใจเธอ, ให้โอกาสได้ไหม และเพลง Sunshine Day เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบัวชมพู ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชาญวิทย์ เกษตรศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ชาคริต บัวทอง

ริต บัวทอง เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ในไทยลีก 2 ตำแหน่ง ปีก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชาคริต บัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

บางจาก คอร์ปอเรชัน

ริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (Bangchak Corporation Public Company Limited ชื่อย่อ: บางจาก, BCP) (ชื่อเดิมคือ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (Bangchak Petroleum Public Company Limited))เป็นบริษัทมหาชนในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 โดยมติคณะรัฐมนตรีไทย จัดตั้งเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มีหน้าหลักคือดำเนินการกลั่นและผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงในประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2544 กระทรวงการคลังลดสัดส่วนการถือหุ้นลง ส่งผลให้ บม.บางจากปิโตรเลียม สิ้นสภาพการเป็นรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ปัจจุบันบริษัทสามารถผลิตน้ำมันได้ 120,000 บาร์เรลต่อวัน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2560 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นใหญ่ประจำปี 2560 ของบริษัท ได้มีมติให้เปลี่ยนชื่อบริษัทไปเป็นชื่อปัจจุบันดั่งที่ปรากฏด้านบน โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นการรองรับการที่บริษัทต้องการขยายธุรกิจในอนาคต อันหมายถึงการขยายธุรกิจเดิมที่มีอยู่ให้มากกว่าเดิมและต่อเนื่อง ประกอบกับการริเริ่ม ต่อยอดและส่งเสริมธุรกิจต่างๆ เช่นธุรกิจที่สนับสนุนธุรกิจหลักที่มีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงานขั้นสูง รวมไปถึงธุรกิจชีวภาพ และธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติที่ประกอบด้วยการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมอีกด้วย ซึ่งจากเดิมที่บริษัทมีกลุ่มธุรกิจเพียง 3 กลุ่มเท่านั้น (ประกอบไปด้วย กลุ่มธุรกิจน้ำมัน กลุ่มธุรกิจตลาด และกลุ่มธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ เป็นต้น).

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบางจาก คอร์ปอเรชัน · ดูเพิ่มเติม »

ชิบ จิตนิยม

ตนิยม เป็นเจ้าของรายการ จับกระแสโลก รองจากคุณสุทธิชัย หยุ่น ทางสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี หลังจากนั้นก็ลาออกมาอยู่ที่ช่อง 7 ปัจจุบันเป็นผู้ประกาศข่าวร่วม ช่วง เป็นข่าวเพื่อนบ้านกับเอเชียคอนเน็ค ในข่าวชาวบ้าน วันจันทร์-วันอาทิตย์ ทางช่อง 3 เอสดี และ ผู้ประกาศข่าว ช่วง World Connect ใน Weekend Life วันเสาร์-วันอาทิตย์ ทาง ช่อง 3 แฟมิลี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชิบ จิตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์

นางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2524 —) ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ็ม ลิงก์ เอเชีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นบุตรสาวของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี กับนางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ อดีตแกนนำพรรคไทยรักไทย และยังเป็นหลานสาวของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กับนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที่ 28 ของไทย ปัจจุบันศึกษาปริญญาเอก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบุญชู โรจนเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

บุษบา ดาวเรือง

ษบา ดาวเรือง (ชื่อเล่น เล็ก) เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบุษบา ดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

บุษกร วงศ์พัวพันธ์

ษกร วงศ์พัวพันธ์ หรือ บุษกร พรวรรณะศิริเวช ชื่อเล่นว่า "หน่อย" เกิดวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513 เป็นนักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบุษกร วงศ์พัวพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

บีไฟว์

​บี​ไฟว์​ (B5) ​เป็นชื่อของโปรเจกต์พิเศษที่ตั้งขึ้นโดยบอย โกสิยพงษ์ วง 5 คนที่ประกอบด้วยศิลปินเลือดใหม่ของเบเกอรี่มิวสิก ในขณะนั้นเพื่อทำอัลบั้มพิเศษเป็นการแนะนำตัว​ก่อนแต่ละคนจะแยกย้ายกันไปออกอัลบั้มเดี่ยวต่อไป​แต่ละคนจะมีความสามารถอย่างเดียวกัน คือการร้องเพลง​ ยกเว้นศักดิ์สิทธิ์ เวชสุภาพร ทายาทแกรนด์เอกซ์​ที่มีความสามารถเด่นทางด้านการเล่นเปียโน​.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบีไฟว์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนันภรณ์ รสจันทน์

นันภรณ์ รสจันทน์ (เกิด 8 มีนาคม 2525) ส่วนสูง 170 ซม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชนันภรณ์ รสจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนาธิป สรงกระสินธ์

ตำรวจตรี ชนาธิป สรงกระสินธ์ หรือเป็นที่รู้จักในฉายา เมสซี่เจ เกิดวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2536 เป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอล คอนซาโดเล่ ซัปโปโร สโมสรในลีกญี่ปุ่นหรือเจลีก ยืมตัวใช้งานด้วยสัญญา 1 ปี 6 เดือน ชนาธิปเริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นนักเตะที่อายุน้อยที่สุดที่วินเฟรด เชเฟอร์ เรียกตัวเข้าไปร่วมการแข่งขัน เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 ในฐานะตัวแทนทีมชาติไทยชุดใหญ่ ได้ตำแหน่งรองแชมป์ ก่อนที่สองปีต่อมา จะพาทีมคว้าแชมป์ได้สำเร็จในรายการเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014 และคว้าแชมป์อีกครั้งเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2016 โดยได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมจากสองครั้งหลังสุด ทั้งนี้ ชนาธิปยังเป็นกำลังสำคัญของผู้เล่นทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี คว้าเหรียญทองในการแข่งขัน ซีเกมส์ 2013 ที่พม่า และซีเกมส์ 2015 ที่สิงคโปร์ รวมถึงคว้าอันดับ 4 ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2014 ที่เกาหลีใต้ ด้วยการมีรูปร่างที่เล็ก แต่มีทักษะฟุตบอลที่ดี มีความคล่องแคล่ว ปราดเปรียว มีความเข้าใจเกมสูง ชนาธิปจึงได้รับฉายาว่า เมสซี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชนาธิป สรงกระสินธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าเดียวกัน

ฟ้าเดียวกัน เป็นวารสารราย 3 เดือน ที่นำเสนอการเคลื่อนไหวทางสังคม ในรูปแบบของขบวนการประชาชนและทางความคิด ฉบับแรกวางแผงเมื่อต้นปี พ.ศ. 2546 พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน โดยมี ธนาพล อิ๋วสกุล เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ในบทสัมภาษณ์ ลงนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ธนาพล อิ๋วสกุลกล่าวว่า "สังคมไทยในปัจจุบันเติบโตเปิดกว้างจนมาถึงจุดที่ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของประชาชนซึ่งพยายามจะเสนอ 'ทางเลือก/ทางออก' ให้สังคม และความคิดความเห็นที่แตกต่างสวนทางกับความคิดความเชื่อกระแสหลัก ก็พอจะมีที่มีทางอยู่บ้างในพื้นที่สาธารณ...แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า การเคลื่อนไหวต่อต้านท้าทายสภาวะสังคมจะสามารถลงรากปักฐานได้อย่าง มั่นคง ซ้ำยังมีแนวโน้มที่จะถูกตอบโต้ทำลาย หรือไม่ก็ถูกผนวกกลืนเข้าไปเป็นลูกไล่อยู่ในโครงสร้างเดิม..." เว็บไซต์ฟ้าเดียวกันถูกกล่าวหาว่ามีเนื้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เคยถูกปิดกั้นให้เข้าถึงไม่ได้เมื่อวันที่ 4 มกราคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฟ้าเดียวกัน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมหาชน

รรคมหาชน (Mahachon Party ตัวย่อ: MCP. พมช.) เป็นพรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 โดยใช้ชื่อว่า "พรรคราษฎร" และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคมหาชน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็นพรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากพรรคประชาธิปัตย์ มีจำนวนสมาชิกกว่า 1.18 ล้านคน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพรรคมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต

ระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต (นครไธสง) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนาม "พระมหาสมปอง" เป็นพระนักเทศน์ชื่อดังอีกท่านหนึ่งของเมืองไทย ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2521 และบรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุสงฆ์ เมื่อ พ.ศ. 2541 ปัจจุบันพระมหาสมปองจำพรรษาอยู่ที่วัดสร้อยทอง (พระอารามหลวง) กรุงเทพมหานคร พระมหาสมปอง เป็นพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนารุ่นใหม่ และนักบรรยายธรรมที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และเป็นนักเขียนที่ผลิตผลงานและหนังสือออกมาอย่างสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน จนได้รับพิจารณาให้ได้รับรางวัลนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากองค์กรต่าง ๆ มากมาย เช่นรางวัลพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีฯ ในงานสัปดาห์พระพุทธศาสนาวิสาขบูชาประจำปี 2551 เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พริมรตา เดชอุดม

ริมรตา เดชอุดม หรือ จ๊ะจ๋า เกิดเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 ที่ กรุงเทพมหานคร เป็นนักแสดง ชาวไทย แจ้งเกิดจากผลงานละคร น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา โรงเรียนประภามนตรี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจบการศึกษาระดับปริญญาโทจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านชีวิตส่วนตัวคบหาดูใจกับ วสุ แสงสิงแก้ว หรือ จิ๊บ ร..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพริมรตา เดชอุดม · ดูเพิ่มเติม »

พล ตัณฑเสถียร

ล ตัณฑเสถียร นายแบบ, นักแสดง, นักร้อง และคอลัมนิสต์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2514 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผลงานการแสดงที่ขึ้นชื่อเช่น คู่กรรม เมื่อปี พ.ศ. 2539 ปัจจุบันได้ผันตัวเองไปเป็นเชฟและเปิดร้านอาหารของตัวเองที่ชื่อว่า Spring & Summer สุขุมวิท ซอย 39 และร้านอาหาร Wicked สยามสแควร์วันในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพล ตัณฑเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

พัชญา เพียรเสมอ

ัชญา เพียรเสมอ ชื่อเล่น พีพี เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อ วันศุกร์ ที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพัชญา เพียรเสมอ · ดูเพิ่มเติม »

พัฑฒิดา วงศ์โฆษวรรณ

ัฑฒิดา วงศ์โฆษวรรณ (ชื่อเล่น: มิน หรือ มีน) เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2534 นักร้องและนักแสดง ชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพัฑฒิดา วงศ์โฆษวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พาทิศ พิสิฐกุล

ทิศ พิสิฐกุล หรือ ไผ่ ชื่อจริงว่า สิทธ์ ตันติพิสิฐกุล เกิดวันศุกร์ที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพาทิศ พิสิฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิภู พุ่มแก้ว

ู พุ่มแก้วกล้า (ชื่อเล่น: ต๊ะ) อดีตดีเจ ทางคลื่นซี้ด 97.5 FM เคยเป็น ผู้ประกาศข่าว ของสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี และ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ ปัจจุบันเป็นพนักงานประจำของสำนักข่าว The Standard โดยมีงานหลักคือ ผู้ประกาศข่าว รายการ The Standard Dailyhttps://thestandard.co/tha-pipoauh-poomkaewkla/.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพิภู พุ่มแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พุ่มพวง (ภาพยนตร์)

มพวง (The Moon) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพุ่มพวง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พงศธร จงวิลาส

งศธร จงวิลาส ชื่อเล่น: บอย (เผือก เป็นชื่อที่อาจารย์ตั้งให้สมัยป.5) เป็นดีเจ นักแสดงชาวไทย จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นเพื่อนสนิทของ โบ ธนากร ชินกูล ตั้งแต่เรียนชั้นประถมศึกษา ปัจจุบันเป็นดีเจอยู่ที่ 94 อีเอฟเอ็ม และเป็นพนักงานบริษัทโฆษณา Y&R (ครีเอทีฟ) มีผลงานเรื่องแรกคือ ภาพยนตร์ กั๊กกะกาวน์ และผลงานล่าสุด คือ ภาพยนตร์ เรื่อง มิสเตอร์เฮิท มือวางอันดับเจ็บ รับบท จิมมี่ (Jimmy the rocket).

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพงศธร จงวิลาส · ดูเพิ่มเติม »

พนัส สิมะเสถียร

ตราจารย์ พนัส สิมะเสถียร เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพนัส สิมะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

กมลชนก เขมะโยธิน

กมลชนก โกมลฐิติ เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2510 เป็นนักแสดง พิธีกร นางแบบและนักร้องชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากบทบาทอังศุมาลิน ในละครเรื่อง คู่กรรม ที่แสดงนำร่วมกับ ธงไชย แมคอินไต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกมลชนก เขมะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

กรพจน์ อัศวินวิจิตร

กรพจน์ อัศวินวิจิตร อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกรพจน์ อัศวินวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

กรรณิกา ธรรมเกษร

กรรณิกา ธรรมเกษร ชื่อเล่น แอ้ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นผู้ประกาศข่าว นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกรรณิกา ธรรมเกษร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษติกา คงสมพงษ์

รองศาสตราจารย์ กฤษติกา คงสมพงษ์ ที่ปรึกษาสมาคมแม่บ้านทหารบกสาขากองทัพภาคที่ 1, อาจารย์ประจำสาขาการตลาด สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อาจารย์พิเศษสาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตพิธีกรรายการกำจัดจุดอ่อนทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และรายการลูกใครหว่า อีกทั้งได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรอยู่บ่อยครั้ง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฤษติกา คงสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กัญญาวีร์ สองเมือง

กัญญาวีร์ สองเมือง (เกิด 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2539) ชื่อเล่น ต้าเหนิง เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากซีรีส์ "ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น".

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกัญญาวีร์ สองเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กั๊กกะกาวน์

นตร์เรื่อง กั๊กกะกาวน์ นำเสนอผ่านมุมมองที่ 'เข้าถึง' ความรู้สึกของ 'ความเหงา' ที่วัยรุ่นและใครหลายๆ คนต้องเผชิญ การตั้งคำถามกับ 'ชีวิต' และ 'ความรัก' ผ่านตัวละคร ป่าน (เจ้นท์ - พัชรา บูรณะวิมลวรรณ) น.แพทย์ ชั้นปี 4 ที่กำลังตามหาว่าจริงๆ แล้ว ชีวิตในแต่ละวันนั้น เธออยู่เพื่ออะไร - ท่ามกลางความเหงานั้น เธอรอคอยอะไร หรือใครบางคนอยู...

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกั๊กกะกาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

กาญจน์คนึง เนตรศรีทอง

กาญจน์คณึง เนตรศรีทอง (มีน) เป็นนักร้อง นักแสดง กาญจน์คณึง เนตรศรีทอง เกิดวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักร้องชาวไทย จากรายการเรียลลิตี้โชว์ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 7 มีรหัสประจำตัวคือ V1 ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สถาบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาวิชา คณะศิลปกรรมศาสตร์ การละคร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกาญจน์คนึง เนตรศรีทอง · ดูเพิ่มเติม »

กำจัดจุดอ่อน

กำจัดจุดอ่อน (Weakest Link) คือรายการควิซโชว์ ออกอากาศครั้งแรกในสหราชอาณาจักรทางช่อง BBC Two และ BBC One เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ออกแบบรายการโดย ฟินตัน คอยล์ (Fintan Coyle)และ เคธี ดันนิง (Cathy Dunning) พัฒนาเพื่อการออกอากาศโดย บีบีซี เอนเทอร์เทนเมนท์ เป็นรายการที่ถอดแบบมาดำเนินรายการในรูปแบบภาษาต่าง ๆ ทั่วโลก ถูกเรียกว่า "เกมโชว์แบบเรียลลิตี้" เพราะมีลักษณะคล้ายเรียลลิตี้โชว์ และเป็นรากฐานแห่งเรียลลิตี้โชว์ในปัจจุบัน ในสหราชอาณาจักร ดำเนินรายการโดย แอนน์ รอบินสัน (Anne Robinson) โดยในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ออกอากาศเป็นตอนที่ 1,000 ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 ออกอากาศตอนสุดท้.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกำจัดจุดอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์

นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งฉัตร

กิ่งฉัตร เป็นนามปากกาของ ปาริฉัตร ศาลิคุปต (1 มกราคม พ.ศ. 2511-) เป็นธิดาของ พล.ร.อ.วิเชียร และ องุ่น ศาลิคุปต กิ่งฉัตรเริ่มอ่านหนังสือตั้งแต่เรียนมัธยมต้น รักการอ่านและอ่านหนังสือได้แทบทุกประเภท จึงเกิดความรู้สึกอยากจะเขียนหนังสือให้ผู้อื่นอ่าน และมีอารมณ์ร่วมทั้งหัวเราะและร้องไห้ไปกับตัวละคร อย่างที่ตัวเองเคยรู้สึกเคยสัมผัสบ้าง จึงเริ่มต้นเขียนเรื่องสั้นเวียน ให้เพื่อนฝูงในชั้นอ่านก่อน พอขึ้นปี 2 ในมหาวิทยาลัย ก็เริ่มมีบทความลงในหนังสือพิมพ์บางฉบับ และนิตยสารอีกหลายเล่ม เช่น สตรีสาร แพรวสุดสัปดาห์ ขวัญเรือน กระทั่งเรียนมหาวิทยาลัยปีสุดท้ายจึงได้เริ่มต้นเขียนนวนิยายเรื่องยาวเรื่องแรก คือ พรพรหมอลเวง โดยอาศัยนิสัยใจคอเพื่อนสนิทมาเป็นตัวเอกของเรื่อง กิ่งฉัตรมีสิ่งที่ยึดในการทำงาน คือ เขียนหนังสือตามใจคนเขียนเป็นหลัก เพราะถือว่าคนเขียนเป็นคนอ่านคนแรก ถ้าอ่านแล้วสนุก คนอ่านส่วนหนึ่งที่มีชอบเรื่องในแนวเดียวกันก็คงสนุกด้วย เขียนในสิ่งที่ชอบที่ถนัด และเขียนด้วยใจรักการทำงาน กิ่งฉัตรเคยมีนามปากกาในการเขียนเรื่องสั้นว่า "ทองหลางลาย" แต่ พอเขียนเรื่องยาวก็ได้ใช้ "กิ่งฉัตร" มาตลอด นามปากกานี้มาจากชื่อจริงตัวสุดท้าย คือ "ปาริฉัตร" ส่วนกิ่งนี่เธอบอกว่าเหมือนกับกิ่งก้านสาขาที่แยกออกมาจากต้น คือ เวลาเขียนหนังสือจะรู้สึกว่าไม่ใช่ตัวเอง นอกจากผลงานนิยายแนวรักโรแมนติกที่กิ่งฉัตรถนัดแล้ว เธอยังมีผลงานนิยายแนวสืบสวนสอบสวนและแฟนตาซีในนามปากกา อลินา อีกด้วย แล้วยังมีศักดิ์เป็นน้าของ เพลิง พลภัคค์ วัชรพงศ์หิรัญ นักแสดงสังกัด ช่องวัน อีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกิ่งฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

กนก รัตน์วงศ์สกุล

กนก รัตน์วงศ์สกุล เป็นรองกรรมการผู้อำนวยการส่วนงานผู้ประกาศข่าว บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) มีชื่อเสียงจากหน้าที่พิธีกรข่าวหลัก ในรายการเก็บตกจากเนชั่น นอกจากนั้น ยังเป็นพิธีกรในหลายรายการโทรทัศน์และวิทยุ, นักเขียนหนังสือ และคอลัมนิสต์นิตยสาร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกนก รัตน์วงศ์สกุล · ดูเพิ่มเติม »

ก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์

ก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ เป็นนายกสมาคมกีฬาหมากล้อมแห่งประเทศไทย และเป็นประธานสมาคมหมากล้อมจีนโลก รวมถึงเป็นประธานกรรมการบริหารบริษัทซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ก่อศักดิ์ได้รับการกล่าวว่า เป็นผู้นำหมากล้อมมาเผยแพร่ในประเทศไทยอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นผู้ได้รับมอบเกียรติบัตรหมากล้อมระดับฝีมือ 6 ดั้ง จากสมาคมหมากล้อมคันไซ คิอิน ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ เขายังเป็นผู้เขียนคำนำและแสดงแนวคิดต่อนิยายกำลังภายในหลายเล่ม รวมถึงเป็นประธานชมรมไทยรักนาฬิก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐปณีย์ เอียดศรีไชย

นางสาวฐปนีย์ เอียดศรีชัย ผู้ประกาศข่าวภาคสนามรายการข่าว 3 มิติ ทางไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฐปณีย์ เอียดศรีไชย · ดูเพิ่มเติม »

ฝัน-หวาน-อาย-จูบ

ฝัน-หวาน-อาย-จูบ หรือ 4 Romance เป็นโครงการภาพยนตร์ไทย ที่รวมเรื่องราว 4 ความรัก 4 รูปแบบ สร้างโดยสหมงคลฟิล์มอินเตอร์เนชั่นแนลและบาแรมยู กำกับโดยผู้กำกับ 4 คนคือ ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล (ฝัน), ปรัชญา ปิ่นแก้ว (หวาน), บัณฑิต ทองดี (อาย) และ ราเชนทร์ ลิ้มตระกูล (จูบ) โดยมีรูปแบบ เรื่องราว วิธีเล่า และแนวความคิดที่ผ่านผู้กำกับแต่ละคน ทั้งรูปแบบมิวสิกคัล,ดราม่า,คอมิดี้,แอ็คชั่น ฯลฯ โดยมีวงออกัสมาร้องเพลงประกอบ ภาพยนตร์มีกำหนดออกฉายวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ด้วยจำนวนโรงฉาย 95 โรง ทำเงินในสัปดาห์แรกที่ 14,718,104.79 บาท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฝัน-หวาน-อาย-จูบ · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ปริศนานันทกุล

ราดร ปริศนานันทกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภราดร ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษิต อภิญญาวาท

ษิต อภิญญาวาท ผู้ประกาศข่าว ในรายการเที่ยงวันทันเหตุการณ์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อสมท และอดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภาษิต อภิญญาวาท · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุ อุทัยรัตน์

นายกองเอกภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อดีตเลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรรมการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยอดีตที่ปรึกษาด้านความมั่นคง(เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน10 ชช) สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย และเป็นเลขาธิการคนแรกของ ศอ.บต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภาณุ อุทัยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุณีธัมมนันทา

กษุณีธัมมนันทา ชื่อเดิม รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภิกษุณีธัมมนันทา · ดูเพิ่มเติม »

ภีรนีย์ คงไทย

ีรนีย์ คงไทย ชื่อเล่น แมท (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2532) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-นอร์เวย์ โดยบิดาเป็นชาวนอร์เวย์ มารดาเป็นชาวไทย เดิมใช้นามสกุล วงศ์ดารา มีชื่อเสียงจากผลงานการแสดงทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภีรนีย์ คงไทย · ดูเพิ่มเติม »

มยุริญ ผ่องผุดพันธ์

มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ ชื่อเล่น กิ๊ก เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ระดับปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมตะวันตก สาขาภาษาเยอรมัน ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวารสารและสารสนเทศ ที่ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เธอมีผลงานการแสดงที่ส่วนใหญ่รับบทเป็นนางร้ายในระยะแรก ๆ และรับบทเป็นเพื่อนนางเอกในระยะต่อมา จากนั้นจึงเริ่มผันมารับบทดีสลับไปด้วย ซึ่งก็ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดี โดยเฉพาะบทบาทในซิตคอมเรื่อง เป็นต่อ ทำให้เป็นที่จดจำของคนดูส่วนใหญ่ ปัจจุบันเป็นนักแสดงอิสระ ที่ได้รับการยอมรับด้านฝีมือการแสดงและมีผลงานการแสดงหลากหลายบทบาท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมยุริญ ผ่องผุดพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2528 เปิดสอนหลากหลายหลักสูตร ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากเป็นลำดับต้นๆของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีจำนวนศิลปินดาราศึกษาอยู่เป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) หรือนิยมเรียก มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองแมดิสัน ในรัฐวิสคอนซิน มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848) ในปัจจุบัน (ปี 2548 เทอมฤดูใบไม้ร่วง) มีนึกศึกษาทั้งหมด 41,480 คน ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน มีนักศึกษามากเป็นอันดับ 10 ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน มีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ในตัวเมืองโดยด้านหลังมหาวิทยาลัยเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ และด้านหน้ามหาวิทยาลัยเป็นถนนชื่อสเตต เป็นแหล่งชอปปิงชื่อดังของเมืองแมดิสัน ภาพในมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ด้านหลังเป็นตึกแคปิตอลของรัฐวิสคอนซิน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร โดยมี "หอการค้าไทย" เป็นเจ้าของ และได้รับการยอมรับว่าเป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจในประเทศไทย ประกอบด้วย 9 คณะ ได้แก่ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะนิเทศศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และคณะการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ รวมถึง 2 วิทยาลัย ได้แก่ วิทยาลัยผู้ประกอบการ และวิทยาลัยนานาชาติ โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมทั้งหลักสูตรนานาชาต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มารุต สาโรวาท

มารุต สาโรวาท (เกิด 1 กุมภาพันธ์ 2500).

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมารุต สาโรวาท · ดูเพิ่มเติม »

มาลี บุญศิริพันธ์

รองศาสตราจารย์ มาลี บุญศิริพันธ์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย อดีตคณบดีคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์มาลี บุญศิริพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2491 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เข้าศึกษาระดับอุดมศึกษา ในแผนกอิสระวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในปัจจุบัน) จบการศึกษาในปี พ.ศ. 2512 จึงเข้าทำงานในตำแหน่งประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2513 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2514 ทางคณะวารสารศาสตร์ฯ ขอตัวไปเป็นอาจารย์ประจำ หลังจากนั้นจึงเดินทางไปศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา โดยได้รับทุนของรัฐบาลแคนาดา หลังจากจบปริญญาโท ได้อบรมด้านเทคนิคการสอนวารสารศาสตร์ ที่ Tomson Foundation ประเทศอังกฤษ เป็นเวลา 3 เดือนเศษ แล้วต่อด้วยการอบรมด้านการทำหนังสือพิมพ์ที่ประเทศเยอรมนี จากนั้นจึงเดินทางกลับสู่เมืองไทย และเป็นอาจารย์ประจำคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ตราบจนปัจจุบัน มีผลงานมากมาย ทั้งงานเขียนและงานวิจัย งานด้านวิชาการเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และเป็นกรรมการกำกับมาตรฐานการศึกษา ในมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชนหลายแห่ง รองศาสตราจารย์มาลี บุญศิริพันธ์ เข้ารับตำแหน่ง คณบดีคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 และในปัจจุบัน ได้ปฏิบัติงานในตำแหน่งคณบดี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ด้วยกลวิธีการจัดการเรียนการสอน ลีลาการออกข้อสอบ การตัดเกรด รวมทั้งบรรยากาศภายในชั้นเรียนที่กดดันนักศึกษาแบบไม่เหมือนใคร ทำให้ ร.มาลี บุญศิริพันธ์ เป็นที่เลื่องลือในหมู่นักศึกษาคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักศึกษาระดับปริญญาโท แต่ถ้าอยู่นอกบรรยากาศของห้องเรียนแล้ว เป็นที่ทราบกันดีเช่นกันว่าร.มาลีเป็นอาจารย์ที่ใจดีมาก และที่ต้องกดดันนักศึกษานั้น เพราะต้องการให้นักศึกษาเป็นนักสื่อสารมวลชนที่มีคุณภาพ ร.มาลี บุญศิริพันธ์ ถือว่าเป็นคัมภีร์ทางด้านวารสารศาสตร์ที่สำคัญอีกคนหนึ่งของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เช่นเดียวกับ อ.สุภา ศิริมานนท์ และ อ.ประชัน วัลลิโก เป็นที่ทราบกันดีว่า ร.มาลี บุญศิริพันธ์ มีความเชี่ยวชาญทางด้านสื่อสารมวลชนเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะความรู้ทางด้านสื่อสิ่งพิมพ์ เพราะได้เขียนตำราทางวิชาการมากมาย และได้อ้างอิงข้อมูลจากคณาจารย์ในหนังสือทางด้านสื่อสารมวลชนอยู่เสมอ และยังไม่รวมถึงงานวิจัยจำนวนมากที่เป็นประโยชน์ต่อวงการสื่อสารมวลชน นอกจากนี้ ร.มาลี บุญศิริพันธ์ ยังได้รับเชิญไปเป็นวิทยากร กรรมการประจำสมาคม-หน่วยงานต่างๆ รวมถึงเป็นผู้ตัดสินรางวัลทางด้านสื่อสารมวลชนอยู่เสมอ เช่น -กรรมการกำกับมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาเอกชน สาขานิเทศศาสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัย - ที่ปรึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิโครงการนำร่องความปลอดภัยบนถนนด้านการให้ความรู้และการวาง แผนการ รณรงค์สร้างจิตสำนึกความปลอดภัยของบริษัท SWEROAD และกระทรวงคมนาคม ฯลฯ - ประธานคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - รองประธานกรรมการและประธานอนุกรรมการฝ่ายวิชาการโครงการบัญญัติศัพท์ วิชาการ หนังสือพิมพ์ - ที่ปรึกษาโครงการรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจรเด็กและเยาวชน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวง คมนาคม - ประธานกรรมการจัดสัมมนาระหว่างประเทศร่วมกับมหาวิทยาลัยแดนเบอร์ร่า ประเทศออสเตรเลีย - กรรมการสภาอาจารย์ (2 สมัย) - อนุกรรมการประชาสัมพันธ์คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ - กรรมการจรรยาบรรณวิชาชีพหนังสือพิมพ์ สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมาลี บุญศิริพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์

มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ เป็นการประกวดนางงามในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2543 โดยใช้ชื่อว่ามิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส และมีพลากร สมสุวรรณ เป็นผู้จัดการกองประกวด โดยดำเนินการจัดประกวดในนามสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ‪โดยมีสุรางค์ เปรมปรีดิ์ เป็นผู้อำนวยการประกวดและประธานองค์กร เพื่อคัดเลือกตัวแทนของประเทศไทยเข้าประกวดนางงามจักรวาล (Miss Universe) ตั้งแต่ปีใน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มือปืน/โลก/พระ/จัน

มือปืน โลก/พระ/จัน เป็นภาพยนตร์แอคชั่น ดรามา ตลก ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมือปืน/โลก/พระ/จัน · ดูเพิ่มเติม »

มีสุข คุณดิลกชัยพัฒน์

มีสุข คุณดิลกชัยพัฒน์ นามสกุลเดิม แจ้งมีสุข พิธีกรรายการโทรทัศน์ผู้หญิงถึงผู้หญิง ทางช่อง 3 เกิดเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2516 ที่กรุงเทพ โดยมีชื่อแรกเกิดว่า ชินนา แจ้งมีสุข.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมีสุข คุณดิลกชัยพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

มทิรา ตันติประสุต

มทิรา ตันติประสุต (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539) ชื่อเดิมว่า ทิชา ตันติประสุต ชื่อเล่นว่า แยม เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาทเจ้าหญิงสุวิญชาในละครจักร ๆ วงศ์ ๆ เรื่อง ไชยเชษฐ์ เมื่อปี 2555 ต่อมาได้เข้าเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 3 จนปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมทิรา ตันติประสุต · ดูเพิ่มเติม »

มติชน

ริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) (Matichon Public Company Limited) เป็นบริษัทแม่เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่าย สิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ และเป็นผู้ริเริ่มกิจการสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งนำเสนอเนื้อหาที่แตกต่างไปจากสื่อมวลชนไทยในวงการ เพื่อเติมเต็มข้อมูลให้แก่สังคมข่าวสาร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมติชน · ดูเพิ่มเติม »

ยุวนาถ อาระยานิมิตสกุล

วนาถ อาระยานิมิตสกุล ชื่อเล่น นาถ (8 มกราคม พ.ศ. 2528 -) กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เป็นดารานักแสดง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน เป็นลูกคนสุดท้องของครอบครัว จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรเมื่อ..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และยุวนาถ อาระยานิมิตสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา มุกดาสนิท

ทธนา มุกดาสนิท (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และยุทธนา มุกดาสนิท · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

รมิดา ธีรพัฒน์

รมิดา ธีรพัฒน์ ชื่อเล่น: พระพาย มีชื่อเดิมว่า ณฤดี แม้นสุวรรณ เกิดเมื่อ วันอาทิตย์ ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2540 เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัดช่อง 7 เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง ในขณะที่พระพายกำลังเรียนอยู่ชั้น ม.6 ที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เว็บไซต์ DekD มาจัดกิจกรรมแนะนำการสอบแอดมิดชั่นที่โรงเรียน พี่ๆ ทีมงานเค้ารู้จักชื่อเราจากการถามเพื่อนๆ นักเรียน เพราะความที่เราเป็นเด็กกิจกรรม และยังเป็นดรัมเมเยอร์ของโรงเรียน ก็เลยทำให้เด็กนักเรียนค่อนข้างรู้จักเราพอสมควร พอพี่ทีมงานเจอตัวจริง ก็ชวนไปถ่ายคอลัมน์ DekD Idol จากนั้นก็ทำให้ได้ไปถ่ายมิวสิควีดีโอเพลง แล้วก็ได้มีโอกาสเข้ามาเป็นนักแสดงที่ช่อง 7 ซึ่งก็เริ่มด้วยการเป็นผู้ประกาศคั่นรายการก่อน จนมาถึงตอนนี้ก็ได้มีโอกาสแสดงละคร ปัจจุบันกำลังศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรมิดา ธีรพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

รสนา โตสิตระกูล

รสนา โตสิตระกูล นางสาวรสนา โตสิตระกูล (27 กันยายน พ.ศ. 2496 -) เป็นนักรณรงค์ด้านสุขภาพและสิทธิผู้บริโภค มีบทบาทสำคัญในการเปิดโปงขบวนการทุจริต กรณีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ในกระทรวงสาธารณสุข เมื่อ พ.ศ. 2541 ยับยั้งการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 น..รสนาได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร โดยได้รับคะแนนเป็นอันดับ 4 (แต่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ เพราะเกิดรัฐประหาร 19 กันยา เสียก่อน) ปัจจุบัน (พ.ศ. 2551) ลงรับสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร หมายเลข 5 โดยได้รับคะแนนเป็นอันดับที่ 1 ซึ่งมีคะแนนนำอันดับที่ 2 นายนิติพงษ์ ห่อนาค นักแต่งเพลงชื่อดังอย่างขาดลอย (น.ส.รสนา โตสิตระกูล ได้คะแนนทั้งหมด 743,397 คะแนน) (นายนิติพงษ์ ห่อนาค ได้คะแนนประมาณ 200,000 คะแนน) ได้รับรองจาก กกต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรสนา โตสิตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช

นายกองเอก ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช มีชื่อเล่นว่า แดง (26 มิถุนายน พ.ศ. 2494 —) เป็นนักสังคมสงเคราะห์ และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (14 กันยายน พ.ศ. 2489) เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ศาสตราจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รังสิต ศิรนานนท์

รังสิต ศิรนานนท์ (เกิด 14 สิงหาคม พ.ศ. 2527) ชื่อเล่น อ้วน เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนชลราษฎรอำรุง จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่อเสียงจากซิตคอมเรื่อง คู่กิ๊กพริกกะเกลือ ปัจจุบันเขาเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง3.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรังสิต ศิรนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา

ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของผู้ทรงดำรงตำแหน่งและดำรงตำแหน่งอธิบดีและประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ 11 (ประเภทบริหาร ระดับสูง) สังกัดสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในส่วนของการประชุม และให้บริการคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ การนำมติคณะรัฐมนตรีที่ไม่อยู่ภายใต้กระทรวงใดไปปฏิบัติ เช่น การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การเปิดและปิดสมัยประชุมสภา เป็นต้น ตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนี้มักสับสนกับตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ซึ่งปฏิบัติงานเฉพาะในส่วนของนายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราณี แคมเปน

ราณี แคมเปน (เกิด 24 ธันวาคม พ.ศ. 2532) ชื่อเล่น เบลล่า เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-อังกฤษ เป็นที่รู้จักกับบทบาทกรองแก้ว จากละครชุด สุภาพบุรุษจุฑาเทพ เรื่อง คุณชายพุฒิภัทร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และราณี แคมเปน · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรางวัลรามอน แมกไซไซ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลศรีบูรพา

รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) นักประชาธิปไตย นักเขียน นักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทยและของโลก มีงานเขียนหลากหลายทั้งในรูปแบบนวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ กวี นิพนธ์และเรื่องแปล ที่องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) ยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก พิธีมอบรางวัลศรีบูรพา จะมีขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปี ในงานวันนักเขียนซึ่งจัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรางวัลศรีบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

ราเชนทร์ ลิ้มตระกูล

ราเชนทร์ ลิ้มตระกูล เกิดเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2511 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ จบการศึกษาจาก คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เริ่มทำงานกับ บริษัท อาร์.เอส.โปรโมชั่น จำกัด ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และราเชนทร์ ลิ้มตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

รินลณี ศรีเพ็ญ

รินลณี ศรีเพ็ญ เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 เป็นนักแสดง พิธีกรรายการ สตาร์สเตจ และ เปรี้ยวปาก และนางแบบชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรินลณี ศรีเพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

ฤๅชนก มีแสง

ๅชนก มีแสง (ชื่อเล่น: เทวี) เกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2537 เดิมใช้ชื่อ อาภาภัทร มีแสง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และ ระดับปริญญาตรี ที่ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฤๅชนก มีแสง · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิต ธีรเวคิน

ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) อดีตหัวหน้าพรรคพลังแผ่นดินไท (30 มิถุนายน พ.ศ. 2549-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) และ เคยได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย อีกด้วย (พ.ศ. 2545-2548 และ พ.ศ. 2549) สำหรับในด้านภูมิปัญญาความคิด ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ถือเป็นนักวิชาการอาวุโสที่ทรงอิทธิพลในวงการสังคมศาสตร์ไทย ทั้งยังคร่ำหวอดและเชี่ยวชาญการเมืองไทยมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ มีข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองผ่านสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อยู่สม่ำเสมอ เป็นเจ้าของวลีเด็ดที่เตือนสังคมไทยในวิกฤตการณ์การเมืองช่วงปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน · ดูเพิ่มเติม »

วรพงษ์ สง่าเนตร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ดร.วรพงษ์ สง่าเนตร (เกิด 15 กุมภาพันธ์ 2498) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานกรรมการ คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ นายทหารพิเศษประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557 อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อดีตเสนาธิการทหาร อดีตเจ้ากรมยุทธการทหาร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวรพงษ์ สง่าเนตร · ดูเพิ่มเติม »

วรัทยา นิลคูหา

วรัทยา นิลคูหา ชื่อเล่น จุ๋ย (เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2526) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากการรับบทเป็น สายน้ำผึ้ง ในละครเรื่อง สามีตีตรา ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำและรางวัลนาฏราช ในสาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวรัทยา นิลคูหา · ดูเพิ่มเติม »

วารินทร์ วงศ์หาญเชาว์

รองศาสตราจารย์ ดร.วารินทร์ วงษ์หาญเชาว์ รองศาสตราจารย์ วารินทร์ วงศ์หาญเชาว์ (15 มีนาคม พ.ศ. 2480 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) นักเศรษฐศาสตร์ นักการศึกษา นักวิจัย อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่ปรึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ภาคเอกชน นักเขียนและนักคิดที่ได้รับการยกย่องจากผู้อยู่ในวงการเดียวกันและจากบุคคลทั่วไป บรรณาธิการของนิตยสาร ชาวบ้าน ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวารินทร์ วงศ์หาญเชาว์ · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา นาน่วม

วาสนา นาน่วม กำลังถือหนังสือ ''ลับ ลวง พราง''ที่เธอเขียน วาสนา นาน่วม (ชื่อเล่น: เล็ก) ผู้สื่อข่าวสายทหารหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ และ โพสต์ทูเดย์ ผู้เขียนหนังสือชุดลับ ลวง พราง และผู้ดำเนินรายการวิทยุ “ลับ ลวง พราง” ทางโมเดิร์นเรดิโอ เอฟเอ็ม 100.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ในหมู่ของผู้ที่ศึกษาด้านการทหาร ชื่อของ วาสนา นาน่วม นั้นเป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นผู้ที่มีข่าวคราวจากการสอบถามไปยังนายทหารระดับสูงหลายครั้ง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวาสนา นาน่วม · ดูเพิ่มเติม »

วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล

วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล (ชื่อเล่น: พิช) เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงเป็น “มิว” ตัวละครเอกของภาพยนตร์ไทยเรื่อง “รักแห่งสยาม” (2550) และการเป็นนักร้องนำวงออกั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล · ดูเพิ่มเติม »

วิชา มหาคุณ

ตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2489) คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และอดีตประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิชา มหาคุณ · ดูเพิ่มเติม »

วิมล เจียมเจริญ

ทมยันตี (ทะ-มะ-ยัน-ตี) เป็นนามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2480—ปัจจุบัน) เป็นนักประพันธ์นวนิยาย ผลงาน อาทิ คู่กรรม, ทวิภพ, ค่าของคน, อุบัติเหตุ, พ่อปลาไหล, ล่า, เวียงกุมกาม, นากพัทธ์, พิษสวาท, อนธการ, คำมั่นสัญญา, พี่เลี้ยง, จิตา และอื่นๆ ซึ่งมีการสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายยุคหลายสมัย วิมล ได้ชื่อว่ามีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับฝ่ายทหาร และมักสนับสนุนระบอบทหาร โดยเฉพาะในช่วง เหตุการณ์ 6 ตุล..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิมล เจียมเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช อยู่ถาวร

วิรัช อยู่ถาวร เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงชาวไทย มีผลงานในนามศิลปิน "3 วิ" ร่วมกับ วิชัย ปุญญะยันต์ และวินัย พันธุรักษ์ วงซิลเวอร์แซนด์ และ วงพิงค์แพนเตอร์ เป็นผู้แต่งทำนองและเรียบเรียงเสียงประสานเพลง พ่อแห่งแผ่นดิน และแต่งเพลงประกอบละครโทรทัศน์หลายเรื่องให้กับไทยทีวีสีช่อง 3 เช่น แต่ปางก่อน, ปริศนา, แม่นาคพระโขนง(สัญญาใจ) เป็นต้น ประสบการณ์ด้านสิทธิของนักแต่งเพลง เป็นกรรมการผู้ก่อตั้ง และประธานกรรมการบริษัท ลิขสิทธิ์ดนตรี(ประเทศไทย)จำกัด (Music Copyright Thailand: MCT)ซึ่งเป็นองค์กรบริหารจัดการลิขสิทธิ์ของนักแต่งเพลงของไทย โดยเป็นเพียงองค์กรเดียวในประเทศไทยที่ได้รับการเป็นสมาชิกขององค์กร CISAC(สมาพันธ์แห่งสมาคมผู้สร้างสรรค์และนักแต่งเพลงระหว่างประเทศ) นอกจากนี้ ยังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการส่งเสริม ศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่ ในสมัยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหาร ในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิรัช อยู่ถาวร · ดูเพิ่มเติม »

วิศาล ดิลกวณิช

วิศาล ดิลกวณิช พิธีกรรายการบ่ายนี้มีคำตอบ ทางช่อง 9 MCOT HD เกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2513 วิศาลทำงานสื่อมวลชนมาหลายรูปแบบ เคยเป็นผู้สื่อข่าววิทยุ สังกัดศูนย์ข่าวแปซิฟิก และสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ เอเอ็ม 1008, ผู้ประกาศข่าวภาคเที่ยง ผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี, พิธีกรข่าว รายการเช้าวันใหม่ (คู่กับนิธินาฎ ราชนิยม หรือปราย ธนาอัมพุช), ครอบครัวข่าวเช้า ช่วง ไขประเด็นดัง, เที่ยงวันทันเหตุการณ์ (ช่วงเกาะประเด็นร้อน แกะประเด็นลึก) ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเขาเป็นผู้นำคนหนึ่งของกลุ่มพนักงานฝ่ายข่าวไอทีวี ที่เคลื่อนไหวคัดค้านการเข้าถือหุ้นใหญ่ใน บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) ของกลุ่มชินคอร์ป ซึ่งพนักงานกลุ่มดังกล่าวเชื่อว่า มีความเกี่ยวข้องกับ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ต่อมากลุ่มพนักงานดังกล่าว เป็นที่รู้จักในชื่อ กบฏไอทีวี นอกจากงานประจำแล้ว ปัจจุบันวิศาลยังมีกิจการผลิตรายการโทรทัศน์ ในนามบริษัท เมไกแมสมีเดีย จำกัดอีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิศาล ดิลกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา วสุไกรไพศาล

วิทยา วสุไกรไพศาล หรือ อั๋น เป็นนักแสดง เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโทสาขาคอมพิวเตอร์จาก University of Denver (University College) มลรัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมริกา อั๋นเริ่มเข้าวงการจากการถ่ายโฆษณา เล่นมิวสิกวิดีโอ อีกทั้งยังได้ครองตำแหน่งหนุ่มโสดในฝัน ปี 2005 ของนิตยสารคลีโออีกด้วย มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง "แฝด" ต่อมาได้มีผลงานทางละครทางช่อง 3 อย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทยา วสุไกรไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยากร เชียงกูล

วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 และปริญญาโท จากสถาบันศึกษาสังคม เมืองเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นผู้เขียนบทกลอน "เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน" เมื่อ พ.ศ. 2511 ซึ่งมีท่อนติดปากว่า "ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง ฉันจึง มาหา ความหมาย ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว" บทกลอนนี้ได้กลายเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษาในช่วงนั้น ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้องประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 และ เหตุการณ์ 6 ตุลา พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทยากร เชียงกูล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต (College of Social Innovation, Rangsit University) มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาแบบสหวิทยาการ เพื่อให้บัณฑิตมีความเข้าใจถึงเศรษฐกิจ สังคม อย่างเป็นองค์รวม และทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างรวดเร็ว วิทยาลัยนวัตกรรมให้ความสนใจกับกระบวนการเรียนรู้มากกว่าตัวความรู้ เราจะสอนให้น้อยลง แต่จะให้นักศึกษาเรียนรู้ให้มากขึ้น เป้าหมายการเรียนรู้อยู่ที่การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ให้แก่นักศึกษาให้เป็นผู้นำที่ใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา ตลอดชีวิตและสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง การเรียนการสอนให้ความสำคัญกับ Problem Based Learning ซึ่งเป็นวิธีการเรียนแบบใหม่ที่ลดการบรรยายลง แต่เพิ่มการอภิปรายในชั้นเรียนให้มากขึ้น ฝึกฝนให้นักศึกษาสามารถแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ปัญหาร่วมกันได้ แทนที่จะเป็นการเรียนแบบท่องจำเหมือนในอดีต กระบวนการเรียนการสอนเน้นความสัมฤทธิ์ผลที่จะเกิดขึ้นกับตัวบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทั้งทางด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และการสร้างแรงบันดาลใจ (Aspiration) ในการเป็นผู้นำ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับนานาชาติซึ่งเดิมเป็นหน้าที่ของสำนักงานวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งนี้ชื่อวิทยาลัยตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาล.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทย์ รายนานนท์

นายวิทย์ รายนานนท์ (2 มีนาคม 2485 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตเอกอัคราชทูตชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทย์ รายนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์

วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์วิโรจน์ เป็นคนไทยเชื้อสายจีนแซ่ตั้ง จบการมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดราชาธิวาสจบการศึกษามหาวิทยาลัยจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เอกประวัติศาสตร์) ระหว่างที่ศึกษาอยู่นั้นเคยเข้าร่วมการเคลื่อนไหวกับขบวนการนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อปี พ.ศ. 2519 เป็นนักศึกษา 1 ใน 2 คนที่แสดงละครล้อการเมืองที่ต่อมาถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (อีก 1 คนนั้นคือ อภินันท์ บัวหภักดี) ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่ต่อมา หลังจากเหตุการณ์นี้ได้ถูกจองจำในเรือนจำถึง 2 ปี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2521 จึงได้รับพระราชทานอภัยโทษออกมาสู่อิสรภาพ จากนั้นจึงเดินทางไปภาคใต้ หาเลี้ยงชีพด้วยการร้องเพลงในสถานบันเทิงต่าง ๆ ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2526 จะเดินทางไปศึกษาปริญญาโทด้านภาษาจีนต่อที่มหาวิทยาลัยปักกิ่ง กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยใช้เวลาศึกษาอยู่นาน 5 ปี หลังจากนั้นแล้ว ได้เป็นวิทยากรและอาจารย์พิเศษบรรยายเกี่ยวกับเรื่องราวในแง่มุมต่าง ๆ เกี่ยวกับจีนหรือภูมิปัญญาจีน ตามสถานศึกษาต่าง ๆ จนมาถึงปัจจุบัน เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางครั้งแรกจากการเป็นพิธีกรภาคสนามจากรายการ ตามไปดู ทางช่อง 9 ชีวิตส่วนตัว เป็นบุคคลสาธารณะอีกหนึ่งคนในสังคมไทยที่ยอมรับว่าตัวเองเป็นกะเทย นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นนักแสดงในบทประกอบจากภาพยนตร์และละครเรื่องต่าง ๆ อาทิ หงส์เหนือมังกร พ.ศ. 2543, สุริโยไท พ.ศ. 2544,มังกรเดียวดาย (ภาคต่อหงส์เหนือมังกร) พ.ศ. 2547, หมวยอินเตอร์ พ.ศ. 2551, มงกุฎดอกส้ม พ.ศ. 2554, หงส์เหนือมังกร พ.ศ. 2560 และในการถ่ายทอดพิธีเปิดและพิธีปิดโอลิมปิก 2008 ที่ทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทีวีพูล) เป็นผู้ถ่ายทอดสัญญาณในประเทศไทย ก็รับหน้าที่ผู้บรรยายร่วมด้ว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร ชวลิต

นายกองเอก วิเชียร ชวลิต เป็น ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ สมาชิก สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เลขาธิการคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิเชียร ชวลิต · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์

ร.วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ เป็นกรรมการผู้อำนวยการของสถาบันสหสวรรษ ซึ่งเป็นสถาบันวิชาการของภาคประชาชน ในอดีตเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ช่วง..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วีระ ธีรภัทร

วีระ ธีรภัทร (ใส่แว่น) วีระ ธีรภัทร นักจัดรายการวิทยุ นักเขียน คอลัมนิสต์ และพิธีกรชาวไทย ผู้มีลีลาและเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวีระ ธีรภัทร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์รวี นทีธร

วงศ์รวี นทีธร (ชื่อเล่น:สกาย) (เกิด 25 มิถุนายน 2541) เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็น พละ ในฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น ซีซั่น 3.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวงศ์รวี นทีธร · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์

วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ หรือ มด เกิดในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีนที่บางรัก เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า อางี้ เริ่มทำกิจกรรมเข้าร่วมการเรียกร้องประชาธิปไตย และเคลื่อนไหวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ยังเรียนชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม ช่วงก่อนเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลา วนิดาเป็นแรงหนุนและเป็นเบื้องหลังคนสำคัญ ในการเรียกร้องต่อสู้ของคนงานโรงงานฮาร่า ที่ใช้เวลาชุมนุมถึง 5 เดือน จนในที่สุดขบวนการต่อสู้นั้น พัฒนาจนถึงขั้นคนงานโรงงานฮาร่าสามารถยึดโรงงานแล้วผลิตสินค้าออกมาขายได้เอง ระหว่างเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ทำให้ต้องหลบไปอยู่ในเขตป่าแถวภาคใต้ประมาณ 4 ปี และไปอยู่ป่าภาคอีสานอีก 2-3 เดือน หลังจากนั้นจึงกลับมาเรียนต่อที่ธรรมศาสตร์อีกครั้งในปี 2524 เรียนอยู่ 3 ปี จึงสำเร็จการศึกษา วนิดาเริ่มเข้ามาทำงานด้านองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ด้วยการร่วมรณรงค์กับขบวนการสันติภาพต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ เข้าร่วมขบวนการเชื่อมสันติภาพไทยลาว เริ่มทำงานในภาคประชาชนอย่างจริงจัง ตั้งแต่ปี 2532-2533 กับโครงการฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ งานชิ้นแรกๆ ที่ทำคือ ทำงานเชิงวิชาการในการคัดค้านการสร้างเขื่อนแก่งกรุง เขื่อนแก่งเสือเต้น จนมาถึงเขื่อนปากมูล และมีบทบาทในการก่อตั้งสมัชชาคนจนร่วมกับองค์กรชาวบ้านทั่วประเทศ ล่าสุดเป็นที่ปรึกษาสมัชชาคนจน วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมตั้งแต่ปี 2547 ก่อนจะจากโลกนี้ไป เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้วยอายุ 52 ปี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ

นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย และเป็นอดีตประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศักดิ์สยาม ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาลรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรัตน์ นาคบุญนำ

รัตน์ นาคบุญนำ ศุภรัตน์ นาคบุญนำ ผู้ประกาศข่าวและพิธีกรข่าวอิสระ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศุภรัตน์ นาคบุญนำ · ดูเพิ่มเติม »

สกาวใจ พูนสวัสดิ์

กาวใจ พูนสวัสดิ์ เป็นนักแสดง พิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสกาวใจ พูนสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ร่างรัฐธรรมนูญ คือ คณะบุคคลที่ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ มักเกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและต้องการให้มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร หรือเป็นกรณีที่ต้องการประสานประโยชน์ ตรงตามความประสงค์ของบุคคลทุกฝ่ายมากที่สุด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย ที่ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ผลดีของการร่างรัฐธรรมนูญโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ คือ.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สม จาตุศรีพิทักษ์

ตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์ (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2483) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สมาชิกวุฒิสภา อดีตผู้บริหารบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ธนาคารสยาม (เดิมคือ ธนาคารเอเชียทรัสต์) และกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เป็นพี่ชายของสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สมเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529 จบการศึกษาจากโรงเรียนเผยอิง โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข จบปริญญาตรีสาขาบัญชีจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเข้าทำงานที่บริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ต่อมาจึงสอบได้ทุนฟูลไบรท์ไปศึกษาต่อปริญญาโทบริหารธุรกิจ และปริญญาเอกบริหารธุรกิจด้านการเงิน จากสเตตยูนิเวอร์ซิตีออฟนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และกลับเข้าทำงานที่บริษัทเดิมจนได้รับตำแหน่ง กรรมการและกรรมการบริหาร ในบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ จากนั้นได้เข้าสู่วงการธนาคารจากการเข้ารับตำแหน่งกรรมการบริหารธนาคารสยาม และเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสม จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ จันทรวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ จันทรวงศ์ เป็น นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจำปี 2538 อดีตศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านปรัชญาการเมืองคนสำคัญของประเทศและเป็นผู้บุกเบิกการสอนวิชาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมืองในประเทศไทย จนได้รับการกล่าวขานว่า "เปลโตเมืองไทย".

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมบัติ จันทรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย กรุสวนสมบัติ

นายสมชาย กรุสวนสมบัติ เกิดวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2484 ที่จังหวัดนครสวรรค์ คอลัมนิสต์ชื่อดัง เจ้าของนามปากกา “ซูม” และ “จ่าแฉ่ง” ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ นักจัดรายการวิทยุ สปอร์ต เรดิโอ อดีตประธานสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ สมัยที่ 2.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมชาย กรุสวนสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา สมศักดิ์ยังเคยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นระยะเวลาหลายปีก่อนถูกไล่ออกจากเหตุละทิ้งราชการในช่วงของการลี้ภัยแม้ว่าสมศักด์ได้ยื่นใบลาออกก่อนหน้าก็ตาม ปัจจุบันคำสั่งไล่ออกจากราชการได้ถูกศาลปกครองยกฟ้อง สมศักดิ์มีผลงานการศึกษาค้นคว้าและการตีความประวัติศาสตร์จำนวนมาก โดยเฉพาะการศึกษาบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ตั้งแต่การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475, กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8, เหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรพสิริ วิรยศิริ

รรพสิริ วิรยศิริ (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ปัจจุบันคือ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)) อดีตผู้อำนวยการ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 (ปัจจุบันคือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี) และอดีตผู้อำนวยการ สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. (ปัจจุบันคือ สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ) อดีตผู้สื่อข่าวสงคราม เป็นบุคคลผู้บุกเบิกวงการโทรทัศน์ ข่าวโทรทัศน์ และโฆษณาโทรทัศน์ของไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสรรพสิริ วิรยศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันตระรัตน์

ตราจารย์ สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (4 ตุลาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นนักวิชาการด้านโทรคมนาคมและการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล คนสำคัญคนหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสวัสดิ์ ตันตระรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล

หรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล เดิมชื่อ วิรัตน์ จันทร์ภักดี โดยหลังจากเข้ารอบ 8 คนสุดท้าย ก็เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น สิงหรัตน์ ต่อมาเปลี่ยนทั้งชื่อและนามสกุลเป็น ธนณัฏฐ์ รวงงาม และเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นทันโตวิ์ ในปี พ.ศ. 2555 ในปี พ.ศ. 2556 ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น ทันโตวิ์ หิรัญญ์ธนภูวดล และปัจจุบันใช้ชื่อว่า สหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล สิงโต เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ที่จังหวัดขอนแก่น ศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ โรงเรียนกัลยาณวัตร ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงในจังหวัดขอนแก่น จนถึงปี พ.ศ. 2552 ภายหลังจากจบการประกวด เดอะสตาร์ 5 สิงโตได้ย้ายเข้ามาศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สายวิทย์-คณิต ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.96 โดยสาเหตุที่ต้องย้ายโรงเรียน เนื่องจากสิงโตต้องการทำงานในวงการบันเทิงและเรียนหนังสือควบคู่กันไป ภายหลังเรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลายสิงโตได้สอบติดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเข้าศึกษาอยู่ที่นั้นจนถึงชั้นปีที่ 2 จึงลาออก ปัจจุบันสิงโตได้เข้าศึกษาต่อที่ สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล · ดูเพิ่มเติม »

สังศิต พิริยะรังสรรค์

รองศาสตราจารย์ สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ(สปท.), กรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ, อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.),อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ(สปช.),อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตรองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสังศิต พิริยะรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสันติ ทักราล · ดูเพิ่มเติม »

สารัช อยู่เย็น

ตำรวจตรี สารัช อยู่เย็น เป็นนักฟุตบอล สัญชาติไทย ปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในตำแหน่งกองกลาง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสารัช อยู่เย็น · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ สวัสดิ์ศรี

ติ สวัสดิ์ศรี นักเขียนเจ้าของนามปากกา สิงห์สนามหลวง ผู้ก่อตั้ง รางวัลช่อการะเกด เกิดวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2488 ที่ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ่อเป็นหมอเสนารักษ์ แม่เป็นชาวนา จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) สาขาประวัติศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2509 สมรสแล้วกับ นางวรรณา สวัสดิ์ศรี (ทรรปนานนท์) นักเขียนเจ้าของนามปากกา "ศรีดาวเรือง" มีบุตรด้วยกัน สุชาติ เคยประกอบอาชีพหลากหลาย ตั้งแต่เป็น ครูโรงเรียนราษฎร์ อาจารย์มหาวิทยาลัย นักเขียน บรรณาธิการนิตยสาร บรรณาธิการสำนักพิมพ์ ร่วมก่อตั้งกลุ่มวรรณกรรม ร่วมก่อตั้งกลุ่มละคร ที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรมฯ เป็นผู้ก่อตั้งรางวัลช่อการะเกด และก่อตั้งสำนักช่างวรรณกรรม นอกจากผลงานด้านวรรณกรรม สุชาติ สวัสดิ์ศรียังมีผลงานศิลปะจากการศึกษาด้วยตัวเอง โดยจัดแสดงเป็นนิทรรศการศิลปะแล้วหลายครั้ง ในเหตุการณ์ 14 ตุลา เขาเป็นบรรณาธิการ วารสารรายสามเดือนของสมาคม สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สุชาติ สวัสดิ์ศรี ได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์เมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุชาติ สวัสดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ธาดาธำรงเวช

ตราจารย์ สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาธิการ อดีตอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2495 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ รุ่นที่ 77 เลขประจำตัว 8293 จบการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ The London School of Economics and Political Science สหราชอาณาจักร ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ ประเทศแคนาดา ประกาศนียบัตรเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย(University of East Anglia) สหราชอาณาจักร ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช สมรสกับนางวัชรี ธาดาธำรงเวช (สกุลเดิม พิพัฒน์ประทานพร) นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มีบุตร 2 คน คือ นายกรกฎ จัสติน ธาดาธำรงเวช และนางสาวอรณิชา ธาดาธำรงเว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุชาติ ธาดาธำรงเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุพัตรา มาศดิตถ์

ณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นบุตรสาวของนายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นน้องสาวของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุพัตรา มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุฐิตา ปัญญายงค์

ตา ปัญญายงค์, หรือชื่อเมื่อแรกเกิดว่า สุฐิตา เรืองรองหิรัญญา, หรือชื่อเล่นว่า นิหน่า (15 ตุลาคม 2525 —) เป็นนักแสดง นักร้อง พิธีกร ผู้ประกาศข่าวชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุฐิตา ปัญญายงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภา ศิริมานนท์

ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุภา ศิริมานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภิญญา กลางณรงค์

ญญา กลางณรงค์ (เกิด พ.ศ. 2519 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี) เป็นนักกิจกรรมสังคมด้านสื่อ เริ่มต้นทำงานที่ป่าใหญ่ครีเอชั่น ในฝ่ายผลิตและเขียนบทสารคดีโทรทัศน์ในปี 2537 จากนั้นร่วมงานเป็นฝ่ายสื่อและเผยแพร่ของมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม และเป็นผู้ประสานงานคณะทำงานติดตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ซึ่งเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรสื่อสาร สุภิญญาร่วมก่อตั้งคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส.) เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการและรองประธานคป.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุภิญญา กลางณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม ในอดีตเคยดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลชวน หลีกภัย สุรินทร์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน วาร..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุรินทร์ พิศสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สุวินัย ภรณวลัย

รองศาสตราจารย์ สุวินัย ภรณวลัย อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2527 ได้รับปริญญาเอก รอมบุนฮาคาเซะ จากมหาวิทยาลัยโฮเช ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ที่สนใจศึกษาและชำนาญในศาสตร์ด้านพัฒนาและยกระดับจิตใจและร่างกายตามวิถีของชาวตะวันออก มีผลงานทางด้านนี้ออกมาเป็นหนังสือมากมาย อีกทั้งยังเป็นผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการต่อสู้ เช่น มวยไทเก็ก อีกด้วย ปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุวินัย ภรณวลัย · ดูเพิ่มเติม »

สุจิรา อรุณพิพัฒน์

รา อรุณพิพัฒน์ (ชื่อเล่น: นุ้ย; เกิด 8 เมษายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย และเป็นนางสาวไทยประจำปี 2544 สุจิราเริ่มเข้ารับการ ศึกษาระดับอนุบาล – ม. 3 ที่ โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ ระดับ ม. 4 – ม. 6 ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สายศิลป-ภาษาเยอรมัน และระดับอุดมศึกษา ปริญญาตรี ที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาพัสตราภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท คณะเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุจิรา เริ่มมีผลงานเมื่อปี 2543 จากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง สตรีเหล็ก จากนั้นก็เริ่มแสดงละครโทรทัศน์โดยรับบทเป็นนางเอกเรื่อง กลิ่นสีและกาวแป้ง ทางไอทีวี ต่อด้วยละคร พุทธานุภาพ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ละครครูสมศรี ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 จากนั้นก็มีงานแสดงมากมาย นอกเหนือจากงานแสดงยังมีงานด้านพิธีกร สุจิราเป็นพิธีกรรายการ เกมสงครามเขาและเธอ (ช่วงปี 2544–2546) ต่อด้วยพิธีกรรายการ รายการ ร้านชำยามเช้า, เซียนข่าว, บันเทิง 108 เป็นต้น และเธอยังถ่ายโฆษณา แสดงมิวสิควีดีโอหลายชิ้น ด้านชีวิตส่วนตัว นุ้ยได้แต่งงานกับแฟนหนุ่ม "ปอนด์ ชยพล หลีระพันธ์" เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุจิรา อรุณพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุขวิช รังสิตพล

วิช รังสิตพล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคความหวังใหม่ และพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุขวิช รังสิตพล · ดูเพิ่มเติม »

สุขุม นวลสกุล

รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ. 2486 ที่จังหวัดยะลา โดยเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 8 คน (ชาย 4 หญิง 4) บิดามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปครอง พ.ศ. 2475 โดยที่ครอบครัวมีธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา แล้วไปศึกษาต่อยังโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยขณะเรียนได้เรียนในสายวิทยาศาสตร์เพราะมีความตั้งใจจะเป็นแพทย์ แต่คะแนนวิทชาทางเคมีหรือชีววิทยาได้ไม่ดี แต่กลับได้คะแนนดีในวิชาภาษาไทย จึงเปลี่ยนไปสอบเอนทรานซ์สายสังคมศาสตร์แทน ซึ่งสอบได้คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาในปี พ.ศ. 2511 (รุ่นที่ 15) ด้วยการใช้เวลาศึกษานานถึง 5 ปี ต่อมาได้เรียนระดับปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์และสังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Master of Science Texas A & M University) สหรัฐอเมริกา และได้ศึกษาเพิ่มเติมที่สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับประกาศนียบัตรสงครามจิตวิทยา เมื่อครั้งจบปริญญาตรี ได้ทำงานเป็นคอลัมนิสต์ในนิตยสารมวยไทยอยู่ 6 เดือน ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา เมื่อจบปริญญาโทในปี พ.ศ. 2514 ได้เข้าทำงานเป็นอาจาย์ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเพิ่งก่อตั้ง นับเป็นคณาจารย์รุ่นบุกเบิกของมหาวิทยาลัยด้วยคนหนึ่ง จนกระทั่งได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์ และได้เป็นคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จนถึงตำแหน่งอธิการบดี เมื่อปลายปี พ.ศ. 2525 และยุติการรับราชการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ก่อนเกษียณอายุราชการจริงหลายปี นอกจากนี้แล้วในทางการเมือง เคยเป็นที่ปรึกษาทางการมืองให้แก่นายกรัฐมนตรี พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2531 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พล.อ.เปรม ในระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้เกิดเหตุนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคำแหงผู้หนึ่ง ได้เข้าทำร้ายร่างกาย พล.อ.เปรม ด้วยการชกหน้าและด่าทอด้วยคำหยาบคาย ขณะที่ พล.อ.เปรมเป็นประธานในพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ที่ทางมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพ จน พล.อ.เปรมต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล ทาง ร.สุขุมในฐานะอธิการบดีและที่ปรึกษาของ พล.อ.เปรม ได้แสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกทันที แต่ทว่าทางสภามหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุขุม นวลสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุณิสา เลิศภควัต

ร้อยโทหญิง สุณิสา เลิศภควัตหรือ สุณิสา ทิวากรดำรง (ชื่อเล่น เจิ๊ยบ) อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตทหารประจำศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก อดีตนักจัดรายการวิทยุและผู้สื่อข่าวสายทหาร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุณิสา เลิศภควัต · ดูเพิ่มเติม »

สุเนตร ชุตินธรานนท์

ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุเนตร ชุตินธรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพระปกเกล้า

ันพระปกเกล้า (King Prajadhipok's Institute) เป็นนิติบุคคลอยู่ในกำกับดูแลของประธานรัฐสภา โดยมีสภาสถาบันพระปกเกล้าเป็นองค์กรบริหารสูงสุด ดำเนินงานเกี่ยวข้องกับงานด้านวิชาการ ซึ่งจะครอบคลุมถึงเรื่องของการวิจัย การจัดการศึกษา อบรม และเผยแพร่ให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย และการเมืองการปกครอง รวมทั้งให้บริการคำแนะนำปรึกษาด้านการบริหารปกครองบ้านเมืองที่ดี ทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังรับผิดชอบงานเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้ โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถาบันพระปกเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันอิสระสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบัน เมื่อวันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (The Thailand Development Research Institute) หรือ ทีดีอาร์ไอ (TDRI) เป็นมูลนิธิที่ไม่แสวงหากำไร ที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2527 ที่มีพันธกิจหลักคือ การทำการวิจัยเชิงนโยบายสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายด้านเศรษฐกิจ กฎหมาย สาธารณสุข และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเผยแพร่ต่อภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อการกำหนดนโยบายระยะยาวอันมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ทีดีอาร์ไอถูกก่อตั้งขึ้นโดยความริเริ่มของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ต้องการให้มีหน่วยงานวิจัยและเสนอนโยบายเป็นอิสระของอำนาจการเมืองและข้าราชการ ด้วยเหตุนี้ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีไทยในขณะนั้น และ ปิแอร์ ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดา จึงได้ลงนามในข้อตกลงให้ความช่วยเหลือเพื่อมอบทุนดำเนินการจัดตั้งสถาบันในระยะเริ่มแรก ผ่านทาง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งแคนาดา (Canadian International Development Agency) นอกจากนี้ ยังมี องค์กรเพื่อการพัฒนานานาชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Agency for International Development) ร่วมให้ทุนสนับสนุนการก่อตั้ง เช่นเดียวกับบริษัทเอกชนอื่นๆ เช่น บริษัทในกลุ่มมิตซุย บริษัทยูโนแคล ประเทศไทย เป็นต้น นับตั้งแต่ก่อตั้ง สถาบันได้ดำเนินงานวิจัยไปแล้วมากกว่า 800 โครงการ ในหัวข้อต่าง ๆ ทั้งระดับประเทศ ทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยมีเป็นหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างประเทศเป็นผู้ว่าจ้างหลัก นอกเหนือจากรายได้จากการถูกว่าจ้างจากหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างประเทศแล้ว ทีดีอาร์ไอยังใช้งบประมาณของตนเองในการผลิตงานวิจัยเชิงนโยบายในหัวข้อที่กำหนดเอง โดยเน้นหัวข้อที่ทีดีอาร์ไอคิดว่าสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต เช่น การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน การพัฒนาระบบศึกษาไทย และโมเดลใหม่ทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ปัจจุบัน ทีดีอาร์ไอมีทรัพยากรบุคคลประมาณ 100 คน ในฝ่ายการวิจัย 6 ฝ่าย ได้แก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ

นีวิทยุ อสมท Modern Radio (MCOT Modern Radio; ชื่อเดิม: สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. และ สถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท.) เป็นเครือข่ายสถานีวิทยุของ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2497 ส่งกระจายเสียง ข่าวสาร สาระความรู้ และรายการต่างๆ ผ่านสถานีวิทยุทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 62 สถานี นอกจากนี้ ยังเป็นเครือข่ายสนับสนุน และให้บริการแก่ประชาชน ในท้องถิ่นและชุมชน โดยมีขอบเขตการให้บริการ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 92.4 ของทั้งประเทศ และครอบคลุมจำนวนประชากร ประมาณร้อยละ 93.8 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: เอ็นบีที; อังกฤษ: The National Broadcasting Services of Thailand) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ กอบศักดิ์ ภูตระกูล) และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์) เป็นผู้กำกับดูแล โดยมีการเปลี่ยนชื่อ พร้อมปรับปรุงระบบการบริหารงาน และรูปแบบของสถานีฯ เพื่อให้สมเจตนารมณ์ของการก่อตั้งสถานีฯ ตั้งแต่วันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551 เวลา 06.00 น. เป็นต้นไปในวันที่ใช้ชื่อเอ็นบีที และได้เปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ของสถานีฯ ที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น. วันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ลงเล่นในระดับไทยพรีเมียร์ลีก โดยเลื่อนชั้นขึ้นมาในฐานะแชมป์ดิวิชั่น 1 เมื่อจบฤดูกาลไทยลีกดิวิชัน 1 2551.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์

ร้อยตำรวจเอก รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ (22 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นโอรสใน หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์และหม่อมอ่อน) กับ หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปสร รพีพัฒน์ (กิติยากร)(พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ หรือ ร้อยตำรวจเอก รองศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขากฎหมายจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และปริญญาโทและปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยา จากมหาวิทยาลัยคอร์เนล เคยเป็นอาจารย์สอนหนังสือที่คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเวลา 7 ปี เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการสร้างสรรค์และพัฒนาชุมชน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานมูลนิธิชุมชนไท หม่อมราชวงศ์อคิน ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปี 2535 และได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารจัดการสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 มีผลงานได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ผลงานวิชาการดีเด่น "TTF Award" ประจำปี 2551 จากมูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศไทย ด้วยหนังสือชื่อ "วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ" หม่อมราชวงศ์อคิน มีบุตรสองคน คือ หม่อมหลวงหญิงกฤติกา รพีพัฒน์ และหม่อมหลวงหญิงณพอร รพีพัฒน์ สมรสสองครั้งกับจันทรา ปิตะชาติ และ บังเอิญ เกิดอารี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งธิดา โสภณ

หนึ่งธิดา โสภณ ชื่อเล่น หนูนา (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง กวน มึน โฮ และได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ปี 2553 จากภาพยนตร์ดังกล่าว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหนึ่งธิดา โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

อภัย จันทนจุลกะ

นายอภัย จันทนจุลกะ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอภัย จันทนจุลกะ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาต การิกาญจน์

อภิชาต การิกาญจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการการศึกษา ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอภิชาต การิกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ดำดี

อภิชาติ ดำดี (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) เป็นนักพูด นักจัดรายการชาวไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกระบี่ thumb.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอภิชาติ ดำดี · ดูเพิ่มเติม »

อภิภู สุนทรพนาเวศ

ร้อยตรีอภิภู สุนทรพนาเวศ เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย จังหวัดสมุทรปราการ ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลโอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี ในไทยพรีเมียร์ลีก เล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรุก เขาเคยเล่นให้กับ ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี ในการแข่งขันซีเกมส์ ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอภิภู สุนทรพนาเวศ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์

นางสาวอรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ นักแสดงและนางแบบหญิงชาวไทย อดีตนางสาวไทย ปี 2552.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อริสรา กำธรเจริญ

อริสรา กำธรเจริญ ผู้ประกาศข่าว และ นักแสดงหญิงชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอริสรา กำธรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อริสรา ทองบริสุทธิ์

อริสรา ทองบริสุทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2533 เป็น นักแสดงชาวไทย จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาสายวิทย์-คณิต จากโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ กำลังศึกษาAccademia Italiana Fashion Design เข้าวงการบันเทิงด้วยการถ่ายแบบลงนิตยสารแฟชั่น จนได้เป็นนักร้องคู่กับจีน่า-กะรัต รุ่นประพันธ์ ออกอัลบัมแนวเพลงป็อปแดนซ์ ชื่อ Sugar n’ Spice ในสังกัด Buzz Music และมีผลงานแจ้งเกิดคือละครชุด อุบัติรักข้ามขอบฟ้า 2 ผลงานภาพยนตร์ครั้งแรก คือ After School วิ่งสู้ฝัน ชีวิตส่วนตัวคบหาดูใจกับ ไผ่ วันพอยท์ ดิว อริสรา เป็นเพื่อนสนิทกับ กุ๊บกิ๊บ สุมณทิพย์ ชี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอริสรา ทองบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรินทร์มาศ บุญครองทรัพย์

อรินทร์มาศ บุญครองทรัพย์ (หมิง) (ชื่อเดิม:ชาลิสา) เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 นางสาวไทย ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอรินทร์มาศ บุญครองทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

อรจิรา แหลมวิไล

อรจิรา แหลมวิไล หรือ แป้ง เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดง เข้าวงการจากการที่ได้มีโอกาสทดสอบหน้ากล้องในวัย 18 ปี ก่อนจะโด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง "สายล่อฟ้า" ซึ่งเป็นผลงานเรื่องที่สองของแป้ง หลังเรื่องแรก สุริยะฆาต หนังฟอร์มยักษ์ ซึ่งไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอรจิรา แหลมวิไล · ดูเพิ่มเติม »

อลงกรณ์ พลบุตร

นายอลงกรณ์ พลบุตร รองประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศคนที่หนึ่ง กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอลงกรณ์ พลบุตร · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอสมท · ดูเพิ่มเติม »

ออกัส

ออกัส เป็นวงดนตรีชาวไทย ก่อตั้งขึ้นเพื่อร่วมแสดงเป็นวงดนตรีชื่อเดียวกัน ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม (2550) ซึ่งชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ เป็นผู้จัดการวง และมีสมาชิกทั้งหมด 13 คน ออกอัลบั้มเพลงมาแล้วสองชุด ในช่วงต้นและปลายปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และออกัส · ดูเพิ่มเติม »

อัญชสา มงคลสมัย

อัญชสา มงคลสมัย เดิมชื่อ อังค์วรา มงคลสมัย เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอัญชสา มงคลสมัย · ดูเพิ่มเติม »

อัมมาร สยามวาลา

ตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 -) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม และการพัฒนา บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอัมมาร สยามวาลา · ดูเพิ่มเติม »

อัทธนียา เอี่ยมวสันต์

อัทธนียา เอี่ยมวสันต์ หรือชื่อเกิด สริตา เอี่ยมวสันต์ ชื่อเล่น ออม (เกิด 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดงชาวไทย จบระดับชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอัทธนียา เอี่ยมวสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

อิศริยา สายสนั่น

อิศริยา สายสนั่น หรือ เอ๊ะ (ชื่อเกิด: เกียรติญา โหมดลายคำ; เกิด: 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526) เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนอัมพรไพศาล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเซนต์ฟรังค์ซีสซาเวียร์ คอนแวนต์ แล้วจึงสอบเทียบ ม.6 ได้ ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และกำลังศึกษาต่อปริญญาเอก คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอิศริยา สายสนั่น · ดูเพิ่มเติม »

อุไรวรรณ เทียนทอง

นางอุไรวรรณ เทียนทอง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และเป็นภริยาของนายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอุไรวรรณ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

อีเอฟเอ็ม 104.5

อีเอฟเอ็ม เป็นสถานีวิทยุในเครือเอไทม์ มีเดีย ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีรูปแบบให้สาระบันเทิง การสัมภาษณ์ดารา ศิลปิน และเปิดเพลง อีเอฟเอ็ม เคยมีสัญญาสัมปทานกับกองทัพบกไทย โดยผ่านทางสถานีวิทยุกระจายเสียงในสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก และออกอากาศในระบบ ดิจิตอล เป็นคลื่นแรกในประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอีเอฟเอ็ม 104.5 · ดูเพิ่มเติม »

อดิศักดิ์ ไกรษร

อดิศักดิ์ ไกรษร เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นให้กับเมืองทอง ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก ได้รับฉายา "AK9" สโมสรที่ชื่นชอบของเขา คือ สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอดิศักดิ์ ไกรษร · ดูเพิ่มเติม »

อดุล วิเชียรเจริญ

ตราจารย์ อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2469 เป็นชาวเพชรบุรี คณบดีคนแรกของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ้นจากตำแหน่งคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอดุล วิเชียรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ อนันตกูล

นายอนันต์ อนันตกูล ราชบัณฑิต กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ที่จังหวัดชลบุรี เคยดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นเวลายาวนานถึง 4 ปี และดำรงตำแหน่ง ปลัดกระทรวงมหาดไทยอีก 2 สมัยรวมเวลาเกือบ 4 ปี นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่ง เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอนันต์ อนันตกูล · ดูเพิ่มเติม »

ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น

อร์โมนส์ วัยว้าวุ่น (Hormones) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุด ผลิตโดยจีทีเอชและนาดาวบางกอก สร้างเรื่องและเขียนบทโดยทรงยศ สุขมากอนันต์ โดยเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนนาดาวบางกอก ออกอากาศทางช่องโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียมและสถานีโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ฌอห์ณ จินดาโชติ

อห์ณ จินดาโชติ (เกิด 27 ตุลาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักแสดงและพิธีกร ชาวไทย เข้าสู่วงการและเริ่มเป็นที่รู้จักจากการแสดงละครเรื่อง กลิ้งไว้ก่อนพ่อสอนไว้ ในบทของกึกก้อง และละครเรื่อง เล่ห์รตี ในบทเสกข์ สุทธกานต์ ในปี 2558 และละครเรื่อง เงาอโศก ในบท มนไท ในปี 2559.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฌอห์ณ จินดาโชติ · ดูเพิ่มเติม »

ผัน จันทรปาน

นายผัน จันทรปาน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2481 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครองสูงสุด และเป็นตุลาการที่ได้เข้าร่วมตัดสิน "คดีซุกหุ้น" ของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผัน จันทรปาน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้บัญชาการทหาร

ผู้บัญชาการทหาร (Commander-in-chief) คือ ผู้ที่สามารถใช้อำนาจสูงสุดหรือกองกำลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้คือประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็นพลเรือนก็ได้ สำหรับในประเทศไทยมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ จอมทัพ ซึ่งเรียกว่า จอมทัพไทย โดยจอมทัพไทยไม่ใช่ยศทหาร ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คือ พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งเป็นทั้งประมุขและผู้นำทหารทั้งประเทศ ทรงดำรงพระยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอาก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผู้บัญชาการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ผู้หญิงถึงผู้หญิง

ผู้หญิงถึงผู้หญิง เป็นรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิง ที่มีรูปแบบการนำเสนอเป็นการนำข่าวรายวันที่เกี่ยวข้องกับผู้หญิงมาบอกเล่าผ่านมุมมองของพิธีกร หรืออาจมองว่าเป็นนิตยสารเกี่ยวกับผู้หญิงทางโทรทัศน์ เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผู้หญิงถึงผู้หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ประกาศข่าว

ผู้ประกาศข่าว เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ประกาศข่าวสารต่าง ๆ สู่ประชาชนผู้รับสาร ผ่านสื่อมวลชนประเภทต่างๆ คือ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอาจหมายถึงผู้ดำเนินรายการประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน ด้วย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผู้ประกาศข่าว · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ มะลูลีม

ตราจารย์ ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการด้านตะวันออกกลางศึกษา อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กรรมการในคณะกรรมมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการลอบวางระเบิด และก่อความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจรัญ มะลูลีม · ดูเพิ่มเติม »

จรัล ดิษฐาอภิชัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรัล ดิษฐาอภิชัย (เกิด 6 กรกฎาคม 2490 ที่จังหวัดพัทลุง) ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติโดยเป็นหนึ่งใน 11 คน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติชุดแรกของประเทศไทย ซึ่งตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจรัล ดิษฐาอภิชัย · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ห่วงทรัพย์

นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 18 (เขตคลองสามวา) สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจิรายุ ห่วงทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์

นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (15 มีนาคม 2499 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 6 สมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขานโยบายสาธารณะและการวางแผน จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) นายจุรินทร์ เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยรัฐบาลชวน 1 และ ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลชวน 2 นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล และ ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมฝ่ายค้าน (2 สมัย) ด้านการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร นายจุรินทร์ เคยได้รับการโหวตจาก สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ให้เป็นคณะกรรมาธิการดีเด่น จากบทบาทใน คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สภาผู้แทนราษฎร กรณีดำเนินการทวงคืน ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ จากสหรัฐอเมริกา จนเป็นผลสำเร็จ ตั้งแต่การเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายจุรินทร์ได้ย้ายไปลงสมัครในระบบบัญชีรายชื่อ โดยให้ นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์ น้องชายลงสมัคร..เขต แทน ล่าสุดในการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

จีจ้า ดื้อสวยดุ

ีจ้า ดื้อสวยดุ เป็นภาพยนตร์ไทยที่กำหนดฉายในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2009 นำแสดงโดยจีจ้า ญาณิน นักแสดงหญิงชาวไทย นอกจากนี้ ภาพยนตร์ยังมีฉากการต่อสู้ระหว่าง หมัดเมา (醉拳 - Drunken Fist) จากประเทศจีน และ มวยเมา (เมรัยยุทธ - Drunken Muay Thai) จากประเทศไทยเป็นครั้งแรกของโลกอีกด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ภาพยนตร์สามารถทำรายได้รวมกว่า 24.5 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจีจ้า ดื้อสวยดุ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล

วัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนของสโมสรฟุตบอลประจวบ เอฟซี ในไทยลีก โดยเคยเป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทยที่เป็นที่รู้จักจากการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 1998 โดยการทำประตูจากการยิงฟรีคิกนอกเขตโทษ ทำให้ทีมชาติไทยสามารถเอาชนะเกาหลีใต้ได้ไป 2-1 ในรอบก่อนรองชนะเล.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญาเรศ เองตระกูล

ัญญาเรศ เองตระกูล นามสกุลเดิมก่อนสมรส รามณรงค์ ชื่อเล่น ธัญญ่า เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เธอเกิดที่อินเดียน่าประเทศสหรัฐอเมริกา บิดาคือสุรพันธ์ รามณรงค์ มารดาคือ Jacklin ซึ่งเป็นชาวอเมริกันพื้นเพครอบครัวของคุณพ่อ คือคุณปู่ของคุณธัญญ่านั้นเป็นชาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ธัญญ่าเป็นลูกสาวคนกลาง ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยพี่ชายคือ แดนนี่ และน้องสาวคือ มัยร่า ซึ่งธัญญาเรศมีผู้จัดการส่วนตัว คือ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์,มีหลานสาวคืออริต์ตา รามณรงค์ และหลานชาย แดนอรุณ รามณรง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธัญญาเรศ เองตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (เกิดวันที่) ประธานหลักสูตรรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นศิษย์เก่าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2524-2527 (สิงห์แดง 33) หลังจากนั้นศึกษาต่อปริญญาโทในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปี 2530-2534) และปริญญาเอก สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปี 2546-2550) ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มีผลงานวิทยานิพนธ์ด้านประวัติศาสตร์การเมืองที่สำคัญคือเรื่อง รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 ซึ่งต่อมาจะจัดพิมพ์ในชื่อ 2475 และ 1 ปีหลังการปฏิวัติ อันสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการปฏิวัติ 2475 และการล้มลงของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งยังเสนอให้เห็นถึงการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ในช่วง 1 ปีหลังการปฏิวัติที่ดำเนินไปอย่างซับซ้อน และยังแสดงให้เห็นว่า การรัฐประหารครั้งแรกในการเมืองไทยภายใต้ระบอบประชาธิปไตย ก็คือ การรัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกาวันที่ 1 เมษายน 2476 โดยนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของไทย พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ผลงานวิชาการต่อๆ มา ยังคงเป็นการศึกษาการเมืองไทย ที่เน้นศึกษาผ่านผู้นำทางการเมืองไทย เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายปรีดี พนมยงค์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพลถนอม กิตติขจร ฯลฯ ซึ่งผู้นำทหารการเมืองคนท้ายสุดนี้ ได้กลายเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกในชื่อ “บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรภัทร์ สัจจกุล

ีรภัทร์ สัจจกุล (ตุ้ย) เกิดเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรชายของนายธวัชชัย สัจจกุล อดีตผู้จัดการฟุตบอลทีมชาติไทยและนักการเมือง เป็นนักแสดง นักร้อง และ ผู้จัดการสถานีวิทยุซี้ด เอฟเอ็ม 97.5 ในเครืออสมท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธีรภัทร์ สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

ธีรยุทธ บุญมี

ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธีรยุทธ บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ธีระชัย แสนแก้ว

นายธีระชัย แสนแก้ว อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธีระชัย แสนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย วินิจจะกูล

ตราจารย์ ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชาวไทย เกิดและโตที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย อดีตเป็นผู้นำนักศึกษาซึ่งถูกจับกุมในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ต่อมาย้ายไปสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประวัติศาสตร์ไทย ที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน สหรัฐอเมริกา เขามีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษในด้านประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและวิทยาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคต้นสมัยใหม่และสมัยใหม่ (คริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20) โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการปะทะกันทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับอารยธรรมตะวันตก ประวัติศาสตร์ความคิดและการเมืองวัฒนธรรมของสยาม/ไทย ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ชาตินิยม ประวัติศาสตร์ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ความทรงจำ ประวัติศาสตร์บาดแผล และวิธีที่สังคมจัดการกับอดีตที่เป็นปัญหาเหล่านั้นDepartment of History,, University of Wisconsin-Madison, เรียกดู 6 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธงชัย วินิจจะกูล · ดูเพิ่มเติม »

ธนษิต จตุรภุช

นษิต จตุรภุช (ชื่อเล่น ต้น) เป็นนักร้องชาวไทย จากรายการเรียลลิตี้โชว์ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 8 ซึ่งจัดโดย ทรูวิชั่นส์ มีรหัสประจำตัวคือ V9 มาจากออดิชั่นสดจากภาคกลาง ได้ตำแหน่ง ชนะเลิศของทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 8.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนษิต จตุรภุช · ดูเพิ่มเติม »

ธนากร โปษยานนท์

นากร โปษยานนท์ (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2515) ชื่อเล่น อู๋ เป็นนักแสดง นักพากย์หนัง ดีเจ นายแบบ พิธีกร และนักบริหารของ 2 บริษัท คือ Spy Soft by BECI บริษัทผู้ผลิตคอนเทนท์ - แอปพลิเคชันบนมือถือ และ Charm Entertainment บริษัทครีเอทีพ โปรดักชั่นเฮ้าส์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนราชินี ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และระดับอุดมศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกบริหารรัฐก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนากร โปษยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ

นาธร จึงรุ่งเรืองกิจ (ชื่อเล่น:เอก) เป็นนักธุรกิจและนักกิจกรรมชาวไทย อดีตรองประธานกรรมการบริหารกลุ่มบริษัทไทยซัมมิท ปัจจุบันดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคอนาคตใหม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงเทพ

นาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED) จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน" รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนาคารกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนาคารแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารโลก

นาคารโลก (World Bank) หรือเรียกว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ (International Bank for Reconstruction and Development; IBRD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประเทศมหาอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ มีสำนักงานใหญ่ตั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 188 ประเทศ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำหน่ายพันธบัตรในตลาดการเงินสำคัญของโลก ค่าบำรุงจากประเทศสมาชิก และเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนาคารโลก · ดูเพิ่มเติม »

ธเนศ วงศ์ยานนาวา

นศ วงศ์ยานนาวา (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2500) เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการชาวไทยที่มีความถนัดและผลงานทางด้านสังคมศาสตร์โดยเฉพาะด้านปรัชญาการเมือง ทฤษฎีสังคม ประวัติศาสตร์ความคิด โดยเฉพาะในเรื่องของแนวคิดหลังยุคนวนิยมหรือ โพสต์โมเดิร์น จนได้รับฉายาว่าเป็น "'เจ้าพ่อโพสต์โมเดิร์น'" คนหนึ่งของเมืองไทย นอกจากนี้เขายังมีความสนใจในเรื่องของวัฒนธรรมทางสังคมเช่น ดนตรี ภาพยนตร์ เพศและ อาหาร อีกด้วย ธเนศยังเป็นบรรณาธิการรัฐศาสตร์สารของคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับดนตรีและภาพยนตร์ในสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์โดยใช้นามปากกา "ธนา วงศ์ญาณณาเวช" ซึ่งเป็นคำผวนของชื่อจริงและนามสกุลของธเนศเอง นอกจากนี้ธเนศยังมีรายการ ทางช่องใน Youtube ทำร่วมกับแขกผู้ดำเนินรายการอื่นๆ และยังมีกลุ่ม ใน Facebook ที่ซึ่งสมาชิกจะสามารถถามคำถามต่างๆได้ตั้งแต่ก้อนขี้หมายันก้อนอุกาบาต โดยอาจารย์จะเข้ามาตอบคำถามเพื่อคลายข้อสงสัยนั้น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธเนศ วงศ์ยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4 จัดระหว่างวันที่ 18 มิถุนายน - 8 กันยายน พ.ศ. 2550 ฤดูกาลนี้สร้างความประหลาดใจด้วยการเริ่มต้นการแข่งขันด้วยจำนวนนักล่าฝันมากที่สุดถึง 20 คน ซึ่งจะโหวตคัดเลือกผู้ที่มีคะแนนสูงสุด 12 คนให้อยู่ต่อในสัปดาห์ถัดไป และฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่เปลี่ยนแปลงการออกอากาศคอนเสิร์ตสดจากช่อง True Inside เป็นช่อง True Music ในทุกวันเสาร์ เวลา 21.00 น. - 23.30 น. และออกอากาศสดพร้อมกับโมเดิร์นไนน์ ทีวี และสดผ่านเสียงทางคลื่นวิทยุ True Music Radio FM 93.5 เมกะเฮิตรซ์(สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย) และนอกจากนั้นแล้วยังมีการจัดสัปดาห์พิเศษเพื่อเป็นคอนเสิร์ตการกุศลตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน - 15 กันยายน พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 เริ่มเข้าบ้านวันที่ 29 มิถุนายน 2552 มีจำนวนนักล่าฝัน 12 คน เป็น ชาย 5 คน หญิง 7 คน จากออดิชั่นสด 10 คนและจาก ออนไลน์ 2 คน ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่นักล่าฝันเริ่มต้นมีจำนวนเท่าเดิมคือ 12 คน หลังจากในซีซั่นที่ 3, 4 และ 5 มีนักล่าฝันเริ่มต้นมากกว่า 12 คน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหานักร้องเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุด ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งที่สองทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลักและอายุของผู้เข้าสมัครเปลี่ยนเป็น 15-25 เป็นซีซั่นที่สองจากเดิมที่ 18-28 ปี และสิ่งที่แตกต่าง คือ การคัดเลือกจากสถาบันการศึกษา 12 คนและออดิชั่นอีก 12 คนรวมเป็น 24 คน ที่จะได้เข้าร่วมรายการทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 แต่เนื่องจากผู้สมัครออดิชั่นทางสถาบันมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะเป็นนักล่าฝันเพียง 9 คน ทำให้มีผู้มีสิทธิ์ที่จะเข้าบ้านจากออดิชั่นสดและคลิปรวม 15 คนรวมเป็น 24 คนเท่าเดิม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ทวีศักดิ์ กออนันตกูล

ร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ทวีศักดิ์ กออนันตกูล (24 สิงหาคม พ.ศ. 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของสมาคมผู้ประกอบการระบบรักษาความปลอดภัยไทย กรรมการอิสระและกรรมการบริหารธนาคารไทยพาณิชย์เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทวีศักดิ์ กออนันตกูล · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทีเอ็นเอ็น24

นีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น24 (TNN24) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2550 เดิมชื่อ ยูบีซี นิวส์ (UBC News) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ทรู นิวส์ 24 ทรู นิวส์ 2 (True News 24) True news 2 แล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบันในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 ทีเอ็นเอ็นนำเสนอรายการข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน ตลอด 24 ชั่วโมง ผ่าน 2 ช่องรายการ คือช่อง ทีเอ็นเอ็น24 (ออกอากาศทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 7) และ ทีเอ็นเอ็น2 (ออกอากาศทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 8) ต่อมา เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 ในโอกาสครบรอบ 2 ปี สถานีฯ เปิดตัวเว็บไซต์ เพื่อการนำเสนอข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 TNN24 ได้มีการนำเสนอเนื้อหาผ่านทางสถานีวิทยุ TNN RADIO ทางสถานีวิท.2 FM 103 อีกด้วย ต่อมาเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2553 TNN24 ได้เริ่มส่งสัญญาณการออกอากาศในระบบ Free To Air เพื่อขยายฐานสู่ผู้ชมทั่วประเทศและทั่วโลก ท่านสามารถรับชม TNN24 ผ่านทางจาน DTV และ PSI ช่อง 60 หรือที่ระบบ KU-Band ความถี่ 12604 H 30000 และ C-Band ความถี่ 3600 H 26667 จากนั้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2555 TNN24 ได้ปรับปรุงระบบส่งสัญญาณและการออกอากาศใหม่ เป็นระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูง High Definition และเริ่มออกอากาศช่อง TNN24 ระบบ HD โดยระยะแรกออกอากาศทางระบบดิจิตอลเคเบิลใยแก้วของทรูวิชั่นส์ที่ช่อง 124 ต่อมาได้เปลี่ยนเลขช่องไปยังทรูวิชั่นส์ช่อง 121 แต่ในปัจจุบันออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ช่อง 111 ทั้งระบบจานดาวเทียม และระบบดิจิตอลเคเบิลใยแก้ว พร้อมกันนี้ช่อง TNN24 ระบบ SD ยังได้ปรับสัดส่วนภาพจาก 4:3 เป็น 16:9 อีกด้วย และเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 TNN24 ได้เริ่มออกอากาศมาสู่ทีวีในระบบดิจิตอลแบบภาคพื้นดิน โดยออกอากาศทางช่องหมายเลข16 ผ่านเสาสัญญาณ มัลติเพล็กซ์ 2 ของกองทัพบก จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทีเอ็นเอ็น24 · ดูเพิ่มเติม »

ฑิฆัมพร ฤทธิ์ธาอภินันท์

ทิฆัมพร ฤทธิ์ธาอภินันท์ (ชื่อเล่น: เชียร์) เกิดเมื่อวันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2530 เธอมีพี่น้องทั้งหมด 3 คน พี่ชาย 1 คนคือ แชมป์ เชิดเกียรติ ฤทธิ์ธาอภินันท์ น้องชาย 1 คนคือ ชู้ต เชิดชนินทร์ ฤทธิ์ธาอภินันท์ โดยเชียร์ เป็นลูกผู้หญิงคนเดียว และ เป็นลูกคนกลาง ศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสายทอง ระดับประถมศึกษาที่ โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส (ส.ว.ย.) ระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนศึกษานารี ระดับปริญญาตรีที่ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ ศูนย์ท่าพระจันทร์ - ศูนย์รังสิต สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร เมื่อวันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เวลา 13.00 น. ได้เกรดเฉลี่ยสะสม 3.04 ผลงานตอนอายุ 5 ขวบ ถ่ายโฆษณาแบรนด์ เครื่องดื่มรังนก - ซุปไก่สกัด ร่วมกับ (เจตริน วรรธนะสิน,กิตติศักดิ์ อัศวศิริชัยกุล) และโฆษณาโตโยต้าถ่าย MV เพลง เธอเป็นคนอย่างนี้ (ตั้งแต่เมื่อไหร่) ศิลปิน Pink ค่ายเพลง RS ตอนอายุ 14 ปี (ม.2).

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฑิฆัมพร ฤทธิ์ธาอภินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ณฐนนท ทวีสิน

ณหญิง ณฐนนท ทวีสิน อดีตปลัดกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และณฐนนท ทวีสิน · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์

ณัฏฐพงษ์ ชาติพงศ์ (ชื่อเล่น ฟรอยด์) เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2529 จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจาก โรงเรียนสตรีวิทยา 2 ระดับปริญญาตรีที่ คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากซิทคอม บ้านนี้มีรัก และภาพยนตร์เรื่อง พี่มาก..พระโขนง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐชา สวัสดิ์รักเกียรติ

ณัฐชา สวัสดิ์รักเกียรติ หรือชื่อเล่น "พลอย" (เป็นที่รู้จักในชื่อ "พลอย ลิตเติ้ลวอยซ์") นักร้องเด็กชาวไทยที่มีผลงานเพลงที่เป็นที่รู้จักอย่าง "เสียงเล็กๆ" "ปากกา" "กว่าจะรัก" "เป็นเธอได้ไหม" เป็นต้น ภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และณัฐชา สวัสดิ์รักเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และดิเรก ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย จิรา

นัย จิรา เกิดเมื่อวันที่ 13 มกราคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และดนัย จิรา · ดูเพิ่มเติม »

ครอบครัวข่าว 3

รอบครัวข่าว 3 เป็นตราสินค้าสำหรับรายการโทรทัศน์ประเภทข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน รวมถึงผู้ประกาศข่าว และพิธีกรข่าว ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อสมท, ช่อง 3 เอสดี และช่อง 3 แฟมิลี เริ่มใช้อย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เกิดจากแนวคิดของวิบูลย์ ลีรัตนขจร ผู้บริหารบริษัทในเครือเซิร์ช และมีคำขวัญว่า “เข้าใจทุกข่าว เข้าถึงทุกคน”.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และครอบครัวข่าว 3 · ดูเพิ่มเติม »

ความสุขของกะทิ (ภาพยนตร์)

วามสุขของกะทิ เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2552 ที่สร้างจากนวนิยายของ งามพรรณ เวชชาชีวะ เรื่อง ความสุขของกะทิ วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน หรือรางวัลซีไรต์ ปี 2549 กำกับภาพยนตร์โดย เจนไวย์ ทองดีนอก และมี คุณจาตุศม เตชะรัตนประเสริฐ และ คุณสุฐิตา เรืองรองหิรัญญา รับหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ ส่วนนักแสดงที่รับบทเป็น หนูกะทิ ตัวเอกของเรื่องคือ น้องพลอย-ธนิดา คงมีสุข ที่ผ่านการคัดเลือกนักแสดงจากทั้งทีมงานผู้กำกับ “เจนไวย์ ทองดีนอก” และเจ้าของบทประพันธ์ กฤษดา จากหนังสือพิมพ์ข่าวสด พูดถึงภาพยนตร์ว่า "หนังนำเสนอให้เห็นความผูกพันและความรักของครอบครัว ในขณะเดียวกันก็สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมไทย ทั้งเก่าและใหม่ผ่านทางเรื่องเล่าที่ราบรื่น กลมกลืน ซึ่งหาดูได้ยากในภาพยนตร์ไทย จึงเป็นของแปลกใหม่" ทั้ง "การนำเสนอนั้น ทั้งการถ่ายภาพ (และจัดแสง) การตัดต่อ และงานออกแบบ อยู่ในขั้นดีถึงดีมากทั้งหมด" ความสุขของกะทิ ออกฉายด้วยจำนวนโรงฉาย 69 โรง ในสัปดาห์แรกด้วยรายได้ 5.8 ล้านบาท ภาพยนตร์ทำรายได้รวม 10.95 ล้านบาท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และความสุขของกะทิ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คำสิงห์ ศรีนอก

ำสิงห์ ศรีนอก (25 ธันวาคม 2473 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ในปีพ.ศ. 2535 มีนามปากกาว่า ลาว คำหอม เกิดที่บ้านหนองบัวสะอาด ตำบลหนองบัวสะอาด อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ในครอบครัวชาวนา ต่อมาสำเร็จการศึกษาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับรางวัลนักเขียนเรื่องสั้นดีเด่น วาระครอบ 100 ปี เรื่องสั้นไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคำสิงห์ ศรีนอก · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะที่เปิดสอนด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน แห่งแรกของประเทศไทย หรือที่เรียกทั่วไปภายหลังเรียกว่า "นิเทศศาสตร์" ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสมาคมวารสารศาสตร์แห่งประเทศไทยด้วย โดยปัจจุบันเป็นสถาบันชั้นนำของประเทศ ที่ผลิตบุคลากร แถวหน้าเพื่อยกระดับวิชาชีพและวิชาการด้านสื่อสารมวลชน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเป็นคณะลำดับที่ 12 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคนเดือนตุลา · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายฝึกเขาชนไก่

อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ค่ายฝึกเขาชนไก่ เป็นสถานที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาวิชาทหาร สังกัดหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน กองทัพบกไทย ตั้งอยู่ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3199 (กาญจนบุรี–เขื่อนศรีนครินทร์) อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 150 กิโลเมตร ในเวลาที่ไม่มีการฝึกจะเปิดเป็นค่ายฝึกสำหรับประชาชนทั่วไปมีกิจกรรมเช่น การโดดหอสูง การยิงปืน การไต่เชือกข้ามลำน้ำ ชมพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ โดยในช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ของทุกปีจะเป็นค่ายฝึกนักศึกษาวิชาทหาร ค่ายฝึกเขาชนไก่ได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543 ชื่อ "เขาชนไก่" เชื่อว่าเป็นบ้านเดิมของขุนไกร พ่อของขุนแผน เป็นสถานที่ที่นางทองประศรี แม่ของขุนแผนพาขุนแผนหรือพลายแก้ว เมื่อครั้งยังเด็กมาหลบราชภัย เข้ามาตั้งรกรากอยู่ที่ "ดอนเขาชนไก่" บนยอดเขาชนไก่มีลานกว้าง มีหลักหินแสดงบริเวณอยู่ เชื่อกันว่า เป็นลานชนไก่ของขุนแผน โดยขุนแผนหลังเข้ารับราชการและได้รับตำแหน่งเลื่อนขึ้นเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี หรือ พระสุรินททร์ฤๅชัย ชาวบ้านจึงได้สร้างศาล"เจ้าพ่อเขาชนไก"่ ขึ้นมาสักการะ ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และค่ายฝึกเขาชนไก่ · ดูเพิ่มเติม »

งามพรรณ เวชชาชีวะ

งามพรรณ เวชชาชีวะ (ชื่อเล่น: เจน) นักเขียน นักแปลผู้มีชื่อเสียง และนักธุรกิจเกี่ยวกับลิขสิทธิ์วรรณกรรม เจ้าของ รางวัลซีไรต์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และงามพรรณ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันทอแสง

ตะวันทอแสง เป็นละครโทรทัศน์ แนวละครดราม่า-โรแมนติก สร้างจากบทประพันธ์ของ ปิยะพร ศักดิ์เกษม ซึ่งเป็นนวนิยายเล่มแรกที่เขียนขึ้น สร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 2 ครั้ง ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทั้งหม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และตะวันทอแสง · ดูเพิ่มเติม »

ต่อพงษ์ ไชยสาส์น

ต่อพงษ์ ไชยสาส์น อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นบุตรชายของนายประจวบ ไชยสาส์น อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และต่อพงษ์ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย ดุริยประณีต

ฉัตรชัย ดุริยประณีต (8 ธันวาคม พ.ศ. 2505 -) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลงอิสระสมาชิกวงเฉลียง เป็นชาวกรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนประสาทวิทยา มัธยมที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จบการศึกษาปริญญาตรีจาก คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจากจบการศึกษานกทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ และแต่งเพลงเก็บไว้ โดยแต่งกลางธนาคาร ต่อมา ประภาส ชลศรานนท์ หนึ่งในผู้ก่อตั้ง บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ชักชวนให้ฉัตรชัยเข้าวงการหลังจากได้ฟังตัวอย่างเพลง ตัวสำรอง และ อีกนาน ที่ฉัตรชัยแต่งขึ้น ทำให้ได้ทำงานในทีมแต่งเพลงของบริษัท คีตา และได้เข้ามาเป็นสมาชิกอีกคนหนึ่งของเฉลียงหลังจากดี้ - นิติพงษ์ ห่อนาค และ ศุ บุญเลี้ยง ยุติบทบาทกับเฉลียงลง ฉัตรชัยขึ้นเวทีกับเฉลียงครั้งแรกในฟรีคอนเสิร์ตที่ เซ็นทรัลลาดพร้าว และมีผลงานอัลบั้มกับเฉลียงทั้งหมดสองชุดคือ แบ-กบาล และ ตะไคร่น้ำสุดขอบฟ้.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และฉัตรชัย ดุริยประณีต · ดูเพิ่มเติม »

ประชากร ปิยะสกุลแก้ว

ประชากร ปิยะสกุลแก้ว เป็นนักแสดง และนายแบบชาวไทย สังกัดบริษัทโพลีพลัส เอ็นเตอร์เทนเมนต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประชากร ปิยะสกุลแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล รุจนเสรี

นายประมวล รุจนเสรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตหัวหน้าพรรคประชามติ เจ้าของผลงานหนังสือ พระราชอำน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประมวล รุจนเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ไชยสาส์น

นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประจวบ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ประทิน สันติประภพ

ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประทิน สันติประภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา เวสารัชช์

ตราจารย์ ดร.ปรัชญา เวสารัชช์ เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2488 เป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.).

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปรัชญา เวสารัชช์ · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล

นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล หรือชื่อเล่นว่า แมว (25 กรกฎาคม 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 5 มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน จนเคยได้รับการตั้งฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อธิบดีออนไลน์" โดยนางปริศนาค่อนข้างโดดเด่น จากบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และการรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาที่จับต้องไม่ได้ (ICH) ซึ่งต้องอาศัยเม็ดเงินเข้ามาผลักดันสนับสนุนจึงจะประสบความสำเร็จไทยรั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา กัมพูสิริ

ปริศนา กัมพูสิริ (ชื่อเล่น: โบว์ลิ่ง) เป็น นักแสดง นางแบบ ชาวไทย และเป็นนางสาวไทยประจำปี 2555 (คนที่ 48).

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปริศนา กัมพูสิริ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์

ตราจารย์ ดร.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ ราชบัณฑิตและนักวิจัยไทยอาวุโสที่มีผลงานเด่นด้านพลังงานและพลังงานทางเลือก ทั้งทางด้านวิชาการและการเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในคณะกรรมการด้านนโยบายพลังงานหลายชุด นอกจากนี้ยังมีผลงานด้านการจัดการการศึกษาและการวิจัยอีกด้วย ปัจจุบันเป็นอธิการบดี มหาวิทยาลัยชินวัตร พ.ศ. 2537.ดร.ปรีดา ได้รับรางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเภทบุคคล จาก มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย พ.ศ. 2549.ดร.ปรีดา ได้รับรางวัลเกียรติยศ PTIT Distinguished Fellow ประจำปี 2549-2550 จาก สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา ตันฑ์ศรีสุโรจน์

ปวีณา ตันท์ศรีสุโรจน์ หรือ ปริษา ครบนพรัตน์ (ชื่อเล่น: ปอย) เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2522 เป็นชาวจังหวัดตรัง ศึกษาระดับมัธยมที่โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (สาขาวิทยุโทรทัศน์) และ สำเร็จการศึกษาปริญญาโทจาก คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นนักแสดงภายใต้สังกัด โพลีพลัส ปัจจุบันหมดสัญญากับทางค่าย โพลีพลัส เป็นนักแสดงอิสร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปวีณา ตันฑ์ศรีสุโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัณฑพล ประสารราชกิจ

ปัณฑพล ประสารราชกิจ (ชื่อเล่น; โอม) เป็นนักร้องนำของวงค็อกเทล โดยได้ลงนามสัญญากับทางค่ายจีนี่เรคอร์ดส เมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยเป็นสมาชิกคนสุดท้ายของวง Cocktail รุ่นก่อตั้งสมัยเมื่อครั้งยังศึกษาระดับมัธยมปลายเมื่อปี พ.ศ. 2545 และมีส่วนในการเขียนเนื้อ และแต่งทำนองร้อง สำหรับเพลงเกือบทั้งหมดของวงมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีผลงานกับวง Cocktail มาแล้ว 3 อัลบั้ม และ 3 อีพี และเป็นนักแต่งเพลงอิสระให้กับอีกหลายศิลปิน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปัณฑพล ประสารราชกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ปาลิตา โกศลศักดิ์

ปาลิตา โกศลศักดิ์ นักแสดง นางแบบหญิงชาวไทย อยู่ในสังกัดค่ายสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปาลิตา โกศลศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปานระพี รพิพันธุ์

ร.ปานระพี รพิพันธุ์ (ชื่อเล่น: เอิ้น) อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 หลากหลายรายการ เช่นข่าวภาคค่ำ ข่าวภาคเที่ยง ข่าวภาคเช้า และอดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในรายการเรื่องเด่นเย็นนี้ รายการเที่ยงวันทันเหตุการณ์ นอกจากนี้ยังมีช่วงที่นำเสนอเกี่ยวกับเรื่องไอทีภายใต้ชื่อ iT24Hrs ทางช่อง 3 อีกด้วย ปัจจุบันเป็นพิธีกรและผู้ผลิตรายการ ไอที24ชั่วโมง ออกอากาศทางช่อง 9MCOT HD และเจ้าของเวปไซต์ it24hrs.com และรับงานพิธีกร นอกจากนี้ยังเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยอีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปานระพี รพิพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยวดี มาลีนนท์

ปิยวดี มาลีนนท์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 เป็นผู้จัดละคร และนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปิยวดี มาลีนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปตท.

ริษัท ปตท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปตท. · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นพดล เฮงเจริญ

นายนพดล เฮงเจริญ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2492 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง ตุลาการศาลปกครองสูง.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนพดล เฮงเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

นริศ ชัยสูตร

รองศาสตราจารย์ นริศ ชัยสูตร (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498 -) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2541-2547) อดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ปัจจุบัน อธิบดีกรมธนารักษ.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนริศ ชัยสูตร · ดูเพิ่มเติม »

นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ ภายหลังได้รับเลือกจากสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถานอีกด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วุฒิบัตรด้านโซเวียตศึกษา จากมหาวิทยาลัย Fribourg สวิตเซอร์แลนด์, ปริญญาโทด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และรัสเซียศึกษา จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นคณบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนรนิติ เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นลิน โฮเลอร์

นลิน โฮเลอร์ (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียงจากรายการ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ปัจจุบันมีผลงาน คือ เพลงAwaly liked ร่วมกับศิลปินวง IME.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนลิน โฮเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยมอบให้แก่นักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง ในกลุ่มวิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่มและเป็นผลงานวิจัยที่ทำสะสมกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นได้ ในอันที่จะทุ่มเทกำลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศชาต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

นันทิดา แก้วบัวสาย

นันทิดา แก้วบัวสาย เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย และ 1 ใน 3 ศิลปินหญิงสุดยอดคุณภาพระดับแนวหน้าของประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนันทิดา แก้วบัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย เดิมชื่อ นิติภูมิ นวรัตน์ (ชื่อเล่น: หมู; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2503 —) เกิดที่ บ้านดงกลาง ตำบลเขาสมิง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด แต่มาเติบโตที่บ้านซึ้งล่าง ตำบลวันยาว อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี บิดาชื่อ มิ่ง อยู่พร้อม มารดาชื่อ เชื้อน อยู่พร้อม (สกุลเดิมกลิ่นอยู่ มีเชื้อสายสกุลชัชวาลย์, พูลเกษม และเจริญลาภ) มีเชื้อสายฝ่ายแม่เป็นคนจีนแซ่ลี้ และบรรพบุรุษบางสายมาจากอินเดีย เขานับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากสถาบันเอเชียและแอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยมอสโก อดีตสหภาพโซเวียต เดิมนามสกุล อยู่พร้อม แต่เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของบิดาบุญธรรมคือ หม่อมราชวงศ์เชาวน์ นวรัตน์ และเมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย · ดูเพิ่มเติม »

นินนาท ชลิตานนท์

นินนาท ชลิตานนท์ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตปลัดกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนินนาท ชลิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

นงเยาว์ ชัยเสรี

ตราจารย์ คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนงเยาว์ ชัยเสรี · ดูเพิ่มเติม »

น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์

น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ เป็นละครซีรีส์ภาคต่อจาก ม.6/16 ร้ายบริสุทธิ์ ผลิตโดย บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 09:15 - 09:45 น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และน้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แบล็ควานิลลา

แบล็ควานิลลา (Black Vanilla) เป็นวงดนตรีสัญชาติไทย ประกอบด้วยสมาชิกคือ แบงค์ อธิกิตติ์ ไพบูลย์รัตนกิจ (ร้องนำ), กราฟ โอสธี ซุ่นมงคล (ร้องนำ, กีต้าร์), โดม ราชนันทร์ คุณาริยานุกูล (เบส) และ เอ อัคชิน วงศาลัคนากร (กลอง) จากสังกัดอาร์เอส มีผลงานอัลบั้มชุดแรกในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และแบล็ควานิลลา · ดูเพิ่มเติม »

แอน ทองประสม

แอน ทองประสม เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และแอน ทองประสม · ดูเพิ่มเติม »

โชคทวี พรหมรัตน์

ทวี พรหมรัตน์ (ชื่อเล่น: โชค; เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2518) อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย ในตำแหน่งกองหลัง มีฉายาในวงการฟุตบอลว่า "นกกระยางดำ" ปัจจุบันทำหน้าที่ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนให้กับทีมชาติไทยชุดใหญ่ และเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้กับทีมชาติไทยชุด U-23 ที่แข่งขันในฟุตบอลซีเกมส์ 2015 โชคทวี เคยเล่นฟุตบอลให้กับสโมสรธนาคารกสิกรไทย, กรุงเทพคริสเตียน และได้ไปเล่นในต่างประเทศกับสโมสรทัมปิเนสโรเวอร์ของสิงคโปร์, ฮหว่างอัญซาลายของ เวียดนาม และ ยะโฮร์บาห์รูของ มาเลเซีย อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในนักเตะของสโมสรฟุตบอลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ชุดที่ได้แชมป์ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร เมื่อฤดูกาล 2551 ก่อนจะแขวนสตั๊ดในระดับลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 กับนนทบุรี เอฟซี ในปี 2553 โดยโชคทวีลงเล่นให้ทีมชาติไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 จนถึง พ.ศ. 2548 ได้เหรียญทองซีเกมส์ 2 สมัยในซีเกมส์ 1997 และ ซีเกมส์ 1999 และเคยเป็นกัปตันของทีมชาติไทยในการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2004 ที่ประเทศจีน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโชคทวี พรหมรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โพลีพลัส

ริษัท โพลีพลัส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด เป็นบริษัทผลิตสื่อบันเทิงรายใหญ่ของไทย ก่อตั้งโดยอรพรรณ วัชรพล เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2537 ด้วยทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท โพลีพลัส เริ่มต้นจากการผลิตรายการเด็กที่ชื่อ 7-4-28 ต่อมาพัฒนารูปแบบ เป็นรายการ ที่นี...มีเพื่อน ซึ่งจากรายการนี้ทำให้ได้รับรางวัล ผลงานสื่อมวลชนดีเด่น ครั้งที่ 12 ประเภทรายการโทรทัศน์ จากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ และคณะอนุกรรมการพิจารณาผลงานสื่อมวลชนดีเด่นเพื่อเยาวชน เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2537 ได้รางวัลเมขลา สาขารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชนดีเด่น เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2538 และ เกียรติบัตรจากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2538 ปัจจุบัน โพลีพลัสได้ผลิตรายการโทรทัศน์หลากหลายประเภท เพื่อนำเสนอผ่านทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ และ สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ไม่ว่าจะเป็นเกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตีโชว์, ทอล์คโชว์ และวาไรตี้โชว์ ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโพลีพลัส · ดูเพิ่มเติม »

โลกทั้งใบให้นายคนเดียว

ลกทั้งใบให้นายคนเดียว (Romantic Blue) ภาพยนตร์เรื่องแรกของค่าย อาร์เอ.ฟิล์ม โดยเป็นลำดับที่สองของ บริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น 1992 (เรื่องแรกคือ รองต๊ะแล่บแปล๊บ เมื่อ พ.ศ. 2535) แนวโรแมนติค ดราม่า แอ็คชั่น เข้าฉายครั้งแรกวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2538 และสามารถคว้ารางวัลตุ๊กตาทองมาได้ ก็เข้าฉายอีกครั้งในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2538 โดยสามารถทำรายได้ตลอดการฉายไปกว่า 55 ล้านบาท และเคยทำสถิติภาพยนตร์ไทยที่ทำรายได้สูงสุดตลอดกาลมาแล้ว.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโลกทั้งใบให้นายคนเดียว · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ พรโชคชัย

ณ พรโชคชัย (เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักวิชาการด้านอสังหาริมทรัพย์ การประเมินค่าทรัพย์สิน การพัฒนาการเมือง ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เคยลงสมัครรับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ในหมายเลข 4.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโสภณ พรโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

โน้ต-ตูน

น้ต-ตูน (Note Toon) เป็นศิลปินดูโอ้สัญชาติไทยประกอบด้วยสมาชิกคือโน้ต ณัฐกานต์ ประสพสายพรกุล และตูน สุภัชชา ปิตินันท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโน้ต-ตูน · ดูเพิ่มเติม »

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

ตราจารย์ ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และนักเขียนประจำนิตยสารวิภาษาเป็นนักวิชาการด้านการเมืองภาคประชาชนและเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีหลังสมัยใหม่ สัญวิทยา และหลังโครงสร้างนิยม ในวงวิชาการของประเทศไทย ที่ควบคู่ไปกับ นพพร ประชากุล และธเนศ วงศ์ยานนาวา เป็นต้น งานเขียนของไชยรัตน์ในเรื่องดังกล่าวจัดเป็นงานเขียนภาษาไทยที่บุกเบิกและสำคัญต่อทฤษฎีหลังสมัยใหม่ โดยเฉพาะหนังสือชื่อ "วาทกรรมการพัฒนา" ที่เป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่นำทฤษฎีกลุ่มหลังสมัยใหม่ของนักคิดสกุลฝรั่งเศสอย่าง มิเชล ฟูโกต์ มาใช้อธิบายการพัฒนาในกลุ่มประเทศโลกที่สาม เป็นต้น จัดเป็นงานเขียนยุคแรก ๆ ของการศึกษาแนวคิดหลังสมัยใหม่ในประเทศไทย หนังสือดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้เป็นตำราในการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาหลาย ๆ สาขาในประเทศไทยและถูกนำไปใช้อ้างอิงในวงวิชาการของไทยอยู่มาก ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ ปรัชญา วรรณกรรม สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ฯลฯ และมีอิทธิพลต่อความคิดนักวิชาการหัวก้าวหน้าหลายท่าน เช่น ยุกติ มุกดาวิจิตร, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ, จันทนี เจริญศรี เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ สุวรรณฉวี

ว่าที่ร้อยตรีไพโรจน์ สุวรรณฉวี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และแกนนำกลุ่มโคราช พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และไพโรจน์ สุวรรณฉวี · ดูเพิ่มเติม »

ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และไตรรงค์ สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

เบญจา หลุยเจริญ

นางเบญจา หลุยเจริญ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตอธิบดีกรมศุลกากร ก่อนจะลาออกจากราชการมารับตำแหน่งรัฐมนตรี ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเบญจา หลุยเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ สายเชื้อ

นายเชาวน์ สายเชื้อ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2472 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเชาวน์ สายเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษียร เตชะพีระ

ตราจารย์ เกษียร เตชะพีระ (เกิด 23 ธันวาคม 2500) เดิมชื่อ โต๊ะฮง แซ่แต้ บิดามารดา เป็นคนจีนแต้จิ๋ว เกิดและเติบโตย่านเยาวราชและเจริญกรุง เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเกษียร เตชะพีระ · ดูเพิ่มเติม »

เมธี ครองแก้ว

ตราจารย์ เมธี ครองแก้ว (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2485 กรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คู่สมรส นางกัลยา ครองแก้ว เมธี ครองแก้ว จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเวลลิงตัน และมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา รับราชการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย ได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ประจำ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2540 และยังดำรงตำแหน่ง นายกสมาคมเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย, ผู้อำนวยการสถาบันไทยคดีศึกษา และสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ เมธี ครองแก้ว ลงสมัครคัดเลือก เป็น ป.ป.ช. และคาดหวังว่าจะได้รับการคัดเลือกจากที่ประชุมวุฒิสภา ก่อนจะได้รับแต่งตั้งตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 ลงวันที่ 22 กันยายน 2549.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเมธี ครองแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต พุทธินันทน์

รวัต พุทธินันทน์ (ชื่อเล่น เต๋อ; เกิด (5 กันยายน พ.ศ. 2491-27 ตุลาคม พ.ศ. 2539) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ อดีตสมาชิกวงดิ อิมพอสซิเบิ้ล และวงโอเรียนเต็ล ฟังก์ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ (หรือที่รู้จักกันดีในนามจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม เมื่อ พ.ศ. 2526 เต๋อ เรวัต เป็นบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งวงการเพลงไทย เป็นโปรดิวเซอร์ นักดนตรี นักแต่งเพลงในตำนาน เป็นผู้ปฏิวัติวงการเพลงไทยให้ไปสู่ยุคทองแห่งความเจริญรุ่งเรือง และผู้ริเริ่มความทันสมัยของดนตรีสมัยใหม่ให้กับประเทศไทย เป็นผู้บุกเบิกแนวเพลงสตริงอันทันสมัยให้กับการเพลงไทย ผู้นำแนวเพลง ร๊อค ป๊อบ แดนซ์ โมเดิร์นแจ๊ส ฟังค์ ฯลฯ เข้ามาเป็นที่นิยมในไทย เป็นผู้มีคุณูปการ มหาศาลแก่วงการเพลงไทย เป็นผู้ปลุกปั้นศิลปินให้มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับ เป็นบุคคลตัวอย่าง แรงบันดาลใจให้กับนักร้องนักดนตรีของเมืองไทย มาจวบจนสมัยนี้.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเรวัต พุทธินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ. 2518 - 2523 เสกสรรค์มีความเห็นขัดแย้งหลายประการกับกรรมการกลางของพรรคฯ และต่อมาได้แยกตัวออกจากพรรค ฯ และได้รับนิรโทษกรรมในเวลาต่อมาจากคำสั่งที่ 66/2523 ในขณะที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสกสรรค์ ประเสริฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช

ริมศักดิ์ พงษ์พานิช (23 กรกฎาคม 2489 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการหลายจังหวั.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

เสรี วงษ์มณฑา

รองศาสตราจารย์ เสรี วงษ์มณฑา (เกิด: 14 มีนาคม พ.ศ. 2492 ที่: อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก) เป็นนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชนและการตลาด เป็นหนึ่งในกลุ่มนักวิชาการที่ต่อต้าน.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร และเข้าร่วมขับไล่ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์รายการ เกาที่คัน ร่วมกับ รณชาติ บุตรแสนคม ทุกวันศุกร์ 21:00–22:00 น. และ รายการคลายปม ร่วมกับ ร. ดร.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสรี วงษ์มณฑา · ดูเพิ่มเติม »

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484 - 2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

เสาวลักษณ์ ลีละบุตร

วลักษณ์ ลีละบุตร นักร้อง นักแต่งเพลง เป็นบุตรสาวของฉันทนา กิติยพันธ์ จบชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษาจากโรงเรียนราชินี ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกสาขาวิชาภาษาไทย เริ่มต้นผลงานเพลงในกลุ่ม สาว สาว สาว จากการชักชวนของคุณประเสริฐ พงษ์ธนานิกร (คุณระย้า) นักจัดรายการวิทยุและเจ้าของบริษัทรถไฟดนตรี ซึ่งในช่วงเวลา 9 ปี "สาว สาว สาว" มีผลงานเพลง 10 อัลบั้ม หลังจากอัลบั้มสุดท้ายของ "สาว สาว สาว" ในปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสาวลักษณ์ ลีละบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ อูนากูล

นาะ อูนากูล (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสนาะ อูนากูล · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ จามริก

ตราจารย์ เสน่ห์ จามริก เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ราษฎรอาวุโส นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ประะธานสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสน่ห์ จามริก · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอมี่ กลิ่นประทุม

อมี่ กลิ่นประทุม (ชื่อเล่น: เอมี่) มีชื่อจริงว่า เอมิกา กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 ที่นครลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา เป็นลูกครึ่งไทย-อเมริกัน พ่อเป็นชาวไทย แม่เป็นชาวอเมริกัน โดยย้ายมาอยู่เมืองไทยได้ตอนอายุ 9 ขวบ มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน มีน้องชาย 2 คน เป็นพี่สาวคนโต จบการศึกษาระดับประถมจาก โรงเรียนแย้มสอาด มัธยมจาก โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา และ บัณฑิตคณะศิลปศาสตร์ สาขาอังกฤษอเมริกันศึกษา (British And American Studies) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอมี่เป็น "หลานปู่" ของ นายทวิช กลิ่นประทุม อดีตนักการเมืองใหญ่ และเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท เทรลเลอร์ ทรานสปอร์ต เจ้าของกิจการชิพปิ้งและท่าเรือรายใหญ่ของไทยในยุคหนึ่ง และเป็นหลานอา นายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดราชบุรี เอมี่เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เริ่มจากการไปดูคอนเสิร์ต ของ บริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น แล้วมีโมเดลลิ่งมาขอถ่ายรูป หลังจากนั้นก็มีผลงานถ่ายมิวสิกวิดีโอของ RS หลายตัว ก่อนจะโดนคำชักชวนของจิตรลดา ดิษยนันทน์ บิ๊กบอสแห่งค่ายกันตนา และมีผลงาน ละครเรื่องแรกคือ เจ้าสาวของอานนท์ ต่อด้วยละครเรื่อง เลือกแล้ว..คือเธอ, มิติใหม่หัวใจเดิม, เงาปริศนา, ทายาทอสูร, ดาวหลงฟ้า ภูผาสีเงิน, ทับเทวา, ทายาทนิรนาม, แดนซ์ไม่เซ่อเลยเจอรัก, ดอกเบี้ยเคลียร์รัก, ลูกไม้หลากสี, เพื่อนรัก เพื่อนร้าย,กระดานสีรุ้ง, ฟ้าหินดินทราย, และผลงานอื่นๆอีกมากมายจนถึงปัจจุบัน ด้านชีวิตครอบครัว ปัจจุบันแต่งงานกับนักแสดงหนุ่ม ซี - ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์ หลังได้ฤกษ์แต่งวันที่ 8 เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเอมี่ กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าทอง ทองเจือ

ผ่าทอง ทองเจือ หรือที่รู้จักในนาม อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ท่านเป็นบุตรของ นายพานทอง ทองเจือ กับ นางไพบูลย์บุญ ทองเจือ สกุลเดิม: เนติกุล อาจารย์เผ่าทองจึงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ พระยาไพชยนต์เทพ (ทองเจือ ทองเจือ) ท่านเป็นต้นสกุล "ทองเจือ" และ ท้าวอนงค์รักษา (พร้อง ทองเจือ) อาจารย์เผ่าทองเป็นนักประวัติศาสตร์ไทย นักโบราณคดี พิธีกรและวิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ไทย ท่านมีชื่อเล่นว่า "แพน" เป็นน้องชายคนละแม่กับ ภิญโญ ทองเจือ อดีตนักแสดงละครโทรทัศน์ และ ปรางค์ทิพย์ ทวีพาณิชย์ เผ่าทองจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ระดับอุดมศึกษาจากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้วยความชอบในเรื่องโบราณคดีมาแต่เด็ก ๆ ขณะที่ศึกษาอยู่นั้นถืออาจารย์เผ่าทองเป็นบุคคลคณะแรก ๆ ที่ได้เข้าไปขุดค้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ที่จังหวัดอุดรธานีด้วย ในทางวิชาการเคยเป็นอาจารย์ในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทั่งอาจารย์เผ่าทองได้เป็นคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษตามสถาบันต่าง ๆ เช่น โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนจิตรลดา เป็นต้น ก่อนอาจารย์เผ่าทองจะเกษียณตัวเองออกมาก่อนอายุครบ 60 ปี ในแวดวงบันเทิงเคยเป็นนายแบบ พิธีกรและวิทยากรที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของไทยหลายรายการ อาทิ คุณพระช่วย ทางช่อง 9,มิติลี้ลับ ทางช่อง 7 อาจารย์เผ่าทองเคยเป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง ศิลามณี ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2551 อาจารย์เผ่าทองได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ฉันผู้ชายนะยะ ในปี พ.ศ. 2530 อาจารย์เผ่าทองได้เป็นผู้ติดต่อประสานงานและเป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เรื่อง Anna and the King ที่ได้เข้าไปถ่ายทำในประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2542 และ รอยไหม ในปี พ.ศ. 2554 กับช่อง 3 ด้วย ชีวิตส่วนตัว เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องผ้าไทยและเป็นเจ้าของ ห้องเสื้อเผ่าทอง ทองเจือ หรือ Paothong's PRIVATE COLLECTION ที่จังหวัดเชียงใหม่ รวมไปถึงห้างสรรพสินค้าชั้นนำ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงความเป็นมาของกรุงเทพมหานคร ที่ถนนราชดำเนิน ปัจจุบันอาจารย์เผ่าทองท่านมีปัญหาด้านสุขภาพ คือ เป็นโรคมะเร็งและมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ ลูคิเมีย โดยท่านเป็นมาตั้งแต่อายุ 37 ปี ที่เกือบจะเอาชีวิตไม่รอดจากโรคที่เป็น.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเผ่าทอง ทองเจือ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญจิตต์ ณ สงขลา

นายเจริญจิตต์ ณ สงขลา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (ครม.47, 49) และเป็นอดีตปลัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเจริญจิตต์ ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขมรัชต์ สุนทรนนท์

มรัชต์ สุนทรนนท์ (ชื่อเล่น: อ๋อง) เป็นนักจัดรายการวิทยุทางคลื่น 94 อีเอฟเอ็ม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเขมรัชต์ สุนทรนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เขมิศรา พลเดช

มิศรา พลเดช (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2538) ชื่อเล่น เบลล์ เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นที่รู้จักกันดีในละครซีรีส์เรื่อง ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น ส่วนสูง 160 ซม.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเขมิศรา พลเดช · ดูเพิ่มเติม »

เข็มอัปสร สิริสุขะ

็มอัปสร สิริสุขะ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2523) ชื่อเล่น เชอรี่ เป็นนักแสดงชาวไทย ผู้ชนะรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง สตางค์ ในปี 2543 และผู้เข้าชิงรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 ในสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละครเรื่อง กระทิง ในปี 2559.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเข็มอัปสร สิริสุขะ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)

อะเนชั่น (The Nation) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ซึ่งตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย โดยเป็นฉบับแรกที่มีชาวไทยเป็นเจ้าของ และเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกของเครือเนชั่น ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเดอะ เนชั่น (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8 เป็นการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปีที่ 8 โดยเริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8 · ดูเพิ่มเติม »

เตือนใจ ดีเทศน์

ตือนใจ ดีเทศน์ (สกุลเดิม: กุญชร ณ อยุธยา; เกิด: 8 เมษายน พ.ศ. 2495) เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงราย และเป็นนักพัฒนาสังคม ปัจจุบันเป็นกรรมการสิทธิมนุษยชน.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเตือนใจ ดีเทศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียง (วงดนตรี)

ฉลียง เป็นชื่อของวงดนตรีไทย ที่มีผลงานระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเฉลียง (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เนชั่นทีวี

นชั่นทีวี (Nation TV) เป็นสถานีโทรทัศน์ซึ่งที่นำเสนอรายการข่าวสาร โดยเอกลักษณ์ของคือ ข่าวเศรษฐกิจ การวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน และรายการเชิงข่าวเป็นหลัก แห่งแรกของประเทศไทย ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เริ่มส่งสัญญาณทางช่อง 8 ของสถานีโทรทัศน์เคเบิลยูบีซี เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเนชั่นทีวี · ดูเพิ่มเติม »

6.66 ตายไม่ได้ตาย

6.66 ตายไม่ได้ตาย ภาพยนตร์ไทยอยู่ในค่ายบริษัทของ สหมงคลฟิล์ม ร่วมกับบริษัทเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ได้ออกฉายแล้วเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ผู้กำกับภาพยนตร์คือ ทแกล้ว เรืองรัตน์ และเขียนบทภาพยนตร์ไทยโดย พัลลภ สินธุ์เจริญ และ สฤษดิ์รงค์ หยงสตาร์ ภาพยนตร์ทำรายได้ 16.21 ล้านบาท เป็นภาพยนตร์ที่เล่าเนื้อหาเกี่ยวกับความตาย โดยมีดาว นักข่าวสาวสายอาชญากรรม ได้พบเหตุการณ์ประหลาดหลังจากที่อาจารย์ดิน ซึ่งเป็นพ่อของเธอ ฆ่าตัวตายแต่ไม่ได้ตาย และเธอก็ได้พบกับคนที่ตายแต่ไม่ได้ตาย และเด็กที่จะเกิดกลับไม่ได้เกิด รวมไปถึงเลขปริศนา 6:66.

ใหม่!!: รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ6.66 ตายไม่ได้ตาย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อบุคคลเด่นในประชาคมธรรมศาสตร์รายนามศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่มีชื่อเสียงรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลสำคัญจากประชาคมธรรมศาสตร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »