โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามรองประธานวุฒิสภาไทย

ดัชนี รายนามรองประธานวุฒิสภาไทย

รายนามรองประธานวุฒิสภาของไท.

27 ความสัมพันธ์: บุญชนะ อัตถากรพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)พรทิพย์ โล่ห์วีระ จันทร์รัตนปรีดาพิเชฐ พัฒนโชติพีระศักดิ์ พอจิตกมล เดชะตุงคะรายนามประธานวุฒิสภาไทยวุฒิสภาไทย ชุดที่ 1วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3วุฒิสภาไทย ชุดที่ 4วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8สหัส พินทุเสนีย์สุชน ชาลีเครือสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัยอาษา เมฆสวรรค์อุกฤษ มงคลนาวินทัศนา บุญทองครวญ สุทธานินทร์ประพันธ์ ธูปะเตมีย์นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์นิคม ไวยรัชพานิชเฉลิม พรหมเลิศ

บุญชนะ อัตถากร

ญชนะ อัตถากร (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2453-17 เมษายน พ.ศ. 2547) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ บญชนะ สมรสกับท่านผู้หญิงแส อัตถากร มีบุตรสาว คือ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ทักษิณา สวนานนท.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและบุญชนะ อัตถากร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)

ระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นบุตรพลโท เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับคุณใหญ่ (สกุลเดิม โอสถานนท์) เริ่มรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2476-2477) จากนั้นไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ระหว่าง..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)

มหาอำมาตย์เอก พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) (16 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและพระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

พรทิพย์ โล่ห์วีระ จันทร์รัตนปรีดา

นางพรทิพย์ โล่ห์วีระ จันทร์รัตนปรีดา อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดชัยภูมิ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่สอง และอดีตประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและพรทิพย์ โล่ห์วีระ จันทร์รัตนปรีดา · ดูเพิ่มเติม »

พิเชฐ พัฒนโชติ

นายพิเชฐ พัฒนโชติ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตรองหัวหน้าพรรคการเมืองใหม.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและพิเชฐ พัฒนโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พีระศักดิ์ พอจิต

ีระศักดิ์ พอจิต (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2503) เป็นรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติคนที่ 2 และกรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อัยการพิเศษประจำกรมช่วยราชการสำนักงานอัยการจังหวัดอุตรดิตถ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ นักกฎหมายชาวไทย เนติบัณฑิตไท.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและพีระศักดิ์ พอจิต · ดูเพิ่มเติม »

กมล เดชะตุงคะ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กมล เดชะตุงคะ อดีตประธานรัฐสภา อดีตประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ในการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและกมล เดชะตุงคะ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานวุฒิสภาไทย

ประธานวุฒิสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของวุฒิสภา หรือสภาสูงของไทย ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทย หรือสภาล่าง มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย วุฒิสภาไทย มีบัญญัติครั้งแรกไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและรายนามประธานวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 1

วุฒิสภาไทยชุดที่ 1 (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) หรือรู้จักกันในชื่อ..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3 ประกอบไปด้วยสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 120 ท่าน ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 4

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 4 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 100 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ได้รับโปรดเกล้าแต่งตั้ง เมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งประกอบไปด้วยสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 225 คนโดยได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 สิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ตามประกาศของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ รสช. ฉบับที่ 3.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 (22 มีนาคม พ.ศ. 2539 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2543) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ มีจำนวน 260 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8

มาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 (22 มีนาคม พ.ศ. 2543 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543 ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จำนวน 200 คน ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 315 วรรคห้า (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กำหนดให้สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้เริ่มนับตั้งแต่วันที่สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สิ้นสุดลง คือ ครบวาระ 4 ปีในวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สหัส พินทุเสนีย์

นายสหัส พินทุเสนีย์ เป็นอดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 2 อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสระแก้ว และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและสหัส พินทุเสนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชน ชาลีเครือ

นายสุชน ชาลีเครือ (12 มีนาคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานวุฒิสภา อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ เป็นสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งสมัยแรก (พ.ศ. 2543-2549) เป็นประธานวุฒิสภาคนที่สามของวุฒิสภาชุดนี้ สืบต่อจาก นายสนิท วรปัญญา และพลโทมนูญกฤต รูปขจร ก่อนหน้าจะดำรงตำแหน่งประฐานวุฒิสภา นายสุชนดำรงตำแหน่งรองประธานวุฒิสภาคนที่ 1.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและสุชน ชาลีเครือ · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย

รชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 เป็นกรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตรักษาการประธานวุฒิสภา อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา เป็นนักกฎหมายและเนติบัณฑิตไท.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย · ดูเพิ่มเติม »

อาษา เมฆสวรรค์

อาษา เมฆสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (จากการแต่งตั้ง).

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและอาษา เมฆสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อุกฤษ มงคลนาวิน

ตราจารย์พิเศษ อุกฤษ มงคลนาวิน อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา ผู้ก่อตั้งสำนักงานทนายความอุกฤษ มงคลนาวิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอิสระเพื่ออำนวยความยุติธรรม และเสริมสร้างสิทธิเสรีภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กอ.ยส.จชต.) และกรรมการสภากาชาดไทยนอกจากนั้นยังดำรงตำแหน่งประธานพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและอุกฤษ มงคลนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนา บุญทอง

รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา บุญทอง รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ คนที่ 2 เป็นอดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 2 เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา 2 สมัย และอดีตนายกสภาการพยาบาล 2 สมั.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและทัศนา บุญทอง · ดูเพิ่มเติม »

ครวญ สุทธานินทร์

ลเอก ครวญ สุทธานินทร์ (18 มิถุนายน พ.ศ. 2442 - ?) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 2 อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 และอดีตรองประธานวุฒิสภาคนที่ 2.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและครวญ สุทธานินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ ธูปะเตมีย์

ลอากาศเอก ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ (7 เมษายน 2470-) อดีต ผู้บัญชาการทหารอากาศ คนที่ 10 ดำรงตำแหน่งช่วงปี 2526-2530 อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 2 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบแต่งตั้ง.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและประพันธ์ ธูปะเตมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์

นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิคม ไวยรัชพานิช

นายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภาไทย และเป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดฉะเชิงเทรา ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและนิคม ไวยรัชพานิช · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม พรหมเลิศ

นายเฉลิม พรหมเลิศ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขาถูกตัดสินจำคุกเป็นเวลา 36 ปี ในคดีเกี่ยวกับการซื้อบริการจากเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี (คดีพรากผู้เยาว์) ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพักโทษ.

ใหม่!!: รายนามรองประธานวุฒิสภาไทยและเฉลิม พรหมเลิศ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »