โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

ดัชนี รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

149 ความสัมพันธ์: บางมด (แก้ความกำกวม)กรุงเทพมหานครวัดบพิตรพิมุขวรวิหารวัดบรมนิวาสราชวรวิหารวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวัดชัยชนะสงครามวัดบางกระดี่วัดบางเตยวัดบึงทองหลางวัดบุรณศิริมาตยารามวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหารวัดช่องลมวัดพรหมรังษีวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารวัดพระศรีรัตนศาสดารามวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดพิชยญาติการามวรวิหารวัดพุทธบูชาวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหารวัดกันมาตุยารามวัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหารวัดกุศลสมาครวัดภาวนาภิรตารามวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดมหรรณพารามวรวิหารวัดมหาพฤฒารามวรวิหารวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดมัชฌันติการามวัดมังกรกมลาวาสวัดยางบางจากวัดยานนาวาวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารวัดราชบุรณราชวรวิหารวัดราชสิทธารามราชวรวิหารวัดราชผาติการามวรวิหารวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารวัดราชนัดดารามวรวิหารวัดราชโอรสารามราชวรวิหารวัดราษฎร์ศรัทธาธรรมวัดสมณานัมบริหารวัดสระเกศราชวรมหาวิหารวัดสร้อยทองวัดสัมพันธวงศารามวรวิหารวัดสามพระยาวัดสิงห์วัดสุวรรณารามราชวรวิหารวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารวัดสุทธิวราราม...วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหารวัดหนังราชวรวิหารวัดอมรินทรารามวรวิหารวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารวัดอัมพวาวัดอินทราวาสวัดอนงคารามวรวิหารวัดอ่างแก้ววัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหารวัดจันทวงศาราม (กลาง)วัดจันทารามวรวิหารวัดธาตุทองวัดทองนพคุณวัดทุ่งเศรษฐีวัดดอกไม้วัดดาวดึงษารามวัดดุสิดารามวรวิหารวัดด่านวัดคฤหบดีวัดคูหาสวรรค์วรวิหารวัดคณิกาผลวัดตรีทศเทพวรวิหารวัดตลิ่งชันวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารวัดประดู่บางจากวัดปากบ่อวัดปากน้ำวัดปุรณาวาสวัดปทุมวนารามราชวรวิหารวัดปทุมคงคาราชวรวิหารวัดนรนาถสุนทริการามวัดนวลนรดิศวัดนวลนรดิศวรวิหารวัดนางนองวรวิหารวัดแสนสุข (แก้ความกำกวม)วัดใหม่เทพนิมิตรวัดโพธิ์แมนคุณารามวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหารวัดโคนอน (กรุงเทพมหานคร)วัดไผ่เงินโชตนารามวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหารวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารวัดเทพธิดารามวรวิหารวัดเครือวัลย์วรวิหารถนนหน้าพระลานแขวงบางบำหรุแขวงบางพลัดแขวงบางยี่เรือแขวงบางอ้อแขวงบางขุนเทียนแขวงบางค้อแขวงบางปะกอกแขวงบางไผ่แขวงบ้านช่างหล่อแขวงราษฎร์บูรณะแขวงลาดยาวแขวงศาลาธรรมสพน์แขวงสี่แยกมหานาคแขวงหลักสองแขวงหนองค้างพลูแขวงหนองแขมแขวงอรุณอมรินทร์แขวงจอมทองแขวงทรายกองดินแขวงทับช้างแขวงทุ่งครุแขวงท่าข้ามแขวงคลองบางพรานแขวงตลาดน้อยแขวงแสมดำเขตบางพลัดเขตบางกอกน้อยเขตบางกอกใหญ่เขตบางกะปิเขตบางรักเขตบางคอแหลมเขตบางซื่อเขตบางนาเขตบางแคเขตบางเขนเขตพระนครเขตพระโขนงเขตภาษีเจริญเขตวัฒนาเขตสวนหลวงเขตสัมพันธวงศ์เขตสาทรเขตหลักสี่เขตห้วยขวางเขตจอมทองเขตจตุจักรเขตธนบุรีเขตดอนเมืองเขตดุสิตเขตคลองสานเขตตลิ่งชันเขตปทุมวันเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ขยายดัชนี (99 มากกว่า) »

บางมด (แก้ความกำกวม)

งมด อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและบางมด (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร

วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร เดิมมีชื่อว่าวัดเชิงเลน มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข พระราชนัดดาซึ่งถ้าหากพูดตามประสาชาวบ้านก็คือ เป็นหลานน้าของรัชกาลที่ ๑ ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่แล้วถวายเป็นพระอารามหลวงแด่รัชกาลที่ ๑ ซึ่งพระองค์ได้ทรงพระราชทานนามวัดนี้ว่า วัดบพิตรพิมุข เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขพระองค์นี้ ไฟล์:พระสัมพุทธบพิตร พระประธานในพระอ.jpg|พระสัมพุทธบพิตร พระประธานในพระอุโบสถ ไฟล์:พระเจดีย์ วัดบพิตรพิมุข Pagoda.jpg|พระเจดีย์ ไฟล์:พระพุทธรูปปางลีลา Walking Buddha.jpg|พระพุทธรูปปางลีลา หน้าพระอ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบพิตรพิมุขวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร

วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดชัยชนะสงคราม

วัดชัยชนะสงคราม เดิมชื่อ "วัดตึก" สร้างขึ้นในบริเวณบ้านและที่ดินของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) แม่ทัพใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 3 ภายหลังจากเดินทางไปรบชนะญวนและเขมรกลับมา ได้มีจิตศรัทธายกที่ดินและบ้านถวายเป็นวัด ตั้งชื่อว่า "วัดชัยชนะสงคราม" เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งการมีชัยชนะสงคราม อยู่ในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ชัยชนะสงคราม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดชัยชนะสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดบางกระดี่

วัดบางกระดี่ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 41 หมู่ 8 ถนนบางกระดี่ แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบางกระดี่ · ดูเพิ่มเติม »

วัดบางเตย

วัดบางเตย เป็นวัดพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ในซอยนวมินทร์ 60 (วัดบางเตย) ถนนนวมินทร์ (สุขาภิบาล 1) แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร เป็นวัดที่เป็นศูนย์กลางของชุมชนย่านบึงกุ่ม โพธิ์แก้ว และนวมินทร์ เป็นวัดที่ส่งเสริมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาหลายด้าน เช่น การบวชปฏิบัติธรรม พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และงานบริการชุมชนทางด้านต่าง ๆ ทางศาสนา เป็นต้น ที่วัดมีเสาหงส์ที่เป็นเอกลักษณ์และมีประวัติความเป็นมาในการก่อสร้างตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบางเตย · ดูเพิ่มเติม »

วัดบึงทองหลาง

วัดบึงทองหลาง เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 1155 ถนนลาดพร้าว 101 วัดบึงทองหลาง แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เป็นวัดที่มีอดีตเกจิคณาจารย์อย่างพระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต) ศิษย์สำนักวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร โดยสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) ในฐานะพระอุปัชฌาย์ และพระศรีสมโพธิ (แพ ติสสเทวมหาเถร ที่ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้ส่งพระภิกษุพัก ธมฺมทตฺโต ในขณะนั้น มาพัฒนา ปกครองดูแลวัดบึงทองหลางในอดีต และพระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต) ได้วางรากฐานและพัฒนาวัดบึงทองหลางให้มีความเจริญก้าวหน้า ดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบึงทองหลาง · ดูเพิ่มเติม »

วัดบุรณศิริมาตยาราม

วัดบุรณศิริมาตยาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่บนถนนอัษฎางค์ แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างโดยเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ว่า กรมหมื่นเสนีเทพ (พระองค์เจ้าอสุนี) พระโอรสในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท เป็นผู้สร้างวัดขึ้นแต่ยังค้างอยู่ จนกระทั่งพระยามหาอำมาตย์ (ต่อมาคือ เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (บุญศรี ต้นสกุล บุรณศิริ)) ดำเนินการสร้างต่อจนเสร็จ ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดศิริอำมาตยาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อวัดมาเป็น วัดบุรณศิริมาตยาราม เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดบุรณศิริมาตยาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่าวัดกลางนา ต่อมาถูกยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดช่องลม

วัดช่องลม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดช่องลม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพรหมรังษี

วัดพรหมรังษี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพรหมรังษี · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก

วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็นวัดธรรมยุติกนิกาย ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำริให้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 และเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2485 สร้างในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เสนอคณะรัฐมนตรีให้สร้างวัดขึ้นบริเวณใกล้เคียงกับอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นอนุสรณ์การปกครองระบอบประชาธิปไตย และกำหนดให้แล้วเสร็จทันวันชาติ คือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้สร้างวัดขึ้นโดยให้ชื่อว่า วัดประชาธิปไตย ระหว่างการก่อสร้างพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ขณะมียศเป็นนาวาเอก หลวงธำรงค์นาวาสวัสดิ์) ได้เดินทางไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศอินเดีย รวมทั้งกิ่งพระศรีมหาโพธิ 5 กิ่ง จากต้นที่สืบเนื่องมาจากต้นที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จประทับ และตรัสรู้ พร้อมดินจากสังเวชนียสถานคือสถานที่ประสูติ ที่ตรัสรู้ ที่แสดงปฐมเทศนา และที่ปรินิพพาน รัฐบาลได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ กิ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์และดินดังกล่าวมาประดิษฐานที่วัดซึ่งกำลังสร้างนี้ ได้มีการตั้งนามวัดว่า วัดพระศรีมหาธาตุ และถวายเป็นเสนาสนะเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระคู่บ้านคู่เมืองของแผ่นดินสยามที่พบ ณ วัดป่าเยี้ยะ(ป่าไผ่) จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาว.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพิชยญาติการามวรวิหาร

ระปรางค์วัดพิชยญาติการามวรวิหาร ภายในพระอุโบสถ วัดพิชัยญาติการามวรวิหาร รอยพระบาท 4 พระองค์ วัดพิชัยญาติการาม หรือ วัดพิชัยญาติ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เชิงสะพานพุทธ บริเวณที่เดิมเรียกว่าวงเวียนเล็ก ในแขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ตั้งอยู่ริมคลองบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน เดิมเป็นวัดร้าง แต่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) ครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา ได้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ประมาณ..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพิชยญาติการามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพุทธบูชา

ป็นวัดราษฎร์ สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดพุทธบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร หรือ "วัดกัลยาณ์" ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ฝั่งใต้.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดกันมาตุยาราม

ระประธานในอุโบสถ วัดกันมาตุยาราม เป็นวัดราษฎร์ขนาดเล็ก สังกัดธรรมยุตินิกาย ตั้งอยู่ริมถนนมังกร เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร แวดล้อมด้วยชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีน ในบริเวณใกล้เคียงกับวัดกุศลสมาครของฝ่ายอนัมนิกาย และวัดบำเพ็ญจีนพรตของฝ่ายจีนนิกาย วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดกันมาตุยาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร

วัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 686 ริมคลองบางพรมฝั่งเหนือ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย'.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดกาญจนสิงหาสน์วรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดกุศลสมาคร

วัดกุศลสมาคร (ซัก ต๊า ฮึง เกวิ๊ก โผ เพื๊อก ตื่อ) เป็นวัดฝ่ายมหายานสังกัดคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ 97 ราชวงศ์ แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งวัดเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดกุศลสมาคร · ดูเพิ่มเติม »

วัดภาวนาภิรตาราม

วัดภาวนาภิรตาราม (เดิมชื่อว่า วัดใหม่วินัยชำนาญ) ตั้งอยู่เลขที่ 187 ถนนบางกอกน้อย-ตลิ่งชัน แขวงบางขุนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นวัดที่สร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดภาวนาภิรตาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหรรณพารามวรวิหาร

วัดมหรรณพารามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยกรมหมื่นอุดมรัตนราษีที่มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอรรณพ เป็นพระราชโอรสในรัชกาลที่ 3 การก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยรัชกาลที่ 4 หลังจากกรมหมื่นอุดมรัตนราษีได้สิ้นพระชนม์แล้ว รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดมหรรณพาราม สถาปัตยกรรมภายในวัดมีทั้งแบบไทยและแบบที่ได้รับอิทธิพลมาจากจีน หลังคาของพระอุโบสถไม่มีช่อฟ้า ใบระกา มีพระประธานปั้นด้วยปูน ลงรักปิดทอง เป็นพระพุทธรูปสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนพระวิหารมีขนาดเท่ากับพระอุโบสถ รวมทั้งมีศิลปะแบบเดียวกัน มีพระพุทธรูปหล่อสมัยสุโขทัยนามว่า พระร่วงทองคำ ประดิษฐานอยู่ ปัจจุบันมี พระเทพสุตเมธี (บุญธรรม สุตธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดมหรรณพารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร

วัดมหาพฤฒาราม วรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บน ถนนมหาพฤฒาราม แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดมหาพฤฒารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมัชฌันติการาม

วัดมัชฌันติการาม หรือ วัดน้อย เป็นวัดราษฎร์ เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 ผู้ที่ให้การอุปถัมภ์วัด เริ่มต้นนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด มีผู้สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เข้ามาอุปถัมภ์ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดมัชฌันติการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดมังกรกมลาวาส

"ซำป้อหุกโจ้ว" ชื่อเรียกสามพระประธานประจำวัดมังกรกมลาวาส วัดมังกรกมลาวาส หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ (ตัวเต็ม: 龍蓮寺, ตัวย่อ: 龙莲寺, พินอิน: Lóng lián sì หลงเหลียนซื่อ, ฮกเกี้ยน: เล้งเหลียนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: เล่งเน่ยยี่, สำเนียงกวางตุ้ง: หล่งลิ่นจี๋, สำเนียงฮากกา: หลุ่งเหลี่ยนซื้อ) เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “เน่ย” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ยี่” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดมังกรกมลาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดยางบางจาก

วิหารหลวงพ่อนพเก้า หลวงพ่อนพเก้า วัดยางบางจาก เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี ติดคลองบางจาก ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 128 ซอยเพชรเกษม 28 ถนนเพชรเกษม แขวงคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร สังกัดมหานิก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดยางบางจาก · ดูเพิ่มเติม »

วัดยานนาวา

วัดยานนาวา พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ติดถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณมีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ "วัดคอกควาย" เนื่องจากมีชาวทวายมาลงหลักปักฐานอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และชาวทวายจะนำกระบือที่เลี้ยงไว้มาทำการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน หมู่บ้านบริเวณนั้นจึงได้ชื่อเรียกกันต่อมาว่า "บ้านคอกควาย" ในสมัยกรุงธนบุรีได้รับการยกฐานะวัดคอกควายขึ้นเป็นพระอารามหลวง เรียกชื่อใหม่ว่า "วัดคอกกระบือ" ต่อมารัชกาลที่ 1 ทรงสร้างพระอุโบสถใหม่ ครั้นถึงรัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์และสร้างเรือสำเภาพระเจดีย์แทนพระสถูปเจดีย์ทั่วไป เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เห็นรูปแบบเรือสำเภาซึ่งกำลังจะหมดไปจากเมืองไทย จึงได้เปลี่ยนชื่อจากวัดคอกกระบือเป็น "วัดยานนาวา" ด้านในมีพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้าให้สักการ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร หรือ วัดระฆัง, วัดหลวงพ่อโต ตั้งอยู่เลขที่ 250 แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร อยู่ในเขตการปกครองคณะสงฆ์มหานิกายภาค 1 วัดแห่งนี้เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา เดิมชื่อ วัดบางว้าใหญ่ (หรือบางหว้าใหญ่) ในสมัยธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสร้างพระราชวังใกล้วัดบางว้าใหญ่ โปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวงและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วัดบางว้าใหญ่อยู่ในพระอุปถัมภ์ของเจ้านายวังหลัง คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี (สา) พระเชษฐภคินีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเป็นพระชนนีของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงมีตำหนักที่ประทับอยู่ติดกับวัด ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดร่วมกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และได้ขุดพบระฆังลูกหนึ่ง ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้นำไปไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยทรงสร้างระฆังชดเชยให้วัดบางว้าใหญ่ 5 ลูก จากนั้นได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดระฆังโฆสิตาราม” นอกจากเป็นเพราะขุดพบระฆังที่วัดนี้และเพื่อฟื้นฟูแบบแผนครั้งกรุงศรีอยุธยาที่มีวัดชื่อวัดระฆังเช่นกัน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อ “วัดระฆังโฆสิตาราม” เป็น “วัดราชคัณฑิยาราม” (คัณฑิ แปลว่าระฆัง) แต่ไม่มีคนนิยมเรียกชื่อนี้ ยังคงเรียกว่าวัดระฆังต่อมา วัดระฆังโฆสิตารามมีหอพระไตรปิฎกซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงามมาก เคยเป็นพระตำหนักและหอประทับนั่งของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขณะทรงรับราชการในสมัยธนบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้รื้อมาถวายวัด เมื่อเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้ว มีพระราชประสงค์จะบูรณปฏิสังขรณ์ให้สวยงามเพื่อเป็นหอพระไตรปิฎก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยมีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) เป็นผู้อำนวยการก่อสร้าง มีลักษณะผสมระหว่างสถาปัตยกรรมไทยกับสถาปัตยกรรมตะวันตก คือ ลักษณะภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมไทย ส่วนภายในออกแบบตกแต่งอย่างตะวันตก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่าวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม หมายถึง วัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง และมีมหาสีมาอันเป็นเสาศิลาจำหลักยอดเป็นรูปเสมาธรรมจักร 8 เสา ตั้งเป็นสีมาที่กำแพง 8 ทิศ “ราชบพิธ” หมายถึง พระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง บพิธ คำนี้มาจากภาษาบาลีคือ ปวิธะ ที่แปลว่าสร้าง ส่วน “สถิตมหาสีมาราม” หมายถึง พระอารามซึ่งมีสีมากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม นับเป็นพระอารามหลวงสุดท้าย ที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างตามโบราณราชประเพณีที่มีการสร้างวัดประจำรัชกาล.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชบุรณราชวรวิหาร

วัดราชบุรณราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย เดิมชื่อ "วัดเลียบ" เชื่อกันว่าพ่อค้าชาวจีนนาม "เลี้ยบ" เป็นผู้สร้างถวาย ตั้งอยู่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดนี้เป็นวัดหนึ่งตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ และวัดราชประดิษฐาน พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดเลียบ เสร็จแล้วพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชทานนามว่า "วัดราชบุรณะ" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากวัดตั้งอยู่ใกล้เคียงกับสถานที่สำคัญทางยุทธศาสตร์ คือ สะพานพระพุทธยอดฟ้า และ โรงไฟฟ้าวัดเลียบ สถานที่สำคัญ ๆ ของวัด รวมทั้งพระอุโบสถที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ฝีมือขรัวอินโข่ง จึงถูกระเบิดทำลายจนหมด ปัจจุบันวัดราชบุรณะได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งหม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชบุรณราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชสิทธารามราชวรวิหาร

วัดราชสิทธาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เดิมเรียกว่า วัดพลับ ตั้งอยู่ริมคลองวัดราชสิทธารามและคลองวัดสังข์กระจาย ซอยอิสรภาพ 23 (วัดราชสิทธาราม) ถนนอิสรภาพ แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชสิทธารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชผาติการามวรวิหาร

วัดราชผาติการามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนราชวิถี แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชผาติการามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

ผนังกรุหินอ่อนในพระวิหาร (พระอุโบสถ) และปาสาณเจดีย์ (เบื้องหลัง) อันเป็นสัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมที่สำคัญของวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม "พระพุทธสิหิงคปฏิมากร" พระประธานพระวิหารหลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้จำลองมาจากพระพุทธสิหิงค์ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดราชประดิษฐาน จึงทรงสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้ครบตามโบราณราชประเพณี และเพื่อพระอุทิศถวายแก่พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกายเพื่อที่พระองค์เองและเจ้านาย ข้าราชการ ที่จะไปทำบุญที่วัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายใกล้พระบรมมหาราชวังได้สะดวก วัดราชประดิษฐฯ จึงเป็นวัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายวัดแรกที่สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ในนิกายนี้ เพราะวัดอื่น ๆ ของฝ่ายธรรมยุตเป็นวัดที่แปลงมาจากวัดของมหานิกาย วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามสร้างขึ้นในที่ดินที่เคยเป็นสวนกาแฟของหลวงโดยก่อสร้างใน..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชนัดดารามวรวิหาร

วัดราชนัดดารามวรวิหาร หรือ "วัดราชนัดดา" ตั้งอยู่ใกล้กับป้อมมหากาฬ ติดกับลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ซึ่งเป็นพลับพลารับแขกเมือง เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ใกล้กับวัดเทพธิดาราม ขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชนัดดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาก่อนการสร้างกรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดจอมทอง ต่อมาพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงสถาปนาวัดจอมทองขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม เนื่องจากเมื่อครั้งที่ทรงยกทัพไปสกัดทัพพม่าที่ด่านเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรีใน พ.ศ. 2363 เมื่อกระบวนทัพเรือมาถึงวัดจอมทอง ฝั่งธนบุรีทรงหยุดพักและทำพิธีเบิกโขลนทวารตามตำราพิชัยสงคราม พร้อมทรงอธิษฐานขอให้การไปราชการทัพครั้งนี้ได้ชัยชนะ แต่ปรากฏว่าไม่มีทัพพม่ายกเข้ามา เมื่อยกทัพกลับ พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่และถวายเป็นพระอารามหลวง ได้รับพระราชทานนามใหม่ว่าวัดราชโอรส ซึ่งหมายถึง พระราชโอรสคือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ในปัจจุบันมี พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) เป็นเจ้าอาว.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม

วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดสมณานัมบริหาร

วัดสมณานัมบริหาร เป็นวัดมหายานในสังกัดคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ริมคลองผดุงกรุงเกษม แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่บรรจุอัฐิธาตุขององสรภาณมธุรส (บ๋าวเอิง) ซึ่งที่เคารพบูชาของบุคคลทั่วไป เดิมชื่อ วัดเกี๋ยงเพื้อกตื่อ ชาวญวนที่อพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นผู้สร้างขึ้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2449 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า วัดสมณานัมบริหาร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสมณานัมบริหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสร้อยทอง

วัดสร้อยทอง หรือ วัดสร้อยทองพระอารามหลวง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ วัดแห่งนี้เดิมชื่อ "วัดซ่อนทอง" เป็นวัดโบราณ ตั้งอยู่ที่ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร วัดแห่งนี้สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2394 โดยลูกหลานของเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา (แพ บุนนาค) ต่อมาในปี พ.ศ. 2484 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 วัดประสบภัยทางอากาศได้รับความเสียหายอย่างหนัก ในปลายปี พ.ศ. 2488 ประชาชนได้ช่วยกันบูรณะวัด และก่อสร้างอาคารเสนาสนะขึ้นใหม่ วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พร้อมกับการสร้างวัด ในปี พ.ศ. 2394 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย (ปัจจุบันโรงเรียนสมาคมพิทยากร ได้เป็นชื่อของโรงเรียนวัดวิมุตพิทยาราม) และมีวัดสร้อยทองที่นามพ้องกันอีกแห่งในจังหวัดปทุมธานี โดยชาวบ้านเรียกว่า วัดเสด็จ หลวงพ่อเหลือ ปัจจุบันวัดสร้อยทองเป็นวัดที่มีสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีขนาดใหญ่ มีการเรียนการสอนถึงระดับเปรียญธรรม ๙ ประโยค และมีพระภิกษุสามเณรสอบไล่พระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลีได้ทุกปี ที่ตั้ง ถนนประชาราษฎร์สาย1(บางโพ) แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสร้อยทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร

วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในย่านเยาวราช เดิมเป็นวัดราษฎร์ มีนามว่า วัดเกาะ หลักฐานในการสร้างวัดแต่เดิมไม่ปรากฏใครเป็นผู้สร้าง ทราบแต่ว่าเป็นวัดโบราณเก่าแก่ มีมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยา ก่อนสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี เหตุที่ได้ชื่อว่า วัดเกาะ เนื่องจากการที่มีคูคลองล้อมรอบเชื่อมต่อจากแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ทำการบูรณปฏิสังขรณ์วัดต่าง ๆ ใหม่หลายวัด ในส่วนของวัดเกาะ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุ้ย กรมหลวงพิทักษ์มนตรี ซึ่งมีศักดิ์เป็นพระเจ้าหลานเธอ ต้นราชสกุลมนตรีกุล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ทั้งวัด แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวง พระราชทานนามว่า "วัดเกาะแก้วลังการาม" ต่อมาในสมัยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯให้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่อีกครั้ง แล้วเปลี่ยนนามวัดใหม่ เป็น วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร เช่นในปัจจุบัน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯถวายผ้าพระกฐินที่วัดสัมพันธวงศ์วงศารามวรวิหาร รวมถึงวัดปทุมคงคาราม โดยทางชลมารค โดยเรือพระที่นั่งเทียบที่ศาลาท่าน้ำ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสามพระยา

วัดสามพระยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เดิมเป็นวัดราษฎร์ สถานที่ตั้งอยู่ที่ แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชาวบ้านในละแวกนั้นบ้างก็เรียกชื่อวัดว่า วัดสัก หรือ วัดบางขุนพรหม สันนิษฐานว่า สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ได้มีการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะ มาโดยลำดับ ครั้นต่อมา ในรัชกาลที่ ๓ ได้มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ประกอบด้วย พระยาราชภักดี (สิงห์ทอง) พระยาเทพอรชุน (ทองปาน) และพระยาราชวรานุกูล (ทองคำ) รวมสามคนพี่น้อง ตามประวัติ บิดาท่านชื่อ มะทอเปิ้น อพยพมาจากรามัญประเทศ แต่ มารดาท่านไม่ปรากฏนาม พี่น้องทั้งสาม ได้จัดสร้างวัดนี้ขึ้นใหม่ แล้วเสร็จจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นวัดหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มอบพระราชทานนามวัดว่า “วัดสามพระยา”.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสามพระยา · ดูเพิ่มเติม »

วัดสิงห์

วัดสิงห์ อาจหมายความถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร

วัดสุวรรณาราม ราชวรวิหาร หรือนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดสุวรรณาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ปัจจุบันตั้งอยู่ในซอยจรัญสนิทวงศ์ 32 ถนนจรัญสนิทวงศ์ ตรงข้ามกับแยกบางขุนนนท์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย โดยติดอยู่ริมคลองบางกอกน้อยฝั่งตะวันตก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดสุทัศนเทพวราราม หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วัดสุทัศน์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ที่มีอยู่เพียงไม่กี่แห่งของประเทศไทย และถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพระนครชั้นใน และอยู่มีสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นคือ เสาชิงช้า อยู่บริเวณหน้าวั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทธิวราราม

วัดสุทธิวราราม ตั้งอยู่บน ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 13 วา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2424 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยกรุงธนบุรี นับเป็นวัดประจำสกุล ณ สงขลา ในกรุงเทพมหานครอีกแห่งหนึ่งนอกจากวัดสุวรรณคีรี จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร

วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ อยู่เลขที่ 72 ถนนวังเดิม แขวงวัดอรุณราชวราราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร สร้างในสมัย กรุงศรีอยุธยา ยุคนั้นเป็นวัดราษฎร์ เรียกว่า วัดเจ๊สัวหง หรือ แจ๊สัวหง หรือ เจ้าสัวหง หรือ วัดขรัวหง เพราะตั้งตามชื่อของเศรษฐีชาวจีนผู้สร้าง คือ นายหง วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร วัดหลวงชั้นโท คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งตามทะเบียนเลขที่ ๑๐๒ ถนนวังเดิม ๒ หรือ ถนนอิสรภาพ ๒๘ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ใกล้กับวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร และ กองทัพเรือ (พระราชวังธนบุรีเดิม) ตั้งอยู่บนเนื้อที่ขนาด ๔๖ ไร่ ๑ งาน ๒๓ ตารางวา จากหลักฐานจดหมายเหตุในรัชกาลที่ ๔ ได้บันทึกไว้ว่า วัดหงส์รัตนารามนี้ พื้นที่วัดเดิมเป็นของโบราณมีมานานสำหรับเมืองธนบุรี คำคนแก่เก่า ๆ เป็นอันมากเรียกว่า วัดเจ้าขรัวหง แลว่ากันว่าจีนเจ๊สัวมั่งมี บ้านอยู่กะดีจีน สร้างขึ้นไว้แต่ในครั้งโน้น จีนที่มั่งมี คนเรียกว่า เจ้าขรัว ในสมัยกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรเรียกชื่อว่า วัดหงษ์อาวาสวิหาร ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช (รัชกาลที่ ๑) เรียกชื่อว่า วัดหงส์อาวาศวรวิหาร รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) เรียกชื่อว่า วัดหงส์อาวาสวรวิหาร รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) เรียกชื่อว่า วัดหงส์รัตนาราม รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) จนถึงปัจจุบัน เรียกชื่อว่า วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ปลายรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ซึ่งขณะนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ยังทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้ทรงพระยศสถานที่ตั้งประวัติวัดหงส์รัตนาราม เป็น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล สืบต่อจาก กรมพระราชวังบวรสถานมงคลมหาสิงหนาทฯ ได้ประทับ ณ พระราชวังเดิม พระราชวังจึงมีฐานะเป็นพระบวรราชวังใหม่ ขึ้นตำแหน่งหนึ่ง สมตามนัยแห่ง ชุมนุมพระบรมราชาธิบาย ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล่าตอนประสูติของ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ไว้ดังนี้ การประสูติดังนี้ เป็นไปที่พระที่นั่งข้างในหลังตะวันตก พระราชวังปากคลองบางกอกใหญ่ ครั้งนั้นเรียก พระบวรราชวังใหม่ อยู่ในกำแพงกรุงธนบุรีโบราณวัดหงส์ฯ ซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ตลอดสถานที่พระบวรราชวังนี้ จึงมีสร้อยนามเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ครั้งนั้นว่า วัดหงส์อาวาศขวรวิหาร ดังหลักฐานประกอบด้วยตามในพระราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะที่พระธรรมอุดม (พระธรรมวโรดมปัจจุบัน) ซึ่งได้เลื่อนจากพระธรรมไตรโลกฯ (พระธรรมไตรโลกาจารย์ปัจจุบัน) ในรัชกาลที่ ๑ ว่า พระธรรมอุดม บรมญาณอดุลยสุนทร ตีปีฎกธรามหาคณิศร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิต ณ วัดหงส์อาวาศบวรวิหาร พระอารามหลวง ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร มีสร้อยนามเปลี่ยนแปลงเป็นทางการว่า วัดหงส์อาวาสวรวิหาร หลักฐานในข้อนี้ พิจารณา ได้ตามพระราชทินนามสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม ซึ่งได้เลื่อนจากสมณศักดิ์เดิมที่ พระพรหมมุนี (ด่อน) กล่าวไว้ดังนี้ ให้ พระพรหมมุนีเป็นพระพิมลธรรม อนันตญาณนายก ตีปฎกธรามหาคณิศร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิต ณ วัดหงส์อาวาสวรวิหาร พระอารามหลวง ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร คงมีนามเรียกเต็มว่า วัดหงสาราม ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือประชุมพงศารภาคที่ ๒๕ ตอนที่ ๓ เรื่องตำนานสถานที่ และวัสดุต่าง ๆ ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบูรณะ และมีความเกี่ยวเนื่องกับวัดหงส์ฯ ดังมีข้อความกล่าวไว้เป็นเชิงประวัติว่า วัดนี้นามเดิมว่า วัดเจ้าขรัวหงส์ แล้วเปลี่ยนมา เป็น วัดหงสาราม และในสำเนาเทศนาพระราชประวัติรัชกาลที่ ๒ ซึ่ง หม่อมเจ้าพระประภากร บวรวิสุทธิวงศ์ วัดบวรนิเวศน์วิหาร ทรงเทศนาถวาย ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้นามว่า วัดหงสาราม ในเรื่องเกี่ยวกับวัดหงส์ฯ แม้แต่ในพระอารามหลวงที่ เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร เรียบเรียงถวายรัชกาลที่ ๕ ได้กล่าวไว้เช่นเคียวกัน แต่กล่าวพิเศษออกไปว่า เรียกวัดหงสาราม มาแต่รัชกาลที่ ๑ เห็นจะเป็นว่าเมื่อเรียกโดยไม่มีพิธีรีตองสำคัญอะไร ก็คงเรียกวัดหงสาราม ทั้ง ๓ รัชกาล ก็เป็นได้ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) นี้ สมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์ ได้ทรงรับปฏิสังขรณ์จากการทรงชักชวนของ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงเกณฑ์ต่อให้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังดำรงพระยศ เจ้าฟ้ามงกุฎ ให้รื้อพระอุโบสถเก่าแปลงปลูกเป็นวิหาร แต่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ทรงรับทำ จึงเป็นพระภาระของสมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์ แต่พระองค์เดียว ส่วน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในครั้งแรกทรงรับพระภาระสร้างโรงธรรมตึกใหญ่ขึ้นใหม่ แต่ในครั้งหลังสมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์สิ้นพระชนม์ การยังไม่เสร็จ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ต้องทรงรับเป็นพระธุระทั้งพระอุโบสถ และพระวิหาร และสิ่งอื่นอีก ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ได้พระราชทานสร้อยนามวัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหารใหม่ แลเป็นหลักฐานสืบมาจนบัดนี้ว่า วัดหงส์รัตนาราม ตามในจดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๔ ได้กล่าวไว้ว่า เดิมเป็นพระอุโบสถหลังเก่าวัดหงส์ฯ ครั้งก่อนสมัยอยุธยา เมื่อมาถึงสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงปฏิสังขรณ์เป็นการใหญ่ ขยายทั้งตัววัด และสร้างพระอุโบสถใหม่ และอื่นอีก คงเลิกใช้อุโบสถเก่า ต่อมาเมื่อถึงรัชสมัยกรุงรัตนโกสินทร์นี้ จากหลักฐานประชุมพงศาวดารภาคที่ ๒๕ ว่าด้วยพระเจดีย์วิหาร ที่ทรงสถาปนาในรัชกาลที่ ๔ เรื่องที่ ๑๕ โดยมีเนื้อความว่า “วัดหงส์รัตนาราม วัดนี้ตามเดิมว่า วัดเจ้าขรัวหงส์ แล้วเปลี่ยนมาเป็น วัดหงสาราม สมเด็จพระศรีสุริเยนทรา บรมราชินี ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ วัดเขมาภิรตาราม โปรดฯ ให้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิสังขรณ์วัดหงส์ฯ การยังไม่ทันเสร็จ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงปฏิสังขรณ์ต่อมาจนสำเร็จ และพระราชทานนามว่า วัดหงส์รัตนาราม คำสร้อยนามวัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหารที่ว่า รัตนาราม นั้น บ่งความหมายเป็นสองประการคือ รัตน แปลว่า แก้ว ประการหนึ่ง และคำว่า อาราม ซึ่งแปลว่า วัด ประการหนึ่ง เมื่อนำคำทั้งสองมารวมกัน จึงได้ความหมายว่า วัดท่านแก้ว มูลเหตุที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานสร้อยนามวัดหงส์ฯ นั้น ก็เพื่อถวายเป็นพระอนุสรณ์แด่ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงกรมพระศรีสุดารักษ์ ซึ่งมีพระนามเดิมว่า แก้ว เป็นการถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จบรมราชอัยกี ผู้เป็นพระบุพการีของ พระบรมราชชนนี พระราชอนุชา และพระองค์ท่าน ตามธรรมเนียมนิยมของพุทธสานิกชน เมื่อบำเพ็ญบุญกุศลแล้ว จึงอุทิศผลบุญ อีกประการหนึ่ง วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร เป็นวัดที่ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงกรมพระศรีสุดารักษ์ ทรงเคยอุปถัมภ์ และปฏิสังขรณ์มาในอดีต ทรงคุ้นเคยกับสถานที่ และเสด็จบำเพ็ญกุศลเป็นประจำในขณะที่ทรงพระชนม์อยู่ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร ได้ถูกจัดลำดับศักดิ์เป็น พระอารามหลวงชั้นโท และมีฐานะเป็น พระอารามชั้นราชวรวิหาร ตามพระบามราชโองการประกาศ เรื่องจัดระเบียบพระอารามหลวงเป็น ชั้นเอก ชั้นโท ชั้นตรี ชั้นสามัญ โดยมีสร้อยนามตามฐานะเป็น ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร วรมหาวิหาร วรวิหาร โดยลำดับ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๕๘ วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร จึงได้สร้อยว่า วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร มาจนถึงปัจจุบัน ย้อนไปในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร ถือเป็นวัดที่มีสำคัญอย่างมาก นอกจากตั้งติดกับพระบรมราชวังที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ในปีพุทธศักราช ๒๓๑๔ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงเป็นเอกอุปถัมภก บูรณปฏิสังขรณ์ วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร เป็นการใหญ่ และทรงสร้อยนามวัดอย่างเป็นทางการว่า วัดหงษ์อาวาสวิหาร ด้วย เดิมทีนั้นเป็นวัดร้าง ทั้งนี้ยังทรงสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ขึ้นที่หน้าพระอุโบสถหลังเก่า ทรงสร้างศาลาโรงธรรมขนาดเท่าพระอุโบสถขึ้นทางด้านหน้า และทรงสร้างกุฏิ และเสนาสนะอื่น ๆ ทั้งพระอาราม ในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี บันทึกไว้ว่า ในปีพุทธศักราช ๒๓๑๔ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงอุปถัมภ์ปฏิสังขรณ์เป็นการใหญ่ทั่วพระอาราม พระอุโบสถ การเปรียญ เสนาสนะ และกุฏิ ได้ทรงสร้างใหม่ทั้งสิ้น ในจดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ มีหลักฐานยืนยันตรงกันอีกว่า ครั้งมาเมื่อกรุงธนบุรี พระสงฆ์ผู้รู้หลักนักปราชญ์มาอยู่มาก ผู้ที่มีอุตสาหะเล่าเรียนก็ได้เข้าไปอยู่มาก เจ้าแผ่นดินกรุงธนบุรีจึงขยายภูมิวัดออกไปใหญ่ แล้วสร้างพระอุโบสถใหญ่ตรงหน้าพระอุโบสถเก่า แล้วสร้างโรงธรรมหันหน้าเข้าสู่พระอุโบสถใหม่ สร้างฐานใหญ่เท่ากันทั้งสองหลัง ตั้งอยู่อย่างนั้นนานมาจนถึงเวลาแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ในพระบรมราชวงศ์นี้ ในปีพุทธศักราช ๒๓๓๓ สมเด็จพระลูกยาเธอกรมขุนอินทรพิทักษ์ (เจ้าจุ้ย) ใน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้เสด็จผนวช ณ วัดหงษ์อาวาสวิหาร (วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร) นี้ เมื่อพระชนม์ครบอุปสมบท ตลอดจนพระราชนิกูล และข้าใต้สำนัก ล้วนแต่อุปสมบทวัดแห่งนี้เกือบทั้งสิ้น และนอกจากนี้ สมเด็จพระอัครมเหสี (หอกลาง) กรมหลวงบาทบริจาสอน และพระเจ้าน้านางเธอ กรมหลวงเทวินทร์สุดา ได้เสด็จบำเพ็ญกุศล ฟังเทศน์ ถือศีลปฏิธรรมอยู่ ณ วัดแห่งนี้อยู่เนือง ๆ วัดหงษ์อาวาสวิหาร แห่งนี้ อยู่ในราชูปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มาตลอดรัชสมัยของพระองค์ และพระองค์มักเสด็จมานั่งวิปัสสนากรรมฐานในพระอุโบสถ หลังว่างจากพระภารกิจเสมอ วัดหงษ์อาวาสวิหาร จึงนับว่าเป็นวัดที่มีความเจริญรุ่งเรือง และสวยงามวัดหนึ่งในยุคสมัยนั้น ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ประชาชนในละแวกใกล้เคียง จึงพร้อมใจกันสร้างศาลขึ้นที่ริมคลองคูวัดเชิงสะพานข้ามคลองหน้าวัด ด้านทิศตะวันตก เพื่อถวายเป็นพระราชอนุสรณ์เป็นแห่งแรก และปรากฏเป็นที่สักการะเคารพของประชาชนในท้องถิ่นแต่บัดนั้นเป็นต้นมา คือ ศาลเจ้าพ่อตากวัดหงส์ฯ นอกจากทรงบูรณปฏิสังขรณ์ และทรงสร้างศาสนวัตถุอื่นแล้ว พระองค์ทรงนำความเจริญทางด้านการศึกษา วางไว้เป็นฐานรากแห่งพระพุทธศาสนาที่วัดหงษ์อาวาสวิหาร หรือ วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร จึงเป็นแหล่งสรรพวิชา บ่มเพาะความรู้ขั้นสูงในยุคสมัยนั้น และเป็นชุมนุมสงฆ์ผู้รู้หลักนักปราชญ์ แห่งกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร จากหลักฐานบันทึก มีรายนาม ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนังราชวรวิหาร

ระพุทธปฏิมากร พระประธานในพระอุโบสถ วัดหนังราชวรวิหาร สร้างขึ้นประมาณปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏผู้สร้าง วัดนี้เป็นวัดโบราณ เป็นวัดร้างมากว่า 200 ปีแล้ว ตั้งอยู่ ณ ฝั่งขวาหรือนัยหนึ่ง ฝั่งเหนือคลองด่าน แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เลขประจำวัด 200 เดิมเป็นวัดราษฎร์ มีสืบมาแต่โบราณ มีนามว่าวัดหนังมาแต่เดิม และได้รับการสถาปนาเป็นพระอารามหลวงเมื่อปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบต่อจาก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2367 ในสมัยของพระองค์ท่าน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ทำการฉลองวัดหนัง ณ วันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดหนังราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดอมรินทรารามวรวิหาร

วัดอมรินทรารามวรวิหาร หรือชื่อเดิมว่า วัดบางหว้าน้อย ตั้งอยู่เลขที่ 566 แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดราชวรวิหาร ต่อมาถูกจัดเป็นชั้นตรีชนิดวรวิหาร ตามประกาศลงวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดอมรินทรารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ. 2310 ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอาป้อมวิชัยประสิทธิ์ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2322 ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามในปี พ.ศ. 2327 ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม”.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดอัมพวา

วัดอัมพวา ตั้งอยู่เลขที่ 109 ถนนอิสรภาพ 37 และถนนจรัญสนิทวงศ์ 22 แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ 8 ไร่ อาณาเขตทิศเหนือ ติดต่อกับซอยวัดอัมพวา ทิศใต้ติดกับที่เอกชน ทิศตะวันออกติดกับกองรถยนต์ กองช่าง.ทร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดอัมพวา · ดูเพิ่มเติม »

วัดอินทราวาส

วัดอินทราวาส ตั้งอยู่เลขที่ ๔๓ หมู่ที่ ๗ บ้านไผ่เกาะ ตำบลสาวร้องไห้ อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓๓ ไร่ ๓ งาน ๒๐ ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ ๔๙.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดอินทราวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดอนงคารามวรวิหาร

วัดอนงคาราม วรวิหาร ตั้งอยู่ในบนถนนสมเด็จเจ้าพระยา แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน วัดอนงคาราม วรวิหาร มีชื่อเดิมคือวัดน้อยขำแถม เป็นชื่อท่านผู้หญิงน้อย ซึ่งเป็นภรรยาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัด บุนนาค) หรือสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย เป็นผู้สร้างขึ้นคู่กันกับวัดพิชัยญาติแล้วถวายเป็นพระอารามหลวงในรัชกาลที่ 3 ส่วนคำว่าขำแถมนั้นมีเพิ่มเติมมาจากนามเดิมของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ) ซึ่งเป็นผู้ปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ ต่อมาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 วัดนี้ก็ได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดอนงคารามอย่างในปัจจุบัน พระอุโบสถที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นอาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูน หลังคามุงกระเบื้องเคลือบ ช่อฟ้า ใบระกาลงรักประดับกระจก หน้าบันและซุ้มประตูหน้าต่างก็มีลวดลายลงรักปิดทองสวยงาม มีพระพุทธรูปสำคัญอย่างพระพุทธจุลนาคซึ่งเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยปางมารวิชัย เป็นพระประธานในพระวิหาร และมีพระพุทธรูปพระสาวกหล่อด้วยโลหะปิดทองยืนอยู่ด้านซ้ายขวา อีกทั้งด้านหน้าพระประธานยังมีพระพุทธมังคโล ซึ่งเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องปางสมาธิตั้งอยู่ด้านหน้าอีกด้วย และใกล้ ๆ กับพระวิหารนั้นก็ยังมีพระมณฑปซึ่งสร้างขนาบกับพระวิหาร หลังที่อยู่ด้านทิศตะวันออกประดิษฐานพระพุทธรูปไสยาสน์ที่จำลองมาจากวัดราชาธิวาส และหลังที่อยู่ด้านทิศตะวันตกประดิษฐานพระพุทธบาทจำลองเอาไว้ วัดอนงคาราม บนชั้นสอง เป็นห้องสมุดประชาชนภายในวัดนั้น และเป็นที่ตั้งของ "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเขตคลองสาน" ซึ่งในพิพิธภัณฑ์นั้นมีการจัดแสดงนิทรรศการเรื่องราวความเป็นมาเป็นไปต่างๆ ในเขตคลองสาน ทั้งเรื่องของวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวคลองสานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดอนงคารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดอ่างแก้ว

วัดอ่างแก้วเป็นวัดหนึ่งในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกายมีพระเกจิอาจารย์ที่สำคัญ คือท่านพระครูพรหมโชติวัฒน์ ที่ร่ำลือเรื่องพุทธคุณ บริเวณวัด ตั้งอยู่ริมคลองภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ทิศเหนือติดต่อกับคลองภาษีเจริญ ตลอดแนวยาว 114 เมตร ทิศตะวันออกติดคลองขวาง มีอีกชื่อหนึ่งว่าคลองโคนอนระยะ 142 เมตร ทิศใต้มีความยาว 117ติดต่อกับถนนพัฒนาการ (เดิม) ปัจจุบันคือถนนเทอดไท ทิศตะวันตกติดต่อกับ โรงเรียนวัดอ่างแก้ว (จีบ ปานขำ) ระยะ 117 เมตรและที่ดินเอกชน ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มติดคลองทั้งด้านหน้าและด้านข้าง มีกำแพงก่ออิฐถือปูนกั้นตรงชิดถนน เป็นเขตประตูเข้าออกของวัด วัดนี้มีลักษณะพิเศษคือ ด้านหน้าวัดนั้นมีลานสนามทราย ซึ่งเป็นวัดนี้เป็นวัดที่มีลานทรายด้านหน้าพระอุโบสถเหลือเพียงแห่งเดียวในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีมาแต่โบราณ ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ไทย (วันสงกรานต์) ทุก ๆ ปี จะมีประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายขึ้นที่ลานทรายแห่งนี้ และสรงนำหลวงพ่อโต อีกทั้งยังมีจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถเรื่องพุทธประวัติที่สวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดอ่างแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร

วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร หรือนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดจักรวรรดิ หรือ วัดจักรวรรดิราชาวาส เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ วัดนางปลื้ม สร้างสมัยอยุธยา ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เรียก วัดสามปลื้ม สันนิษฐานว่าคงมาจากผู้หญิงสามนางร่วมกันสร้าง และอาจด้วยเพราะอยู่ใกล้กับสำเพ็ง หรือสามเพ็ง ทำนองเดียวกับวัดสามจีน หรือวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ที่อยู่ใกล้กัน เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม ประมาณ พ.ศ. 2362 และได้ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวง และพระราชทานนามว่า วัดจักรวรรดิราชาวาสเมื่อประมาณ พ.ศ. 2368 ภายในวัดมีศาลและรูปปั้นเจ้าพระยาบดินทรเดชาอยู่ด้วย โดยช่างปั้นได้ปั้นจากภาพเขียนรูปปั้นของเจ้าพระยาบดินทรเดชาที่สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง) พระเจ้ากรุงกัมพูชาให้สร้างขึ้นที่เมืองอุดงมีชัย ปัจจุบัน วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร ตั้งอยู่บนถนนจักรวรรดิ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ใกล้กับวัดบพิตรพิมุขวรวิหาร หรือวัดเชิงเลน และเชิงสะพานพระปกเกล้าด้านมุ่งหน้าไปฝั่งธนบุรี จระเข้ขนาดใหญ่ในบ่อเลี้ยงภายในวัด ในวัดแห่งนี้ยังมีจุดเด่นอีกประการคือ มีบ่อเลี้ยงจระเข้ขนาดใหญ่ ซึ่งพระสงฆ์และเด็กวัดช่วยกันดูแล ทั้งนี้เนื่องจากราวปี พ.ศ. 2485 ที่บริเวณวัดที่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยามีเรื่องราวของจระเข้กินคนตัวหนึ่งชื่อ "ไอ้บอดวัดสามปลื้ม" เนื่องจากมีตาข้างหนึ่งบอด แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าไอ้บอดวัดสามปลื้มนั้นตายลงเมื่อใด หากแต่ตำนานนี้ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน และเป็นที่มาของบ่อเลี้ยงจระเข้ภายในวั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดจันทวงศาราม (กลาง)

วัดจันทวงศาราม (กลาง) หรือที่ชาวบ้านย่านนี้รู้จักกันดีในชื่อว่า "วัดกลาง" ตั้งอยู่ริมคลองแสนแสบ ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นศูนย์กลางในการทำกิจกรรมทางศาสนาพุทธในชุมชน และบริเวณใกล้เคียง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดจันทวงศาราม (กลาง) · ดูเพิ่มเติม »

วัดจันทารามวรวิหาร

วัดจันทารามวรวิหาร ตั้งอยู่บนถนนเทอดไท เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร เป็นวัดโบราณสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ วัดบางยี่เรือกลาง หรือวัดกลาง ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 3 พระยาสุรเสนา (ขุนเณร) ได้บูรณะขึ้นใหม่และได้รับพระราชทานนามเป็น วัดจันทาราม และต่อมาภายหลังได้ยกขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชนิดวรวิหาร พระอุโบสถ เดิมเป็นโครงสร้างด้วยการก่ออิฐถือปูน ต่อมาได้ทำการบูรณะในปี พ.ศ. 2517 แล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดจันทารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดธาตุทอง

วัดธาตุทอง พระอารามหลวง ตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๑ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓(เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร) ผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตอุโบสถ เมื่อวันที่ ๒-๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๕ มีเนื้อที่ ๕๔ ไร่ ๓ งาน ๘๒ ตาราง(เลขที่ ๑๔๙ โฉนดที่ ๔๐๓๗) ทิศเหนือ ติดกับที่ดินและบ้านเรือนประชาชน(ซอยชัยพฤกษ์) ทิศใต้ ติดกับถนนสุขุมวิท ทิศตะวันออก ติดกับที่ดินและบ้านเรือนประชาชน(ซอยเอกมัย) วัดธาตุทองฯ แท้จริงแล้วมีประวัติความเป็นมายาวนาน ย้อนกลับไปถึงยุคสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ก่อนจะมาตั้งอยู่บนนถนนสุขุมวิทในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดธาตุทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดทองนพคุณ

วัดทองนพคุณ อาจเป็นไปได้คือ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดทองนพคุณ · ดูเพิ่มเติม »

วัดทุ่งเศรษฐี

วัดทุ่งเศรษฐี สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดทุ่งเศรษฐี · ดูเพิ่มเติม »

วัดดอกไม้

วัดดอกไม้ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

วัดดาวดึงษาราม

วัดดาวดึงษาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 872 แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยเจ้าจอมแว่น พระสนมเอกในรัชกาลที่ ๑ สร้างขึ้นทำด้วยเสาไม้แก่น พระอุโบสถก่ออิฐสูงพ้นพื้นดินประมาณ 2 ศอก ชาวบ้านเรียกว่า “วัดขรัวอิน” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 ข้าราชการฝ่ายในขื่ออิน ซึ่งเป็นญาติของเจ้าจอมแว่นได้ปฏิสังขรณ์วัดนี้ เหตุด้วยผู้ครองวัดและผู้ปฏิสังขรณ์วัดมีนามเดียวกันว่า “อิน” พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงพระราชทานนามวัดนี้ว่า “วัดดาวดึงษาสวรรค์”.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดดาวดึงษาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดดุสิดารามวรวิหาร

วัดดุสิดาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 176 ซอยสมเด็จพระปิ่นเกล้า 1 ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700 ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เหนือปากคลองบางกอกน้อย ปัจจุบันมีพระเทพสิทธิมุนี (บุญสิน อุตฺตมชาโต) เป็นเจ้าอาวาส พระอ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดดุสิดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดด่าน

วัดด่าน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดด่าน · ดูเพิ่มเติม »

วัดคฤหบดี

thumb วัดคฤหบดี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้กับบ้านปูน เชิงสะพานพระราม8 ตั้งอยู่ที่ถนนจรัญสนิทวงศ์ 44 แขวงบางยี่ขันเขต เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เป็นวัดที่พระยาราชมนตรีบริรักษ์ (ภู่) ต้นสกุล "ภมรมนตรี" เป็นผู้สร้างในปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดคฤหบดี · ดูเพิ่มเติม »

วัดคูหาสวรรค์วรวิหาร

วัดคูหาสวรรค์วรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ในแขวงคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดคูหาสวรรค์วรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดคณิกาผล

วัดคณิกาผล เป็นวัดไทยในพุทธศาสนามหานิกาย ประเภทวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ที่ถนนพลับพลาไชย แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ตรงกันข้ามกับสถานีตำรวจนครบาลพลับพลาไชย 2 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หญิงนางหนึ่งชื่อ แฟง มักเรียกกันว่า ยายแฟง เป็นเจ้าสำนักโสเภณีชื่อ "โรงยายแฟง" อยู่ที่ตรอกเต๊า ถนนเยาวราช มีศรัทธาในพุทธศาสนา จึงชวนหญิงโสเภณีในสำนักของนางเอารายได้จากการค้าประเวณีมาลงขันกันสร้างวัดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดคณิกาผล · ดูเพิ่มเติม »

วัดตรีทศเทพวรวิหาร

วัดตรีทศเทพ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดตรีทศเทพวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดตลิ่งชัน

วัดตลิ่งชัน ตั้งอยู่เลขที่ ๓๘ บ้านตลิ่งชัน หมู่ที่ ๖ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๘ ไร่ ๗๗ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๒๒๗๙.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้กับเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี โดยมีเลขทะเบียนวัดที่ 24 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การบูรณะวัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award of Excellence) ให้โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาส ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดประดู่บางจาก

วัดประดู่บางจาก เป็นวัดในพระพุทธศาสนา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 30 ซอยราชพฤกษ์ 1 ถนนเพชรเกษม แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดประดู่บางจาก · ดูเพิ่มเติม »

วัดปากบ่อ

วัดปากบ่อ ตั้งอยู่ที่ซอยอ่อนนุช 35 ถนนอ่อนนุช แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2352 โดยมีเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุหนายก เป็นผู้ถวายที่ดินและจัดสร้างวัดนี้ขึ้น มีชื่อตอนแรกว่า "วัดหัวโค้ง" เพราะอยู่หัวโค้งของลำคลองพระโขนง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "วัดปากบ่อ" วัดแห่งนี้เป็นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ "หลวงพ่อรุ้งเพชรและหลวงพ่อหาญสัมฤทธิ์" ภายในอุโบสถหลังใหม่ยังมีภาพเขียนพุทธประวัติที่งดงามให้พุทธศาสนิกชนและ ประชาชนทั่วไปได้ทัศนาด้วย เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ พระครุวรกิจจาทร ดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2541 ถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดปากบ่อ · ดูเพิ่มเติม »

วัดปากน้ำ

วัดปากน้ำ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วัดปุรณาวาส

วัดปุรณาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 21 คลองมหาสวัสดิ์ หมู่ที่ 3 แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบอยู่ริมคลองมหาสวัสดิ์ มีถนนแยกจากสะพานปื่นเกล้าไปทางคลองทวีวัฒนา โดยรอบมีชุมชนวัดปุรณาว.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดปุรณาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร

วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเด่นคือเป็นวัดกลางเมือง ตั้งอยู่ระหว่างศูนย์การค้าสยามพารากอนและห้างเซ็นทรัลเวิลด์ วัดสถาปนาขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งพระนคร ถนนทรงวาดติดต่อกับถนนสำเพ็ง แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดนรนาถสุนทริการาม

วัดนรนาถสุนทริการาม วัดนรนาถสุนทริการาม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เชิงสะพานเทเวศร์นฤมิตร ตรงมุมคลองผดุงกรุงเกษม ตัดกับถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดนรนาถสุนทริการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดนวลนรดิศ

วัดนวลนรดิศ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดนวลนรดิศ · ดูเพิ่มเติม »

วัดนวลนรดิศวรวิหาร

วัดนวลนรดิศวรวิหาร หรือเรียกสั้น ๆ ว่า วัดนวลนรดิศ เป็นวัดไทย ประเภทพระอารามหลวง ชั้นตรี อยู่ที่คลองบางกอกใหญ่ด้านตะวันตก ตรงกันข้ามวัดประดู่ฉิมพลี แต่มีคลองกั้นกัน ในแขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร วัดนวลนรดิศวรวิหาร เดิมเป็นวัดโบราณ และร้างมานานมาก เชื่อว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ปราศจากพยานหลักฐานในเรื่องนี้ มีชื่อดั้งเดิมว่า "วัดมะกอกใน" คู่กับ "วัดมะกอกนอก" ที่ปัจจุบันคือ วัดอรุณราชวราราม สาเหตุที่ได้ชื่อนี้เพราะตั้งอยู่ริมฝั่งคลองบางกอกใหญ่ ครั้งปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถ เจ้าคุณพระราชพันธุ์ (นวล) ผู้เป็นภริยาเจ้าพระยาอัครมหาเสนา (บุนนาค) และเป็นพระภคินีของสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระมเหสีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถ ได้บูรณะวัดมะกอกในอันร้างดังกล่าว โดยให้ เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) ผู้เป็นบุตร รับผิดชอบ เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เข้าบูรณะวัดมะกอกใน หลังเขาได้บูรณะวัดประยูรวงศาวาสเสร็จใน..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดนวลนรดิศวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดนางนองวรวิหาร

วัดนางนองวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 36 ถนนวุฒากาศ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดนางนองวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดแสนสุข (แก้ความกำกวม)

วัดแสนสุข อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดแสนสุข (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วัดใหม่เทพนิมิตร

วัดใหม่เทพนิมิตร เป็นวัดในพระพุทธศาสนาเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพระอธิการองอาจ อตฺตสาโร เป็นเจ้าอาวาสสังกัดคณะสงฆ์มหานิก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดใหม่เทพนิมิตร · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิ์แมนคุณาราม

ทางเข้าวัดโพธิ์แมนคุนาราม ภาพจากดาวเทียม วัดโพธิ์แมนคุณาราม (โพวมึ้งป่ออึงยี่) (普門報恩寺) เป็นวัดฝ่ายมหายานและเซน สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย สืบทอดหลักธรรมคำสอนมาจากนิกายเซน สาขาหลินฉี (วิปัสสนา) และเป็นเป็นศูนย์กลางหลักธรรมคำสอนของนิกายวินัย และนิกายมนตรยานของศาสนาพุทธแบบทิเบต และเป็นศูนย์กลางการปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย และศูนย์กลางการเผยแผ่หลักธรรมคำสอนของศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัชรยานอีกทั้งเป็นแหล่งข้อมูลพุทธศาสนาฝ่ายมหายานของประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดโพธิ์แมนคุณาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร

วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร หรือชื่อลำลองว่า วัดท้ายตลาด เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เป็นวัดที่สร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง และเหตุที่เรียกว่าวัดท้ายตลาดเนื่องจากอยู่ต่อจากตลาดเมืองธนบุรี ปัจจุบันชาวบ้านยังนิยมเรียกชื่อนี้อยู่ ในสมัยธนบุรี วัดนี้เป็นวัดในเขตพระราชฐาน จึงไม่มีพระสงฆ์อยู่ตลอดช่วงรัชกาล ส่วนพระวิหาร สันนิษฐานว่าได้ใช้เป็นฉางเกลือของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภายในพระวิหารกั้นเป็น 2 ตอน ปัจจุบัน ตอนหน้าที่หันออกคลองบางกอกให้ ประดิษฐานพระพุทธรูปเป็นหมู่บนฐานชุกชี ส่วนตอนหลังเป็นพื้นที่ค่อนข้างแคบ ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ ในรัชกาลที่ 3 ได้รับการปฏิสังขรณ์ใหม่ทั่วทั้งพระอาราม และทรงเปลี่ยนนามใหม่ว่า "วัดโมลีโลกยสุธาราม" ภายหลังมาเรียกกันว่า "วัดโมลีโลกยาราม" วัดโมลีโลกยารามเคยเป็นสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีที่มีผู้สอบได้เปรียญธรรมมากเป็นระดับต้น ๆ ของประเทศ ที่ตั้ง พระราชวังเดิม ซอยวังเดิม 6 ถนนวังเดิม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดโคนอน (กรุงเทพมหานคร)

วัดโคนอน เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะมหานิกาย ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ซอยเทอดไท 59 ถนนเทอดไท แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร สันนิษฐานว่า ต้นสกุลทองอู่ ได้เป็นผู้สร้างขึ้น ในสมัยที่ขุดคลองภาษีเจริญขึ้นใหม่ ๆ ในราวกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยมีสิ่งก่อสร้างรูปทรงที่มีศิลปตามแบบของช่างสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดโคนอน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

วัดไผ่เงินโชตนาราม

วัดไผ่เงินโชตนาราม ตั้งอยู่ที่ 882 ซอยวัดไผ่เงิน ถนนจันทน์ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดไผ่เงินโชตนาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร

วัดไตรมิตรวิทยาราม ตั้งอยู่ที่ถนนมิตรภาพไทย-จีน แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ เป็นวัดโบราณอยู่ในที่ลุ่มพระอารามเป็นเรือนไม้ มีชื่อเดิมว่า "วัดสามจีน" เข้าใจกันว่า ชาวจีน 3 คนร่วมกันสร้างพระอารามเพื่อเป็นวิหารทานการบุญ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร อยูในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ใกล้สะพานกษัตริย์ศึกและสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) อยู่รวมกับ "โรงเรียนเทพศิรินทร์" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อ พ.ศ. 2419 ขณะมีพระชนมายุครบ 25 พรรษาพอดี เพื่อทรงเฉลิมพระเกียรติและอุทิศพระราชกุศลสนองพระเดชพระคุณกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งได้เสด็จสวรรคตตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ยังทรงพระเยาว์ วันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเทพธิดารามวรวิหาร

วัดเทพธิดารามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ริมถนนมหาไชย ใกล้วัดราชนัดดา วัดเทพธิดารามวรวิหาร เดิมชื่อ วัดบ้านพระยาไกรสวนหลวง สันนิษฐานว่า เรียกตามบริเวณที่สร้าง ที่เป็นสวนไร่นา และคงเป็นที่ของพระยาไกร เจ้านายหรือขุนนาง วัดเทพธิดารามวรวิหารเป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดฯ ให้สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระราชทานแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองศ์เจ้าวิลาส พระราชธิดาองค์ใหญ่ใน รัชกาลที่ 3 สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2379 เสร็จในปี พ.ศ. 2382 สิ่งสำคัญในวัดนี้คือ พระปรางค์ทิศทั้งสี่ เป็นฝีมือช่างในสมัยรัชกาลที่ 3 บุษบกที่รองรับพระประธาน ภายในโบสถ์ ที่ประดิษฐ์อย่างสวยงามและที่ผนังพระอุโบสถมีภาพเขียนเป็นรูปพุ่มข้าวบิณฑ์ แบบอย่างในรัชกาลที่ 3 วัดนี้เคยเป็นที่พำนักของสุนทรภู่กวีเอกแห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ระหว่าง..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดเทพธิดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเครือวัลย์วรวิหาร

วัดเครือวัลย์ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ที่ 36 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณที่สร้างมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา พระอุโบสถและพระวิหารของวัดนี้หันหน้าเข้าสู่คลองมอญ และระหว่างพระอุโบสถกับพระวิหาร มีพระเจดีย์ใหญ่ทรงลังกา 3 องค์ตั้งอยู่ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดนี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดย เจ้าพระยาอภัยภูธร (น้อย บุณยรัตพันธุ์) และธิดาคือ เจ้าจอมเครือวัลย์ ได้รับพระราชทานนามว่า วัดเครือวัลย์วรวิหาร ตามชื่อของเจ้าจอมเครือวัลย์ ธิดาเจ้าพระยาอภัยภูธร (น้อย บุณยรัตพันธุ์) เจ้าจอมของพระองค์ และเป็นวัดประจำตระกูลบุณยรัตพัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและวัดเครือวัลย์วรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหน้าพระลาน

ถนนหน้าพระลาน(ช่วงที่ผ่านมหาวิทยาลัยศิลปากร) ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระลาน (Thanon Na Phra Lan) เป็นถนนในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งต้นจากปลายถนนราชดำเนินในต่อถนนสนามไชยที่มุมป้อมเผด็จดัสกร ไปตามกำแพงพระบรมมหาราชวัง ตัดกับถนนมหาราช ไปสุดที่ท่าช้างวังหลวง ถนนหน้าพระลานเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยขยายจากถนนเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่เป็นถนนนูนดินสูง เหตุที่ชื่อถนนหน้าพระลานเพราะเป็นถนนที่อยู่หน้าพระลานพระบรมมหาราชวัง ỒỒ หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและถนนหน้าพระลาน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางบำหรุ

แขวงบางบำหรุ เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่ามาก่อน แต่ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น โดยคำว่า "บางบำหรุ" เชื่อว่ามีที่มาจากภาษามลายู คำว่า "baruh" (ออกเสียง บารุฮ์) แปลว่า ที่ลุ่มใกล้แม่น้ำหรือทะเล ซึ่งสามเสนซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามโดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาคั่นกลางนั้น ก็มีที่มาจากภาษามลายูเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางบำหรุ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางพลัด

แขวงบางพลัด เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่ามาก่อน แต่ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางยี่เรือ

ระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชที่วงเวียนใหญ่ บางยี่เรือ เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยชื่อ "บางยี่เรือ" เป็นคำที่เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "บังยิงเรือ" สืบเนื่องจากพื้นที่นี้ในอดีต ก่อนการสถาปนากรุงธนบุรี โดยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไม่นาน พระองค์ได้ใช้สถานที่แห่งนี้เป็นตำบลดักซุ่มยิงเรือพม่าในสงครามคราวกู้เอกราช เนื่องจากเป็นพื้นที่ ๆ มีชัยภูมิเหมาะสม เพราะอยู่ติดริมน้ำ คือ คลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบัน), คลองบางน้ำชน และคลองท่าพระ โดยมีชาวมอญหรือรามัญที่หลบหนีกองทัพพม่ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร และปลูกบ้านเรือนอยู่แถบนี้เป็นกำลังสำคัญให้การช่วยเหลือด้วย ต่อมาในกรุงรัตนโกสินทร์ บางยี่เรือมีฐานะเป็นอำเภอ ขึ้นอยู่กับจังหวัดธนบุรี เดิมมีชื่อว่า "อำเภอราชคฤห์" ได้เปลี่ยนชื่อเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางยี่เรือ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางอ้อ

แขวงบางอ้อ เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่ามาก่อน แต่ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางอ้อ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางขุนเทียน

แขวงบางขุนเทียน เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางขุนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางค้อ

แขวงบางค้อ เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงที่มีพื้นที่น้อยที่สุดของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางค้อ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางปะกอก

แขวงบางปะกอก เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางปะกอก · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางไผ่

แขวงบางไผ่ เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตบางแค กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย และแหล่งเกษตรกรรมผสมผสาน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบ้านช่างหล่อ

้านช่างหล่อ เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นย่านการค้าและเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก บ้านช่างหล่อ เดิมเป็นชุมชนของช่างฝีมือที่มีฝีมือในการประดิษฐ์หรือหล่อพระพุทธรูป มีศูนย์กลางซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่บนถนนวังหลังใกล้กับแยกศิริราช และโรงพยาบาลศิริราช มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่กรุงธนบุรี หรือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ แต่ต่อมาทางการได้ห้ามการหล่อพระพุทธรูปอีก เนื่องจากสภาพเมืองมีการขยายตัวขึ้น มีบ้านเรือนและผู้มาอยู่อาศัยมากขึ้น เศษเปลวไฟจากการหล่อนั้นอาจกระเด็นไปโดนก่อให้เกิดอัคคีภัยได้ ทำให้โรงหล่อต่าง ๆ ในชุมชนบ้านช่างหล่อต้องปิดกิจการ หรือย้ายไปอยู่ที่อื่น ปัจจุบันไม่มีโรงหล่อเหลืออยู่ในชุมชนบ้านช่างหล่อเลย โรงหล่อเดิมจึงเป็นเพียงสำนักงานเพื่อติดต่องาน ปัจจุบันชุมชนบ้านช่างหล่อจึงเหลือแต่เพียงชื่อเท่านั้น.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงบ้านช่างหล่อ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงราษฎร์บูรณะ

แขวงราษฎร์บูรณะ เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงราษฎร์บูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงลาดยาว

แขวงลาดยาว เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงลาดยาว · ดูเพิ่มเติม »

แขวงศาลาธรรมสพน์

ลาธรรมสพน์ เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานเขตที่อยู่อาศัย ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงศาลาธรรมสพน์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสี่แยกมหานาค

แขวงสี่แยกมหานาค เป็นเขตการปกครองระดับแขวงหนึ่งในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีถนนพิษณุโลกเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองกับแขวงสวนจิตรลดา มีชื่อเสียงเป็นย่านการค้าทางเรือที่สำคัญมาแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากมีการขุดคลองผดุงกรุงเกษมขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงสี่แยกมหานาค · ดูเพิ่มเติม »

แขวงหลักสอง

แขวงหลักสอง เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตบางแค กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า และที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงหลักสอง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงหนองค้างพลู

หนองค้างพลู เป็นเขตการปกครองระดับแขวงแห่งหนึ่งในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ตอนบนของท้องที่เป็นเขตเกษตรกรรม ส่วนตอนล่างเป็นเขตที่อยู่อาศัยเนื่องจากมีเส้นทางคมนาคมสายหลักตัดผ่าน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงหนองค้างพลู · ดูเพิ่มเติม »

แขวงหนองแขม

หนองแขม เป็นเขตการปกครองระดับแขวงแห่งหนึ่งในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ตอนบนของท้องที่เป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ส่วนตอนล่างเป็นเขตเกษตรกรรม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงหนองแขม · ดูเพิ่มเติม »

แขวงอรุณอมรินทร์

อรุณอมรินทร์ เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นย่านการค้าและเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางถึงหนาแน่นมาก ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงอรุณอมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจอมทอง

แขวงจอมทอง เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงทรายกองดิน

ทรายกองดิน เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นเขตเกษตรกรรม ยกเว้นด้านตะวันตกเฉียงใต้ของท้องที่ซึ่งเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงทรายกองดิน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงทับช้าง

ทับช้าง เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยผสมผสานพื้นที่เกษตรกรรม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงทับช้าง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงทุ่งครุ

แขวงทุ่งครุ เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงทุ่งครุ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงท่าข้าม

แขวงท่าข้าม เป็นท้องที่ในเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งเกษตรกรรม ป่าชายเลน และที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงท่าข้าม · ดูเพิ่มเติม »

แขวงคลองบางพราน

ลองบางพราน เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง บางส่วนเป็นเขตพาณิชยกรรม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงคลองบางพราน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงตลาดน้อย

ทความนี้เป็นแขวงในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในส่วนของตำบลตลาดน้อย จังหวัดสระบุรี ดูที่: อำเภอบ้านหมอ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย แขวงตลาดน้อย เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่การปกครองของเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร พื้นที่บริเวณตลาดน้อยเป็นถิ่นอยู่อาศัยของชาวจีนโพ้นทะเลและชาวไทยเชื้อสายจีนอีกแห่งหนึ่ง นอกเหนือจากย่านเยาวราชและสำเพ็งที่อยู่ใกล้เคียง มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่ยาวนานตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นตลาดที่คึกคักมาก โดยเรียกกันในภาษาแต้จิ๋วว่า "ตั๊กลักเกี้ย" (噠叻仔; ลูกตลาด, ตลาดน้อย) มีที่มาจากเจ้าสัวเนียม หรือเจ๊สัวเนียม ผู้เป็นเจ้าของที่ดินแถบนี้มีลูกสาวคนหนึ่งชื่อ "น้อย" เป็นท่าเรือและชุมชนที่รุ่งเรืองก่อนเยาวราช โดยมีชาวโปรตุเกส เป็นชนกลุ่มแรกที่เข้ามาอาศัยอยู่ จากนั้นจึงตามมาด้วยชาวจีน, ชาวญวน รวมถึงเขมรมาปักหลักอาศัย ปัจจุบันมีสภาพเป็นบ้านเรือนที่อาศัยของผู้คนในลักษณะอาคารพาณิชย์ขนาดเล็ก และตรอกซอกซอยต่าง ๆ และยังมีศาสนสถานสำคัญของหลายศาสนา และมีสิ่งก่อสร้างที่เป็นจุดเด่น เช่น ริเวอร์ซิตี้ หรือ สะพานพิทยเสถียร อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ โดยหลายอาคารนั้นเป็นอาคารที่เก่าควรค่าแก่การอนุรักษ์ มีมากถึง 64 อาคาร ตลาดน้อยเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ด้วยความเก่าแก่ของอาคารสถานที่ และวิถีชีวิตของผู้คนที่ยังคงเหมือนเดิมเช่นในอดีตอยู่ โดยมีถนนสายหลัก คือ ถนนเจริญกรุง บนพื้นที่ติดกับแขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในซอยเจริญกรุง 22 หรือ ตรอกตลาดน้อย ภายในซอยมีหลายสถานที่ ๆ ได้รับความสนใจ เช่น ศาลเจ้าโจวซือกง, บ้านโซวเฮงไถ่ บ้านโบราณที่มีอายุกว่า 200 ปี สร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบซื่อเหอย่วนของจีน, เซียงกง หรือ ซอยวานิช 2 แหล่งรวมอะไหล่รถยนต์ที่มีชื่อเสียง, โบสถ์กาลหว่าร์ ศาสนสถานของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, กรมเจ้าท่า และธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย ซึ่งเป็นธนาคารแห่งแรกของประเทศไทย ตัวอาคารธนาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบโบซาร์ผสมนีโอคลาสสิก โดยก่อสร้างตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงตลาดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

แขวงแสมดำ

แขวงแสมดำ เป็นท้องที่การปกครองในเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและแขวงแสมดำ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางรัก

ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางคอแหลม

ตบางคอแหลม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางคอแหลม · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางแค

ตบางแค เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ ซึ่งถือเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมดีทางฝั่งธนบุรี ปัจจุบันเขตบางแคเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตคลองสามว.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางแค · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระโขนง

ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตสวนหลวง

ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสาทร

ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตหลักสี่

ตหลักสี่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตหลักสี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจอมทอง

ตจอมทอง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดอนเมือง

ตดอนเมือง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีแหล่งสถาบันราชการอยู่ทางด้านตะวันออกของพื้นที.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เขตตลิ่งชัน

ตตลิ่งชัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่รอบนอกทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเรียกว่า "ฝั่งธนบุรี" ปัจจุบันจัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ สภาพโดยทั่วไปเป็นเขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย แต่ปัจจุบัน พื้นที่เกษตรกรรมกำลังลดลงไปมากจากการสร้างพื้นที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและการสร้างเส้นทางคมนาคม.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »