โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17

ดัชนี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ณ โรงละครสยามนิรมิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภาพยนตร์ส่งเข้าประกวด 43 เรื่อง โดย 2 เรื่องที่ถอนตัวไปร่วมประกวดคือ "ตำนานสมเด็จพระเนรศวร ภาค 1 และ 2" ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (จากซ้าย) '''สนธยา ชิตมณี''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' '''เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''รักแห่งสยาม'' '''มาช่า วัฒนพานิช''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''แฝด'' และ '''อัครา อมาตยกุล''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม อัครา อมาตยกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมมาช่า วัฒนพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมสนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

75 ความสัมพันธ์: บอดี้ ศพ*19ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุลบ้านผีสิง (ภาพยนตร์)พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พระพุทธเจ้าพลอย (ภาพยนตร์)พจน์ อานนท์พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกรุงเทพมหานครกฤตกร ทองแสงกัญญา รัตนเพชร์ก้องเกียรติ โขมศิริมาช่า วัฒนพานิชรักนะ 24 ชั่วโมงรักแห่งสยามรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยมลลิตา ปัญโญภาสลี ชาตะเมธีกุลวรนุช ภิรมย์ภักดีวิชชพัชร์ โกจิ๋ววิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุลสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติสยมภู มุกดีพร้อมสยามนิรมิตสวยลากไส้สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสินจัย เปล่งพานิชสุวัจนี ไชยมุสิกสุวีระ บุญรอดสนธยา ชิตมณีหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลอภิญญา สกุลเจริญสุขอรุชา โตสวัสดิ์ออกัสอารักษ์ อมรศุภศิริ...อำเภอไชยาอุทุมพร ศิลาพันธ์อครา อมาตยกุลอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮมจีเอ็มเอ็ม ไท หับทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรีคมสัน นันทจิตตั๊ดสู้ฟุดประเทศไทยปวีณ ภูริจิตปัญญาแฝด (ภาพยนตร์)แสงทอง เกตุอู่ทองโอปปาติก เกิดอมตะไชยา (ภาพยนตร์)ไฟว์สตาร์โปรดักชั่นไกวัล กุลวัฒโนทัยเชษฐวุฒิ วัชรคุณเพื่อน...กูรักมึงว่ะเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์เปิงมาง กลองผีหนังมนุษย์เป็นเอก รัตนเรืองMe...Myself ขอให้รักจงเจริญ17 กุมภาพันธ์365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

บอดี้ ศพ*19

อดี้ ศพ #19 (Body) เป็นภาพยนตร์สยองขวัญแนวจิตวิทยา กำกับโดย ปวีณ ภูริจิตปัญญา เข้าฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และบอดี้ ศพ*19 · ดูเพิ่มเติม »

ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล

ูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล (มะเดี่ยว) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2524 ที่จังหวัดเชียงใหม่ จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาจาก คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง “คน ผี ปีศาจ” “13 เกมสยอง” (13 Beloved) “รักแห่งสยาม” และ "Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล · ดูเพิ่มเติม »

บ้านผีสิง (ภาพยนตร์)

้านผีสิง เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายใน ค.ศ. 2006 กำกับโดย จิล คีนัน อำนวยการสร้างโดย โรเบิร์ต เซเม็กคิส และ สตีเวน สปีลเบิร์ก ฉายในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2006 ส่วนประเทศไทย 31 ตุลาคม ค.ศ. 2006 เป็นครั้งแรกหลังจากเรื่อง เจาะเวลาหาอดีต ภาค 3 ที่ทั้งคู่ได้กลับมาร่วมงานกันอีกครั้ง โดยเป็นเป็นผู้อำนวยการสร้างด้วยกัน ภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ 2 ที่ใช้เทคนิคใหม่ในการสร้าง โดยเรื่องแรกที่ใช้เทคนิคใหม่ในการสร้างคือเรื่อง โพลาร์ เอ็กซ์เพลส โดยผู้อำนวยการสร้าง Robert Zemeckis.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และบ้านผีสิง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธเจ้า

ระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากตำนานของเถรวาท ผู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระองค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย์เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธ ถือกันว่าพระโคตมพุทธเจ้าดำรงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนคริสตกาลตามตำราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และพระพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พลอย (ภาพยนตร์)

ลอย ภาพยนตร์ยาวเรื่องที่หกของเป็นเอก รัตนเรือง นำแสดงโดย อนันดา เอเวอริ่งแฮม, ลลิตา ศศิประภา, อภิญญา สกุลเจริญสุข และ พรวุฒิ สารสิน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และพลอย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ อานนท์

ร์ หรือ พจน์ มีชื่อจริงว่า เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และพจน์ อานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤตกร ทองแสง

กฤตกร ทองแสง (ชื่อเล่น ต๊อบ) เป็นนักแสดง นายแบบชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และกฤตกร ทองแสง · ดูเพิ่มเติม »

กัญญา รัตนเพชร์

กัญญา รัตนเพชร์ (ชื่อเล่น: ตาล; เกิด 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532) เป็นนักแสดงชาวไทย ครอบครัวประกอบไปด้วย 5 คน กัญญาเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง ตั้งแต่อายุประมาณ 13–14 ปี เธอศึกษาที่โรงเรียนฉัตรวิทยาและจบการศึกษาที่ โรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์ ปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และกัญญา รัตนเพชร์ · ดูเพิ่มเติม »

ก้องเกียรติ โขมศิริ

ก้องเกียรติ โขมศิริ (ชื่อเล่น: โขม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และก้องเกียรติ โขมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

มาช่า วัฒนพานิช

มาช่า วัฒนพานิช (24 สิงหาคม พ.ศ. 2513) มีชื่อจริงแต่เดิมว่า มาร์ชา วัฒนพานิช Marion Ursula Marsha Vadhanapanich; ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สยมพร, ธนัฏฐาไทยรั.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และมาช่า วัฒนพานิช · ดูเพิ่มเติม »

รักนะ 24 ชั่วโมง

ป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรักนะ 24 ชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

รักแห่งสยาม

รักแห่งสยาม เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, มาริโอ้ เมาเร่อ และ วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก และการค้นหาตัวตน ผ่านมุมมองของเด็กชายสองคน โดยมีสยามสแควร์เป็นสถานที่เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด ซึ่งการถ่ายทำเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากสยามสแควร์เป็นสถานที่ซึ่งมีผู้คนพลุกพล่านเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทำ การประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ก่อนการออกฉาย นำเสนอว่าเป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับความรักใส ๆ ของวัยรุ่นหญิงชาย แต่เมื่อภาพยนตร์ออกฉายจริง กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความสับสนในจิตใจของวัยรุ่นชาย รวมถึงมีฉากล่อแหลม ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนเสียงตอบรับในด้านกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดข้อถกเถียงทั้งในแง่บวกและแง่ลบ ภาพยนตร์ออกฉายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทำรายได้ในสัปดาห์แรก 18.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีการฉายในฉบับ “Director's Cut” มีความยาวประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ และจากกระแสตอบรับที่ดีของภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงมีกิจกรรมเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบและทีมงาน เช่น รอบพิเศษ ที่โรงภาพยนตร์สกาลา สยามสแควร์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรักแห่งสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี รายละเอียดในแต่ละรายการประกอบด้วย.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อบทภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม (ช่างกล้อง) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม (ตัดต่อ) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม / รางวัลเพลงนำภาพยนตร์ การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 จัดโดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์ที่มีการออกแบบเสียงหรือตัดต่อเสียงได้ดีเยี่ยม รางวัลนี้มักจะมอบให้กับ Supervising Sound Editor หรือ Sound Designer ของภาพยนตร์เรื่องนั้น ในปีหนึ่งๆ หากไม่มีภาพยนตร์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง การมอบรางวัลจะมอบเป็น Special Achievement Award นับตั้งแต่อดีต รางวัลนี้ได้มีการเปลี่ยนชื่อดังนี้.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ลลิตา ปัญโญภาส

ลลิตา ปัญโญภาส หรือ ลลิตา ศศิประภา (ชื่อเกิด: ลลิตา โชติรส; ชื่อเล่น: หมิว; เกิด: 5 ตุลาคม พ.ศ. 2514) เป็นบุตรสาวของจารุวรรณ ปัญโญภาส และโกวิท โชติร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และลลิตา ปัญโญภาส · ดูเพิ่มเติม »

ลี ชาตะเมธีกุล

ลี ชาตะเมธีกุล นักลำดับภาพ และนักตัดต่อเสียง ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ที่เน้นผลิตผลงานกับผู้สร้างอิสระ โดยเฉพาะกับ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ปัจจุบันเปิดบริษัทรับจ้างทำงานโพสต์โปรดักชั่น ชื่อ ฮูดินี สตูดิโอ ตั้งแต..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และลี ชาตะเมธีกุล · ดูเพิ่มเติม »

วรนุช ภิรมย์ภักดี

วรนุช ภิรมย์ภักดี (สกุลเดิม วงษ์สวรรค์) มีชื่อเล่นว่า นุ่น เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรสาวของ ปรีชา วงษ์สวรรค์ กับระเบียบ วงษ์สวรรค์ เกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2523 มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน จบการศึกษาจาก วิทยาลัยนาฏศิลป และศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ นิเทศศาสตร์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยการชักชวนของ แก้วพรีเมียร์และแสดงละครเรื่องแรกคือ ปอบผีฟ้า ทางช่อง 7 เมื่อปี พ.ศ. 2540 คู่กับ นุติ เขมะโยธิน ปัจจุบัน สมรสกับ ปิติ ภิรมย์ภักดี ทายาทเจ้าของธุรกิจเบียร์สิงห์ โดยมีพิธีมงคลสมรสเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และวรนุช ภิรมย์ภักดี · ดูเพิ่มเติม »

วิชชพัชร์ โกจิ๋ว

วิชชพัชร์ โกจิ๋ว (ชื่อเดิม: วิชชา; ชื่อเล่น: เดียว) ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2520 ปัจจุบัน ยุติงานกำกับภาพยนตร์ ไปดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีทีเอช ออน แอร์ จำกัด และ กำกับดูแลงาน ด้านการตัดต่อภาพยนตร์ ตามที่ถนัดและชื่นชอ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และวิชชพัชร์ โกจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล

วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล (ชื่อเล่น: พิช) เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงเป็น “มิว” ตัวละครเอกของภาพยนตร์ไทยเรื่อง “รักแห่งสยาม” (2550) และการเป็นนักร้องนำวงออกั.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และวิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ

มาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ อักษรย่อว่า "สสภช" (NFTFA) เดิมชื่อ สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สยมภู มุกดีพร้อม

มภู มุกดีพร้อม (เกิด พ.ศ. 2513 -) เป็นผู้กำกับภาพชาวไทย สยมภูจบการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง เริ่มเข้าสู่วงการการการเป็นผู้กำกับภาพให้กับอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ใน ดอกฟ้าในมือมาร ภาพยนตร์สารคดีเรื่องแรกของอภิชาติพงศ์ และร่วมงานกันตลอดมา ทั้ง สุดเสน่หา (2545) ภาพยนตร์สั้น Worldly Desires (2548) และแสงศตวรรษ (2549) สยมภู เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม จากเรื่องแสงศตวรรษ ในงานประกวด Asian Film Award รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ จากเรื่อง ไชยา และภาพยนตร์เรื่อง ซอยคาวบอย ได้ออกฉายในเทศกาลภาพยนตร์กาน ประจำปี 2008.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสยมภู มุกดีพร้อม · ดูเพิ่มเติม »

สยามนิรมิต

มนิรมิต เป็นโรงละครขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนถนนเทียมร่วมมิตร ใกล้กับศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โรงละครการแสดงพื้นบ้านวัฒนธรรมไทยท่องป่าหิมพานต์ และท่องไปในสวรรค์ชั้นบน และนรก องก์ที่ 1 ย้อนรอยประวัติศาสตร์ ตอนที่ 1 ล้านนานคร ล้านนามหานครเทวีแลเหล่านางกำนัลจัดเตรียมขบวนแห่อันวิจิตร พร้อมบรรดานางฟ้อน นางรำ พลดาบ ฝีมือกล้า ตามเสด็จองค์มหาราชา เพื่อร่วมในงานบุญตาม ประเพณี ตอนที่ 2 การค้าขายทางด้านภาคใต้ ย้อนหลังไปสู่อาณาจักรศรีวิชัย จนล่วงมาอาณาจักรนครศรีธรรมราช ความรุ่งเรืองในยุคนั้น ได้เชื้อเชิญให้มหามิตรจาก แดนไกล เดินทางมาค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้า ชมมหรสพและ การละเล่นของวัฒนธรรมชาวใต้ ที่ผสมผสานกันอย่าง กลมกลืน ทั้งไทยพุทธและมุสลิม ตอนที่ 3 อีสาน ตำนานประสาทหิน บรรดาหนุ่มสาวชาวอีสานร้องรำทำเพลง เฉลิมฉลองกันอย่าง สนุกสนาน ในงานทำบุญผ้าพระเวสต่อหน้าพระธาตุพนม ตื่นตา ประสาทหินที่ถูกสร้างขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ และร่วมค้าหาความเร้นลับของนางอัปสราที่ถูกบรรจงปั้นไว้อย่างงดงาม ตอนที่ 4 กรุงศรีฯ ราชธานีที่รุ่งโรจน์ ร่วมเดินทางย้อนเวลาไปกว่าสามร้อยปีสู่ กรุงศรีอยุธยาราชธานีที่รุ่งโรจน์และเกรียงไกร ได้เจริญสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ ประกาศถึงความมั่งคั่ง มั่นคง ดำรงไว้ซึ่งแสนยานุภาพ องก์ที่ 2 ท่องไปในไตรภพ สู่ดินแดนแห่งจินตนาการ: นรก หิมพานต์ สวรรค์ ท่องสู่จินตนาการตามคติความเชื่อของชาวสยาม ตื่นตะลึงไปกับ ดินแดนในไตรภพ ร่วมดำดิ่งสู่ นรกภูมิ เผชิญหน้ากับยมราช และเหล่าภูตผีปีศาจที่ตื่นตะลึงไปกับป่าหิมพานต์ อันเร้นลับ สวยงาม สุดมหัศจรรย์ล่องลอยสู่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ดินแดน แห่งเทพยดา และนางฟ้าทั้งหลาย ซึ่งมีอินทราเป็นเทพยดาสูงสุด องก์ที่ 3 รื่นเริง สนุกสนาน สืบสานประเพณีไทย ด้วยความเชื่อที่ว่าทำดีได้ดีไปสวรรค์ ชนชาวสยามจึงมีประเพณี งานบุญมากมาย ที่ผสมผสานงานรื่นเริงและ การละเล่นต่างๆ สืบทอดมานานหลายร้อยปี สยามนิรมิต จะเป็นความภาคภูมิใจของ คนไทย จะเผยแพร่ความงดงาม และความทรงคุณค่าของความเป็นไทยให้กับผู้ชมทั้งในระดับประเทศและในระดับโลก-->.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสยามนิรมิต · ดูเพิ่มเติม »

สวยลากไส้

วยลากไส้ (Sick nurses) เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดย ทศพล ศิริวิวัฒน์ และ พีระพันธ์ เหล่ายนตร์ ออกฉายในวันที่ 14 มิถุนายน ปี พ.ศ. 2550 ใน ประเทศไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสวยลากไส้ · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สินจัย เปล่งพานิช

นจัย เปล่งพานิช (นก) นามสกุลเดิม หงษ์ไทย เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2508 เป็นนักแสดงที่มีผลงานการแสดงภาพยนตร์และละครมากมาย ทั้งยังเคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด ทอฝัน (2533) กับค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสินจัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

สุวัจนี ไชยมุสิก

วัจนี พานิชชีวะ (สกุลเดิม ไชยมุสิก; เกิด: 26 ธันวาคม พ.ศ. 2517) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย สุวัจนีถือเป็นนักแสดงเจ้าบทบาทโดยเฉพาะบทนางร้าย เป็นนางร้ายลำดับต้น ๆ ของวงการละครไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสุวัจนี ไชยมุสิก · ดูเพิ่มเติม »

สุวีระ บุญรอด

วีระ บุญรอด (ชื่อเล่น คิว) เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักร้องชาวไทย เป็นนักร้องนำวงฟลัวร์ และเคยมีผลงานร่วมในนามบีไฟว์ สุวีระเป็นบุตรของพล.ร.อ.อำนวย บุญรอด และ จีรนันทน์ เศวตนันทน์ นางสาวไท..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสุวีระ บุญรอด · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา ชิตมณี

นธยา ชิตมณี เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นที่รู้จักในนาม สน The Star เป็นนักร้อง นักแสดง เข้าศึกษาระดับประถมที่ โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร ระดับมัธยมเรียนที่โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ และโรงเรียนรัตภูมิวิทยา เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการชนะเลิศการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 1..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสนธยา ชิตมณี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

อภิญญา สกุลเจริญสุข

อภิญญา สกุลเจริญสุข (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2533) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักจากการเป็นนางเอกภาพยนตร์เรื่อง พลอย และอดีตหนึ่งในพิธีกรรายการ "สตรอเบอร์รี่ชีสเค้ก".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอภิญญา สกุลเจริญสุข · ดูเพิ่มเติม »

อรุชา โตสวัสดิ์

อรุชา โตสวัสดิ์ (ชื่อเล่น: เอ) เกิดวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2522 เป็นนักแสดงชาวไทยจากภาพยนตร์เรื่อง เพื่อน...กูรักมึงว่ะ ละคร นรสิงห์ และ มีผลการการแสดงอีกหลายเรื่องด้วยกัน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอรุชา โตสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออกัส

ออกัส เป็นวงดนตรีชาวไทย ก่อตั้งขึ้นเพื่อร่วมแสดงเป็นวงดนตรีชื่อเดียวกัน ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม (2550) ซึ่งชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ เป็นผู้จัดการวง และมีสมาชิกทั้งหมด 13 คน ออกอัลบั้มเพลงมาแล้วสองชุด ในช่วงต้นและปลายปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และออกัส · ดูเพิ่มเติม »

อารักษ์ อมรศุภศิริ

อารักษ์ อมรศุภศิริ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นนักแสดง นายแบบ และนักดนตรีชาวไทย มีผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรก กับการเป็นมือกีตาร์วงสะเลอ หลังจากนั้นมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ บอดี้..ศพ#19 ที่สร้างชื่อเสียง ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไชยา

อำเภอไชยา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เคยเป็นเมืองเก่าแก่มากแห่งหนึ่งในทางใต้ของภูมิภาคนี้ เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรศรีวิชัยในสมัยโบราณ โดยมีหลักฐานทั้งโบราณวัตถุและโบราณสถานจำนวนมาก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอำเภอไชยา · ดูเพิ่มเติม »

อุทุมพร ศิลาพันธ์

อุทุมพร ศิลาพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอุทุมพร ศิลาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อครา อมาตยกุล

อัครา อมาตยกุล เกิด 19 เมษายน พ.ศ. 2517 เป็นนักแสดงชาวไทย หลานของคุณตามงคล อมาตยกุล ครูเพลงผู้สร้างนักร้องประดับวงการเพลงลูกทุ่งไทยมากมาย สำเร็จการศึกษาด้านกราฟิกดีไซน์จาก Fashion Institute of Technology นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา มีน้องสาว 1 คน คือ ธนสร อมาตยกุล ผู้ประกาศข่าวช่อง 3.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอครา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม

อนันดา เอเวอริงแฮม (เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) เป็นดาราลูกครึ่งออสเตรเลีย-ลาว เข้าวงการเมื่ออายุ 14 ปี โดยคำชักชวนของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ กับภาพยนตร์เรื่องแรก อันดากับฟ้าใส และ 303 กลัว/กล้า/อาฆาต หลังจากไม่มีผลงานบันเทิงระยะหนึ่ง ได้กลับมาอีกครั้งกับละครเรื่องทะเลฤๅอิ่ม ของหม่อมน้อย หลังจากนั้นก็มีผลงานการแสดงเรื่อยมา จนใน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และจีเอ็มเอ็ม ไท หับ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี

ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี แต่เพื่อน ๆ ที่กรุงเทพคริสเตียนเห็นมือยาวและแขนผอมเหมือนกบเลยเรียกว่า กบ จนกลายเป็นชื่อเล่นในปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 สัญชาติไทย-จีน จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ปริญญาตรีคณะนิเทศศาสตร์จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เริ่มเข้าสู่วงการด้วยการชักชวนของนางแบบรุ่นพี่ "นวลจรี จำนงค์ไทย" และ "อรนภา กฤษฎี" เริ่มต้นด้วยการถ่ายแบบลงในนิตยสาร "เปรียว" ต่อมาได้ร่วมหุ้นเปิดผับกับพี่ชายชื่อว่า "มัสแตง" ที่นี่เองที่ทำให้ได้พบกับหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล เป็นจุดเริ่มต้นให้เข้าสู่อาชีพนักแสดงด้วยการแสดงละครเรื่องแรกชื่อ "เดอะ ผับ" หลังจากนั้นก็ได้มีโอกาสเล่นละครเวทีอีกหลายเรื่อง ต่อมาชรัส เฟื่องอารมย์ ได้ชักนำเข้าสู่วงการเพลง กบเริ่มต้นงานชิ้นแรกในชุด "เผื่อใจไว้" และแสดงภาพยนตร์เรื่องแรก "เผื่อใจไว้ให้กันสักหน่อย" ในปี พ.ศ. 2533 หลังจากนั้นได้มีผลงานเพลงที่รู้จักจากอัลบั้มชุดที่สองในปี พ.ศ. 2533 สังกัดแกรมมี่ ชื่อชุด "กบใส ๆ" มีเพลงที่ได้รับความนิยม เช่น วันใส ๆ และ ปาฏิหาริย์ หลังจากนั้นก็ได้แสดงในละครซิทคอมทางช่อง 7 ที่ได้รับความนิยมคือ 3 หนุ่ม 3 มุม คู่กับ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง และ ปฏิภาณ ปฐวีกานต์ โดยรับบทเป็น เอกพล พี่ชายคนโตทำงานธนาคารที่มักจู้จี้ขี้บ่น นอกจากนี้เขายังเคยเป็นนักฮ็อกกี้น้ำแข็งทีมชาติและอดีตนักกีฬายิงปืนรณยุทธก่อนที่จะผันตัวเป็นนักแสดง กบ ทรงสิทธิ์ ได้ออกอัลบั้มตามมาอีกหลายชุด มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น ขอแสดงความนับถือ, ขีดเส้นใต้, รักเราไม่เก่าเลย หรือ กลับลำ เป็นต้น ควบคู่กับการแสดงในสังกัดของแกรมมี่เรื่อยมาจนปัจจุบัน และเป็นพิธีกรในรายการ 3 หนุ่ม 3 มุม ทูไนท์ ทางช่อง 5 อีกด้วย ทางด้านชีวิตส่วนตัว กบ เข้าพิธีสมรสกับ “คุณ ศิริรัตน์ ทับทิม” เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี · ดูเพิ่มเติม »

คมสัน นันทจิต

มสัน นันทจิต เป็นสถาปนิก นักเขียนเรื่องสั้น นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เคยได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2541 จากเรื่อง รัก-ออกแบบไม่ได้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง ครั้งที่ 17 ประจำปี 2550 จากเรื่อง บ้านผีสิง คมสันจบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ สังกัดทีวีบูรพา และ ดีเจในรายการ หนังหน้าแมว และ จดหมายเด็กแมว ทาง แคทเรดิโอ ผลงานการเขียนเรื่องสั้น เคยได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารช่อการะเกด ที่มีสุชาติ สวัสดิ์ศรี เป็นบรรณาธิการ นอกเหนือจากงานเขียนแล้ว คมสันยังมีผลงานแปลเรื่องสั้นภาษาญี่ปุ่นของ ฮารูกิ มุราคาม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และคมสัน นันทจิต · ดูเพิ่มเติม »

ตั๊ดสู้ฟุด

ตั๊ดสู้ฟุด เป็นภาพยนตร์ไทยโดยจีทีเอช ออกฉายเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 กำกับโดย จตุรงค์ พลบูรณ์ (จตุรงค์ มกจ๊ก) นำแสดงโดยบอย – สิทธิชัย ผาบชมภู (บอย AF3),จตุรงค์ พลบูรณ์ (จตุรงค์ มกจ๊ก),อาเกรียง - เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง,จิ๊บ – ปกฉัตร เทียมชัย,นุ้ย เชิญยิ้ม (ชูเกียรติ เอี่ยมสุข),จิ้ม ชวนชื่น (นพดล ทรงแสง),แดนนี่ – ดนัย ศรีภิญโญ และโก๊ะตี๋ – เจริญพร อ่อนละม้.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และตั๊ดสู้ฟุด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณ ภูริจิตปัญญา

ปวีณ ภูริจิตปัญญา หรือ กัญจน์ ภูริจิตปัญญา (ชื่อเล่น กอล์ฟ) เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และปวีณ ภูริจิตปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

แฝด (ภาพยนตร์)

แฝด (Alone.) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ. 2550 สร้างโดยจีทีเอช ร่วมผลิตโดยบริษัท ฟีโนมีนาและบริษัท เดคดิเคท กำกับโดย โต้ง - บรรจง ปิสัญธนะกูล และ โอ๋ - ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ ที่เคยกำกับใน ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ นำแสดงโดย มาช่า วัฒนพานิช, วิทยา วสุไกรไพศาล, รัชนู บุญชูดวง, นิมิตร ลักษมีพงศ์, นะโม ทองกำเหนิด, หทัยรัตน์ อีเกอเรฟ, ฤทัยรัตน์ อีเกอเรฟ,.ญ.ชุติกาญจน์ วิมุกตานนท์,.ญ.ชญากาณฑ์ วิมุกตานนท์ อำนวยการสร้างฝ่ายบริหารโดยไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม, บุษบา ดาวเรือง, วิสูตร พูลวรลักษณ์, จินา โอสถศิลป์ อำนวยการสร้างโดย ยอดเพชร สุดสวาท, ม.ล. มิ่งมงคล โสณกุล, ยงยุทธ ทองกองทุน ดำเนินงานสร้างโดย อัจฉรา ทาแก้ว, ปิ่น จินตนาภรณ์พันธ์ อบรมการแสดงโดย อรชุมา ยุทธวงศ์ ฝึกสอนการแสดงโดย พัชราภรณ์ หิตะนันท์ กำกับภาพโดย นิรมล รอสส์ ลำดับภาพโดย วิชชา โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค ออกแบบงานสร้างโดย ศักดิ์ศิริ จันทรังษี ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้รวม 67.5 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และแฝด (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แสงทอง เกตุอู่ทอง

แสงทอง เกตุอู่ทอง ชื่อเล่น จี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักแสดง-นางแบบชาวไทย เธอมีพี่น้อง 3 คน เธอเป็นคนสุดท้อง เธอเข้าสู่วงการด้วยการเคยชนะเลิศ โครงการ "STICK & STAR" ของบริษัทกันตน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และแสงทอง เกตุอู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

โอปปาติก เกิดอมตะ

อปปาติก - เกิดอมตะ (Opapatika) ภาพยนตร์แอ็คชั่น - แฟนตาซี ผลงานการกำกับของ ธนกร พงษ์สุวรรณ นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด, ชาคริต แย้มนาม, ลีโอ พุฒ (ลีโอ พุฒ), อธิป นานา, เรย์ แมคโดนัลด์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, นิรุตติ์ ศิริจรรยา และ เข็มอัปสร สิร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และโอปปาติก เกิดอมตะ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา (ภาพยนตร์)

ป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และไชยา (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น

ฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เป็นบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ของไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดย เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เดิมชื่อว่า บริษัทนิวไฟว์สตาร์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2523 โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้ดำเนินการผลิตภาพยนตร์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อความบันเทิงทั้งในและต่างประเทศตลอดระยะเวลา 40 ปี ภาพยนตร์ของ ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้รับความนิยมชมชอบแทบทุกเรื่องในสมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนศึก, ลูกอีสาน, ผู้ใหญ่ลีกับนางมา, บุญชู, น้ำพุ, วัยระเริง, อนึ่งคิดถึงพอสังเขป, กลิ่นสีและกาวแป้ง, กว่าจะรู้เดียงสา, ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44, คู่กรรม, อำแดงเหมือนกับนายริด, หวานมันส์ ฉันคือเธอ, ด้วยเกล้า, หลังคาแดง, ฟ้าทะลายโจร, มนต์รักทรานซิสเตอร์ เป็นต้น หลังจาก เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร ถูกโส ธนวิสุทธิ์ ลอบยิงเสียชีวิต เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และไฟว์สตาร์โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ไกวัล กุลวัฒโนทัย

Kaiwan Kulavadhanothai กนกมัน พงสกุล ไกวัล กุลวัฒโนทัย เริ่มศึกษาวิชาดนตรีเมื่ออายุ 10 ปี ที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร กับอาจารย์ Motoko Funakoshi ในวิชาเอกขับร้อง ในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และไกวัล กุลวัฒโนทัย · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐวุฒิ วัชรคุณ

ษฐวุฒิ วัชรคุณ หรือ บ๊วย นักแสดงและพิธีกรชาวไทย บุคลิกอารมณ์ดี หัวโล้น จนเป็นที่จดจำของผู้ชม และเป็นอดีตนักกีฬารักบี้ทีมชาติไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเชษฐวุฒิ วัชรคุณ · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อน...กูรักมึงว่ะ

ื่อน...กูรักมึงว่ะ (Bangkok Love Story) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเพื่อน...กูรักมึงว่ะ · ดูเพิ่มเติม »

เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์

อกสิทธิ์ ไทยรัตน์ จบการศึกษาในสาขาวิชาศิลปกรรม "วิทยาลัยครูธนบุรี" (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี) ปัจจุบันเป็นนักออกแบบโฆษณา ในตำแหน่งผู้กำกับศิลป์ บริษัท Fareast DDB, นักออกแบบกราฟิก, มือเขียนบทภาพยนตร์ และนักเขียนการ์ตูนชาวไทย มีผลงานการ์ตูน โครงการมรณะ เป็นการ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกกับสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ เอกสิทธิ์ เคยได้รับรางวัลการเขียนการ์ตูนในระดับนานาชาติมาแล้วหลายรางวัล โดยเฉพาะรางวัลชนะเลิศจากการประกวดเขียนการ์ตูนของ น...โยมิอูริ ขิมบุน ในประเทศญี่ปุ่น ผลงานการ์ตูน "รวมเรื่องสั้นจิตหลุด" ของเขาได้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์คือ 13 เกมสยอง (The 13th Quiz Show) ผลงานอื่นๆทางด้านการเขียนบทภาพยนตร์ ได้แก่ บอดี้ ศพ 19, ฝัน-หวาน-อาย-จูบ ตอน หวาน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

อมาลย์ บุญยศักดิ์ ชื่อเล่น พลอย (15 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เป็นน้องสาวของดารัณ บุญยศักดิ์ อดีตนักแสดง มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ขุนศึก มาดามดัน สามีตีตรา และภาพยนตร์เรื่อง บุปผาราตรี รักแห่งสยาม ชั่วฟ้าดินสลาย สี่แพร่ง และคิดถึงวิท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปิงมาง กลองผีหนังมนุษย์

ปิงมาง กลองผีหนังมนุษย์ เป็นภาพยนตร์ไทยผลิตโดย พระนครฟิล์ม เริ่มฉาย 19 เมษายน พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเปิงมาง กลองผีหนังมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

เป็นเอก รัตนเรือง

ป็นเอก รัตนเรือง (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2505 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นผู้กำกับและนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย เติบโตมาจากวงการกำกับภาพยนตร์โฆษณา เป็นเอกเป็นที่รู้จักมากที่สุดจากภาพยนตร์ เรื่องรัก น้อยนิด มหาศาล และจัดว่าเป็นหนึ่งในคนทำหนังคลื่นลูกใหม่ ร่วมกับ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล โดยในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเป็นเอก รัตนเรือง · ดูเพิ่มเติม »

Me...Myself ขอให้รักจงเจริญ

Me...Myself ขอให้รักจงเจริญ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และMe...Myself ขอให้รักจงเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์

365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ (Final Score) เป็นภาพยนตร์แนวสารคดีเกี่ยวกับเรื่องราวการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย ของเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 4 คน ในช่วงปีการศึกษา พ.ศ. 2548 ซึ่งเป็นปีแรกที่ใช้การสอบแอดมิดชันส์ แทนการสอบเอ็นทรานซ์ ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดย โสรยา นาคะสุวรรณ เกิดจากแนวคิดของ จิระ มะลิกุล ผู้อำนวยการสร้าง ที่จะนำเสนอชีวิตของเด็กวัยรุ่นไทยที่กำลังจะเข้ามหาวิทยาลัย ตามความเป็นจริง ในรูปแบบเรียลลิตี้โชว์ โดยใช้ทีมงานจำนวน 6 คน ประกอบด้วยผู้กำกับ ช่างกล้อง ช่างเสียง ผู้จัดการกองถ่าย ผู้ช่วยผู้จัดการกองถ่าย และคนขับรถ เฝ้าติดตามถ่ายนักแสดงนำทั้ง 4 คน เป็นเวลา 1 ปี โดยไม่มีบท และไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่าจะเกิดอะไรขึ้น จากนั้นจึงนำฟุตเตจทั้งหมด มาตัดต่อเป็นภาพยนตร์ การถ่ายทำส่วนใหญ่ ถ่ายทำที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยซึ่งนักแสดงนำทั้ง 4 คนเรียนอยู่ และที่บ้านของนักแสดง โดยช่างกล้องและช่างเสียง ต้องใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นตลอด 1 ปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และ365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี พ.ศ. 2550

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »