โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ดัชนี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไท.

36 ความสัมพันธ์: ชัชชม กันหลงชัยชาญ ช้างมงคลชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์บุญชู จันทรุเบกษาพ.ศ. 2482พระมหากษัตริย์ไทยพะเนียง กานตรัตน์พิศิษฐ์ ศาลิคุปต์กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)กฤษณ์ สีวะรากวี สิงหะมังกร พรหมโยธียุทธศักดิ์ ศศิประภาวัฒนชัย วุฒิศิริวิมล วงศ์วานิชวิโรจน์ แสงสนิทสมบัติ รอดโพธิ์ทองสมุทร์ สหนาวินสฤษดิ์ ธนะรัชต์หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)อมร ศิริกายะอาทิตย์ กำลังเอกอุดมเดช สีตบุตรผิน ชุณหะวัณจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์จิร วิชิตสงครามธงชาติไทยถวิล รายนานนท์ถนอม กิตติขจรทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยาทวี จุลละทรัพย์นายกรัฐมนตรีไทยนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์โรช วิภัติภูมิประเทศเล็ก แนวมาลี

ชัชชม กันหลง

ลเอก ชัชชม กันหลง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและชัชชม กันหลง · ดูเพิ่มเติม »

ชัยชาญ ช้างมงคล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชัยชาญ ช้างมงคล (ชื่อเล่น: ช้าง, บิ๊กช้าง เกิด 25 มกราคม พ.ศ. 2500) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ราชองครักษ์เวรรองหัวหน้าผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557ปลัดกระทรวงกลาโหม อุปนายกสภาทหารผ่านศึกคนที่สอง ตุลาการศาลทหารสูงสุดนายทหารพิเศษ ประจำกรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช อดีตรอง ปลัดกระทรวงกลาโหม สมาชิก สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองกรรมการในคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าวกรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 อดีตผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนกลาโหม อดีตหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการประจำปลัดกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานตรวจสอบคดีทุจริต อุทยานราชภัก.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและชัยชาญ ช้างมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์

ลโท ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ (พ.ศ. 2439 - พ.ศ. 2532) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู จันทรุเบกษา

ลอากาศเอก บุญชู จันทรุเบกษา (11 พฤศจิกายน 2456-28 มกราคม 2519) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ คนที่ 6 และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายพจน์ สารสิน และรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและบุญชู จันทรุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พะเนียง กานตรัตน์

ลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2464 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนการบินประเทศอังกฤษ, Air Command and Staff College และ Tactical Air Command ประเทศสหรัฐอเมริกา, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ, โรงเรียนวิทยาลัยกองทัพบก, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. 2507 รับราชการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2484 ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ในยศ เรืออากาศตรี (ร.อ.ต.) จากนั้นได้เติบโตในหน้าที่ราชการเรื่อยมา ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ อาทิ เจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ, เสนาธิการทหารอากาศ, และผู้บัญชาการทหารอากาศ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2520 นอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, ตุลาการศาลทหารสูงสุด รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในสมัยรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยนั้น ได้เกิดเหตุกบฏ 9 กันยา ขึ้น ในวันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ที่ทหารบกเหล่าทหารม้าและทหารอากาศสังกัดอากาศโยธินกลุ่มหนึ่ง นำกำลังก่อการยึดอำนาจแต่ทว่าไม่สำเร็จ ซึ่งเหตุการณ์ได้จบลงที่ คณะทหารผู้ก่อการได้หลบหนีออกนอกประเทศไป และหลังเหตุการณ์นี้ พล.อ.อ.พะเนียง ได้ถูกเพ่งเล็งว่าเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อการครั้งนี้ด้วย ร่วมกับนายทหารชั้นผู้ใหญ่หลายคน อาทิ พล.อ.เสริม ณ นคร, พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์, พล.อ.ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา และ พล.อ.อ.อรุณ พร้อมเทพ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด ทางด้านชีวิตครอบครัว ได้สมรสกับคุณหญิงสุรนุช กานตรัตน์ (พ.ศ. 2467-พ.ศ. 2540) พล.อ.อ.พะเนียง กานตรัตน์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ด้วยโรคชรา ที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช สิริอายุได้ 89 ปี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพะเนียง กานตรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิศิษฐ์ ศาลิคุปต์

ลอากาศเอก พิศิษฐ์ ศาลิคุปต เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และเป็นอดีตเสนาธิการทหาร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและพิศิษฐ์ ศาลิคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)

กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defence) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ป้องกันประเทศ เพิ่มขีดความสามารถ และรักษาผลประโยชน์ของชาติ สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน และมิตรประเทศ เพื่อลดความหวาดระแวงสร้างสันติภาพ ให้ความสำคัญในการตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนภารกิจอื่นตามที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ และมีหน้าที่พิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการตามพระราชประสง.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกฤษณ์ สีวะรา · ดูเพิ่มเติม »

กวี สิงหะ

ลเรือเอก กวี สิงหะ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย พล.ร.อ.กวี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก และเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและกวี สิงหะ · ดูเพิ่มเติม »

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและมังกร พรหมโยธี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและยุทธศักดิ์ ศศิประภา · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนชัย วุฒิศิริ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและวัฒนชัย วุฒิศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิมล วงศ์วานิช

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิมล วงศ์วานิช (1 มีนาคม 2477 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 28 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535 - 30 กันยายน 2538 เป็นบุตร นายศิริ และ นางเอื้อน วงศ์วานิช ภริยาชื่อ พันตรีหญิง คุณหญิง มาลี วงศ์วาน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและวิมล วงศ์วานิช · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ แสงสนิท

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิโรจน์ แสงสนิท เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและวิโรจน์ แสงสนิท · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ รอดโพธิ์ทอง

ลตรี สมบัติ รอดโพธิ์ทอง เป็นอดีตแกนกบฏยังเติร์ก เมื่อปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมบัติ รอดโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมุทร์ สหนาวิน

ลเรือเอก สมุทร์ สหนาวิน (Samut Sahanavin) (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 - 28 ตุลาคม พ.ศ. 2547) อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมุทร์ สหนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · ดูเพิ่มเติม »

อมร ศิริกายะ

ลเรือเอก อมร ศิริกายะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและอมร ศิริกายะ · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ กำลังเอก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก อาทิตย์ กำลังเอก (31 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 19 มกราคม พ.ศ. 2558) อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเล.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและอาทิตย์ กำลังเอก · ดูเพิ่มเติม »

อุดมเดช สีตบุตร

ลเอก อุดมเดช สีตบุตร ราชองครักษ์พิเศษ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม กรรมการในคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ในคณะรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อุปนายกสภาทหารผ่านศึกคนที่หนึ่ง เป็นอดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,อดีตผู้บัญชาการทหารบก คนที่ 38, อดีตประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ประธานกรรมการ มูลนิธิอุทยานราชภักดิ์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร, อดีตประธานคณะกรรมการบริหารกิจการโทรทัศน์กองทัพบก, หัวหน้าศูนย์ติดตามสถานการณ์คณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและอุดมเดช สีตบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จิร วิชิตสงคราม

ลเอก จิร วิชิตสงคราม (? - พ.ศ. 2522) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม เสนาธิการกลาโหม และเสนาธิการกองทัพบก.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและจิร วิชิตสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล รายนานนท์

ลเรือเอกถวิล รายนานนท์ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2526) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายสัญญา ธรรมศักดิ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและถวิล รายนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ลเอก ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา (12 มกราคม พ.ศ. 2456 - ???) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ทวี จุลละทรัพย์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตเสนาธิการทหารอากาศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย เคยเป็นพระเอกภาพยนตร์ของ กองภาพยนตร์ทหารอากาศ เรื่อง "บ้านไร่นาเรา" เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและทวี จุลละทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ (พ.ศ. 2463 - พ.ศ. 2536) อดีตเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย ในรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ ช่วง..

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรช วิภัติภูมิประเทศ

ลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและโรช วิภัติภูมิประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก แนวมาลี

ลเอก นายกองใหญ่ เล็ก แนวมาลี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาไท.

ใหม่!!: รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเล็ก แนวมาลี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมรายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »