โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์

ดัชนี ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์

ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์ (Bishopric of Hildesheim) เป็นราชรัฐที่ปกครองโดยบิชอปแห่งฮิลเดสไฮม์ที่เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ยุคกลางมาจนกระทั่งถึงปี..

11 ความสัมพันธ์: ชาร์เลอมาญมิชชันนารีมุขมณฑลราชรัฐราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรแฟรงก์จักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ดัชชีซัคเซินเจ้าชายมุขนายก

ชาร์เลอมาญ

ร์เลอมาญ (Charlemagne) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช (Karl der Große) เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ (ฝรั่งเศสโบราณ) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และชาร์เลอมาญ · ดูเพิ่มเติม »

มิชชันนารี

มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และมิชชันนารี · ดูเพิ่มเติม »

มุขมณฑล

มุขมณฑลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 139 (diocese) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกเรียกว่า สังฆมณฑล ในประเทศไทยกรมการศาสนาเรียกว่า เขตมิสซังกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 เป็นเขตการปกครองของคริสตจักรซึ่งมีมุขนายกเป็นประมุข แต่ละมุขมณฑลจะแบ่งออกเป็นเขตแพริช ในกรณีที่เป็นมุขมณฑลขนาดใหญ่และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากกว่ามุขมณฑลอื่นที่อยู่รอบ ๆ มุขมณฑลนั้นจะถูกยกสถานะขึ้นเป็นอัครมุขมณฑล โดยมีอัครมุขนายกเป็นประมุข อัครมุขนายกมีสถานะเป็นมุขนายกมหานคร มีอำนาจสูงกว่ามุขนายกปริมุขมณฑลซึ่งเป็นมุขนายกประจำมุขมณฑลอื่น ๆ ในภาคคริสตจักรเดียวกัน โครงสร้างการปกครองคริสตจักรแบบนี้เรียกว่า การจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มุขมณฑลยังอาจหมายถึง เขตมุขนายก (bishopric) หรือ อิปิสโคปัลซี (Episcopal see) แต่คำว่าอิปิสโคปัลซีมักใช้หมายถึงอาณาเขตที่ปกครองโดยบิชอป ขณะที่ bishopric อาจหมายถึงตำแหน่งบิชอปก็ได้.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และมุขมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐ

ราชรัฐ เป็นคำที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เรียกเขตการปกครองที่มีประมุขเป็นเจ้าซึ่งมีอิสริยยศต่ำกว่าพระมหากษัตริย์ ราชรัฐมี 4 ชั้น คือ.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และราชรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์

ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ (Königreich Hannover) ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคมปี..

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และราชอาณาจักรปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแฟรงก์

ราชอาณาจักรแฟรงก์ (Frankish Kingdom) หรือ ฟรังเกีย (Francia) เป็นดินแดนที่ตั้งถิ่นฐานและปกครองโดยชาวแฟรงก์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 อาณาบริเวณเกิดจากการรณรงค์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ชาร์ล มาร์แตล (Charles Martel) พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย และชาร์เลอมาญ-- พ่อ, ลูก, และหลาน--มามั่นคงเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ธรรมเนียมของการแบ่งดินแดนของพ่อระหว่างลูกชายหมายความว่าดินแดนแฟรงก์ปกครองเป็นอย่างหลวม ๆ เป็นจักรวรรดิที่แบ่งย่อยเป็นส่วนย่อย ๆ (ราชอาณาจักร หรือ อนุราชอาณาจักร) ที่ตั้งและจำนวนอนุราชอาณาจักรก็ต่างกันไปตามเวลา แต่ฟรังเกียโดยทั่วไปมาหมายถึงบริเวณหนึ่งที่เรียกว่าออสเตรเชีย ที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณแม่น้ำไรน์ และแม่น้ำเมิซ (Meuse) ทางตอนเหนือของยุโรป แต่กระนั้นบางครั้งก็จะครอบคลุมไปถึงนิวสเตรีย (Neustria) ทางเหนือของแม่น้ำลัวร์ และทางตะวันตกของแม่น้ำแซนในที่สุดบริเวณนี้ก็เคลื่อนมาทางปารีส และมาสิ้นสุดลงในบริเวณลุ่มแม่น้ำแซนรอบ ๆ ปารีส ที่ยังใช้ชื่ออีล-เดอ-ฟร็องส์ และเป็นชื่อในที่สุดก็กลายเป็นชื่อของราชอาณาจักรฝรั่งเศสทั้งราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และราชอาณาจักรแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา

ักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา (Louis the Pious หรือ Louis the Fair หรือ Louis the Debonaire) (ค.ศ. 778 - 20 มิถุนายน ค.ศ. 840) เป็นกษัตริย์แห่งอากีแตน ตั้งแต่ ค.ศ. 781 และต่อมาก็เป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิแฟรงก์ และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ออทโท ผู้ทรงเริ่มครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ร่วมกับพระราชบิดาตั้งแต่งปี ค.ศ. 813 เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปีต่อมาลุดวิกก็ขึ้นครองราชย์ด้วยพระองค์เองจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 840 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ "ชาร์เลอมาญ" และ ฮิลเดอการ์ดแห่งวินซเกาว์ที่รอดชีวิตมาจนเจริญพระชันษาเป็นผู้ใหญ่ ระหว่างครองอาณาจักรอากีแตนลุดวิกก็รับหน้าที่ต่อสู้ป้องกันพรมแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของจักรวรรดิแฟรงก์ พระองค์ทรงพิชิตดินแดนบาร์เซโลนาจากมุสลิมในปี ค.ศ. 801 และทรงสร้างเสริมอำนาจของแฟรงก์คืนในบริเวณปัมโปลนาและบาสก์ทางตอนใต้ของเทือกเขาพิเรนีสในปี ค.ศ. 813 เมื่อเป็นพระมหาจักรพรรดิลุดวิกก็ทรงเปิดโอกาสให้พระราชโอรส โลแธร์, เปแปง และ หลุยส์—มีส่วนร่วมในการปกครอง และทรงวางรากฐานการแบ่งดินแดนระหว่างพระราชโอรสทั้งสาม สิบปีแรกของรัชสมัยเป็นช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่นำมาซึ่งความโศรกเศร้าและน่าละอาย โดยเฉพาะในการทำการทารุณต่อพระนัดดาแบร์นาร์ดแห่งอิตาลี ที่พระองค์ทรงประกาศแสดงความเสียพระทัยต่อหน้าสาธารณชน ในคริสต์ทศวรรษ 830 จักรวรรดิก็ตกอยู่ในสภาวะของสงครามการเมือง ระหว่างพระราชโอรสของพระองค์เอง ซึ่งยิ่งเลวร้ายลงเมืองลุดวิกพยายามนำพระราชโอรสจากพระมเหสีองค์ที่สองชาร์ลส์เดอะบอลด์ (Charles the Bald) เข้ามาร่วมในแผนการสืบราชบัลลังก์ แม้ว่ารัชสมัยของลุดวิกจะจบลงด้วยดี บ้านเมืองกลับมาอยู่ในความสงบอีกครั้งหนึ่ง แต่ก็ไป็นรัชสมัยที่เมื่อเทียบกับรัชสมัยของพระราชบิดาแล้วก็ไม่รุ่งเรืองเท.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีซัคเซิน

ัชชีซัคเซิน (Herzogtum Sachsen) เป็นปฐมดัชชี (Stem duchy) คาโรแล็งเชียงของปลายยุคกลางตอนต้นที่มีบริเวณครอบคลุมนีเดอร์ซัคเซิน, นอร์ธไรน์-เวสต์ฟาเลีย และ ซัคเซิน-อันฮัลท์ และส่วนใหญ่ของชเลสวิก-โฮลชไตน์ ต่อมาดัชชีซัคเซินก็เป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยดยุกแห่งซัคเซิน.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และดัชชีซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายมุขนายก

ันน์ ออทโท ฟอน เกมมิงเงิน เจ้าชายบิชอปแห่งเอาก์สบูร์กในบาวาเรีย เจ้าชายมุขนายก (Prince-Bishop) เป็นมุขนายกที่มีศักดิ์เป็นเจ้าชายแห่งคริสตจักรโดยมีราชรัฐในปกครองอย่างน้อยหนึ่งแห่ง ทำให้เขตปกครองของพระองค์ทั้งราชรัฐและมุขมณฑลมีลักษณะทับซ้อนกันในพื้นที่เดียว กรณีที่เป็นอัครมุขนายกปกครองราชรัฐก็เรียกว่า เจ้าชายอัครมุขนายก ถ้าเป็นนักพรตปกครองราชรัฐเรียกว่าเจ้าชายอธิการอาราม (prince-abbot) ในยุโรปตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จักรพรรดิโรมันเริ่มสูญเสียพระราชอำนาจเพราะถูกคุกคามจากพวกอนารยชน ดังนั้นมุขนายกซึ่งเป็นผู้นำฝ่ายคริสตจักรจึงต้องขึ้นมาทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการฝ่ายอาณาจักรแทน บางครั้งก็ถึงกับต้องนำทัพเองด้วยถ้าจำเป็น ในจักรวรรดิไบเซนไทน์ จักรพรรดิก็นิยมแต่งตั้งหรือพระราชทานสิทธิและหน้าที่พิเศษให้มุขนายกบางองค์ปกครองรัฐในมุขมณฑลของตนได้ ซึ่งถือเป็นแนวพัฒนาการของลัทธิจักรพรรดิสันตะปาปานิยมที่จะให้คริสตจักรตะวันออกมาทำงานให้กับจักรวรรดิด้วย เช่น มีอัครบิดรสากลที่ทำหน้าที่คล้ายเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศาสนาให้กับองค์จักรพรรดิ จักรวรรดิรัสเซียมีการดำเนินการยิ่งกว่านี้อีก กล่าวคือยุบตำแหน่งอัครบิดรแล้วให้คริสตจักรอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของฝ่ายอาณาจักร คำว่า ฮอคชติฟท์ ในภาษาเยอรมันก็หมายถึงอำนาจหน้าที่ฝ่ายอาณาจักรที่มุขนายกสามารถว่าการปกครองราชรัฐของตนได้ ถ้าเป็นของอัครมุขนายก เรียกว่า แอร์ซชติฟท.

ใหม่!!: ราชรัฐมุขนายกฮิลเดสไฮม์และเจ้าชายมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Bishopric of Hildesheimอาณาจักรสังฆราชแห่งฮิลเดสไฮม์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »