โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16

ดัชนี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16

พิธีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ สวนรัก อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยมี นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นประธาน ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 41 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่อง 13 เกมสยอง เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล โดยไม่มีภาพยนตร์จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เข้าประกวด เนื่องจากความขัดแย้งในการประกวดประจำปี 2548 (คือเรื่อง เปนชู้กับผี และ Invisible Waves คำพิพากษาของมหาสมุทร) กฤษดา สุโกศล แคลปป์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รุ้งลาวัณย์ โทนะหงษา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นิรุตติ์ ศิริจรรยา ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหนา.

79 ความสัมพันธ์: ชาลี ไตรรัตน์ชุติมา ทีปะนาถชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุลพ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พลอย จินดาโชติพิชญ์นาฏ สาขากรพิง ลำพระเพลิงกระสือวาเลนไทน์กฤษดา สุโกศล แคลปป์กันตนากุณฑีรา สัตตบงกชก้านกล้วยมนุษย์เหล็กไหลยืนยง โอภากุลรักจังรัฐภูมิ โตคงทรัพย์รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยมรุ้งลาวัณย์ โทนะหงษารณภพ อรรคราชลีโอ พุฒวรวิทย์ พิกุลทองศรัณยู วงษ์กระจ่างสมพงษ์ คุนาประถมสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติสราวุธ วิเชียรสารสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสุดสาครหมากเตะรีเทิร์นสหนูหิ่น อินเตอร์หนูหิ่น เดอะมูฟวี่อัมรินทร์ นิติพนผีอยากกลับมาเกิดผีคนเป็นจังหวัดนครราชสีมา...จินตหรา สุขพัฒน์จีเอ็มเอ็ม ไท หับทรงยศ สุขมากอนันต์ท้าวสุรนารีคมภิญญ์ เข็มกำเนิดฅนไฟบินซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยประเทศไทยปิติศักดิ์ เยาวนานนท์นิรุตติ์ ศิริจรรยาน้อย โพธิ์งามแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้าโกวิท วัฒนกุลโหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทองโคลิค เด็กเห็นผีโคตรรักเอ็งเลยไฟว์สตาร์โปรดักชั่นเฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้เพลงสุดท้ายเพ็ญพักตร์ ศิริกุลเกรียงศักดิ์ เหรียญทองเก๋า..เก๋าเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์เจเน็ต เขียวเดอะเลตเตอร์ เขียนเป็นส่งตายเด็กหอเปนชู้กับผี13 เกมสยอง9 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (29 มากกว่า) »

ชาลี ไตรรัตน์

ลี ปอทเจส หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ชาลี ไตรรัตน์ ชื่อเล่น แน็ก (19 มกราคม พ.ศ. 2536) เป็นนักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ยังเด็ก มีผลงานสร้างชื่อเสียงในภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน ที่ทำรายได้สูงสุด 140 ล้านบาทในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และชาลี ไตรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุติมา ทีปะนาถ

ติมา ทีปะนาถ (ชื่อเล่น:ต่าย) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และชุติมา ทีปะนาถ · ดูเพิ่มเติม »

ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล

ูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล (มะเดี่ยว) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2524 ที่จังหวัดเชียงใหม่ จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาจาก คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง “คน ผี ปีศาจ” “13 เกมสยอง” (13 Beloved) “รักแห่งสยาม” และ "Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พลอย จินดาโชติ

ลอย จินดาโชติ (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และพลอย จินดาโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พิชญ์นาฏ สาขากร

ญ์นาฏ สาขากร เกิดวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 เป็นนางแบบและนักแสดงที่มีชื่อเสียง ได้รับฉายา ซูฉีเมืองไทย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และพิชญ์นาฏ สาขากร · ดูเพิ่มเติม »

พิง ลำพระเพลิง

ง ลำพระเพลิง คือฉายา หรือนามปากกาของ ภูพิงค์ พังสอาด นักเขียน นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้มีอารมณ์ขันแต่ชีวิตจริงของ พิง ทำมาแล้วหลายอย่าง ตั้งแต่คนนำเสียงปรบมือให้กับรายการเกมโชว์, นักแสดงละครใบ้ในฐานะปรัศนีย์ประจำรายการเกมโชว์, ฝ่ายอาร์ทในโรงงานขนม, เขียนบทภาพยนตร์-ละคร, ผู้กำกับการแสดง หรือแม้กระทั่งเป็นพนักงานล้างจานในประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และพิง ลำพระเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

กระสือวาเลนไทน์

กระสือวาเลนไทน์ เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และกระสือวาเลนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษดา สุโกศล แคลปป์

กฤษดา สุโกศล แคลปป์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ น้อย วงพรู (ชื่อเล่น: น้อย) เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2513 เป็นนักร้องนำวงพรู นักแสดงชาวไทย นอกเหนือจากผลงานการแสดงเขายังเป็นผู้บริหารกิจการโรงแรม เดอะ สยามร่วมกับครอบครัว กมลา สุโกศล หลังห่างหายไปถึงสิบสองปี น้อยก็กลับมาในฐานะศิลปินเดี่ยว โดยได้ศิลปินมาช่วยแต่งเพลงอย่าง บอย โกสิยพงษ์ อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข และ ตรัย ภูมิรัตน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และกฤษดา สุโกศล แคลปป์ · ดูเพิ่มเติม »

กันตนา

ริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (Kantana Group Public Company Limited) นานกว่า 6 ทศวรรษที่กันตนาโดดเด่นอยู่ในวงการบันเทิงไทย ด้วยแนวคิดในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมธุรกิจทั้งด้านสื่อบันเทิงด้านการศึกษาและธุรกิจก่อสร้าง (เป็นธุรกิจใหม่) ใน 4 สายธุรกิจ ได้แก่ สายธุรกิจโทรทัศน์ (Television Business) สายธุรกิจภาพยนตร์ (Film Business) สายธุรกิจการศึกษา (Education Business) และสายธุรกิจบริหารจัดการเนื้อหาและธุรกิจใหม่ (Content Management & New Biz) กันตนา พร้อมด้วยทีมงานผู้ที่มีประสบการณ์ยาวนานกว่า1,000คน บนพื้นที่สตูดิโอขนาดใหญ่ 3 แห่ง อันได้แก่ กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ถนนรัชดาภิเษก ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่, กันตนา บางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นที่ตั้งสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมต่างๆ ในเครือกันตนา และ กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ถือได้ว่าเป็นสตูดิโอกลางแจ้งที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค พร้อมให้บริการงานโฆษณา ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ทั้งในและต่างประเทศอย่างสมบูรณ์แบบ   ด้วยศักยภาพในด้านการผลิตสื่อทุกประเภท นำไปสู่ความน่าเชื่อถือในระดับนานาชาติและก่อให้เกิดเป็นเครือข่ายธุรกิจที่สัมพันธ์เชื่อมโยงจากกันตนาสู่ประเทศคู่ค้ากว่า 40 ประเทศทั่วโลก .

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และกันตนา · ดูเพิ่มเติม »

กุณฑีรา สัตตบงกช

กุณฑีรา สัตตบงกช (ขื่อเล่น: เมย์; เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง ธิดาช้าง และ โคลิค เด็กเห็นผี จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาสถิติ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงโดยการเป็น รองนางสาวไทยอันดับ 2 ประจำปี 2543 (ปีนางสาวไทยคือ บุ๋ม ปนัดดา วงศ์ผู้ดี) และมีผลงานจากการถ่ายโฆษณาและเป็นพิธีกรมากมายในช่วยนั้น จึงได้มีโอกาสแสดงภาพยนตร์จนเป็นที่รู้จักจากเรื่อง ธิดาช้าง เป็นต้น ปัจจุบัน เป็นนักธุรกิจบริษัทยูนิซิตี้ระดับ Presidential Director.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และกุณฑีรา สัตตบงกช · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย

ก้านกล้วย (พ.ศ. 2549) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดยกันตนาแอนิเมชัน เป็นเรื่องราวที่ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดีหรือเดิมชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือ พลายภูเขาทอง โดยในเรื่องใช้ชื่อว่า ก้านกล้วย เป็นตัวเอก ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ได้ คมภิญญ์ เข็มกำเนิด คนไทยที่ได้ไปศึกษาทางฟิล์มและวิดีโอที่เน้นด้านการทำแอนิเมชันที่สหรัฐ และได้เคยร่วมงานสร้างตัวละครและทำภาพเคลื่อนไหวที่เคยร่วมงานกับบริษัทวอลท์ดิสนีย์ และ บลูสกายสตูดิโออย่าง ทาร์ซาน (Tarzan), ไอซ์ เอจ (Ice Age) และ แอตแลนติส (Atlantis: The Lost Empire) มาเป็นผู้กำกับ พร้อมกลุ่มนักแอนิเมชันทั้งชาวไทยและต่างชาติกว่า 100 คน ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ไม่ว่าจะเป็นฉากที่เป็นภูมิทัศน์แบบไทย ต้นไม้ ไม้ดอก สภาพป่า และประเพณีไทย เช่น การคล้องช้าง การนำฉากหมู่บ้านทรงไทย แสดงพืชพรรณไม้ไทย เช่น ต้นราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติ ในฤดูกาลต่างๆ รวมทั้งการออกดอกเหลืองอร่ามในหน้าแล้ง แสดงฉากประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่สร้างด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์อีกเรื่องหนึ่งของไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ใช้เทคนิคดังกล่าว คือ ปังปอนด์ และแอนิเมชันซึ่งถือเป็นเรื่องแรกของไทยคือ สุดสาคร ซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิติ ก้านกล้วยได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ทางช่อง 7 โดยใช้ชื่อว่า "ก้านกล้วย ผจญภัย" จัดฉายทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00-17.30 น. โดยมีเนื้อหารายละเอียดมากขึ้น และใช้ตัวละครที่มีอยู่เดิม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และก้านกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์เหล็กไหล

มนุษย์เหล็กไหล (Mercury Man) เป็นภาพยนตร์แอกชั่นของไทย ซึ่งเริ่มจัดฉายในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และมนุษย์เหล็กไหล · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

รักจัง

รักจัง (The Memory) ภาพยนตร์รักโรแมนติก-คอมเมดี้ เป็นผลงานลำดับที่สี่ของเหมันต์ เชตมี ต่อจากเรื่อง ปอบ หวีด สยอง, Sexphone คลื่นเหงา สาวข้างบ้าน และ พันธุ์เอ็กซ์ เด็กสุดขั้ว นำแสดงโดย ฟิล์ม รัฐภูมิ และ พอลล่า เทเลอร์ ร่วมด้วย โปงลางสะออน เข้าฉายเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรักจัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐภูมิ โตคงทรัพย์

รัฐภูมิ โตคงทรัพย์ (ชื่อเล่น: ฟิล์ม เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527) ที่จังหวัดสระบุรี เป็น ประธานบริษัท เพย์ออล กรุ๊ป นักร้องและนักแสดงชาวไทย ผลงานสร้างชื่อจาก โฆษณาฮอนด้า คู่กับ พัชราภา ไชยเชื้อ และมีผลงานเพลงอัลบั้มเดี่ยวกับค่ายอาร์เอ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรัฐภูมิ โตคงทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี รายละเอียดในแต่ละรายการประกอบด้วย.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อบทภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม (ช่างกล้อง) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม (ตัดต่อ) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม / รางวัลเพลงนำภาพยนตร์ การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 จัดโดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์ที่มีการออกแบบเสียงหรือตัดต่อเสียงได้ดีเยี่ยม รางวัลนี้มักจะมอบให้กับ Supervising Sound Editor หรือ Sound Designer ของภาพยนตร์เรื่องนั้น ในปีหนึ่งๆ หากไม่มีภาพยนตร์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง การมอบรางวัลจะมอบเป็น Special Achievement Award นับตั้งแต่อดีต รางวัลนี้ได้มีการเปลี่ยนชื่อดังนี้.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รุ้งลาวัณย์ โทนะหงษา

รุ้งลาวัลย์ โทนะหงษา (ชื่อเล่น: รุ้ง) เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง หนูหิ่น เดอะมูฟวี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรุ้งลาวัณย์ โทนะหงษา · ดูเพิ่มเติม »

รณภพ อรรคราช

รณภพ อรรคราช (เต้ย) มือกีต้าร์ วงอินคา และ วูล์ฟแพ็ค เกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2508 ที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับอนุบาลจากโรงเรียนโชติศึกษา ชั้นประถมที่โรงเรียนค่ายนารายณ์ศึกษา จังหวัดลพบุรี และ โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดนครปฐม จนจบ ม.3 จบชั้นมัธยมที่โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี และปริญญาตรีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เริ่มเล่นดนตรีตั้งแต่สมัยประถม ได้รับตำแหน่งแซ็กโซโฟน ในวงดุริยางค์ของโรงเรียน ภปร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และรณภพ อรรคราช · ดูเพิ่มเติม »

ลีโอ พุฒ

ลีโอ พุฒ มีชื่อจริงตามบัตรประจำตัวประชาชน ว่า พุฒิพงศ์ ศรีวัฒน์ (1 เมษายน พ.ศ. 2519 -) เป็นนักร้อง นักแสดง และพิธีกรชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิง โดยการแสดงมิวสิควีดีโอเพลง "SORRY" ของ พาเมล่า เบาว์เด้น และเคยออกผลงานอัลบั้มในสังกัด แกรมมี่ และอีกทั้งยังเป็นอดีตสมาชิกวง Room 99 ชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปลายจากโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี และในปี 2542 ลีโอ พุฒ เคยเข้ารับราชการทหาร 1 ปี สังกัดกองพันทหารราบ มณฑลทหารบกที่ ๑๑ ชีวิตครอบครัว เคยสมรสกับ เบส - จันทร์พิมพ์(อดีตสมาชิกวง เอลิน เบส) เมื่อปี พ.ศ. 2552 มีบุตรชายเพียงคนเดียว ชื่อ คีตะ ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2558 หลังจากที่มีข่าวว่า ลีโอ พุฒ แยกทางกับภรรยา ซึ่งก็ได้ออกมาชี้แจงประเด็นดังกล่าวว่าที่ไม่ค่อยถ่ายภาพด้วยกันกับภรรยา เพราะแยกย้ายกันอยู่คนละบ้าน เพราะโรงเรียนของน้องคีตะอยู่ใกล้กับบ้านของภรรยาของลีโอ พุฒมากกว่าจึงทำให้ต้องแยกทางกันอยู.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และลีโอ พุฒ · ดูเพิ่มเติม »

วรวิทย์ พิกุลทอง

วรวิทย์ พิกุลทอง (บอย) มือคีย์บอร์ด วงอินคา เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2514 ที่จังหวัดสกลนคร มีพี่น้อง 2 คน บอยเป็นน้องคนเล็ก เรียนเตรียมอนุบาลที.สกลนคร จากนั้นเข้าเรียนต่อชั้นอนุบาลจนถึงประถมที่จังหวัดนครราชสีมา ชั้นมัธยมที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และสำเร็จปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร บอยเริ่มเล่นอิเล็กโทนเมื่ออายุ 14 ปี ในวงดนตรีของพี่ชาย จากนั้นก็ได้เข้ามาเรียนเปียโนที่โรงเรียนดนตรีสยามกลการ สาขาปทุมวัน จนได้กลายเป็นหัวหน้าวงดนตรีประจำโรงเรียน และเป็นสมาชิกวงดนตรีอาชีพประจำจังหวัด (วงศรีโสธร) ในที่สุด ในช่วงที่ศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่กรุงเทพฯ และเล่นดนตรีกับเพื่อนๆ ได้ไปซ้อมดนตรีที่ห้องซ้อมย่านดินแดง จึงมีโอกาสเล่นดนตรีเป็นวงแบ็คอัพ และได้รู้จักกับศักดา พัทธสีมา (ดา) บอยจึงได้รับการชักชวนเข้าเป็นสมาชิกของวงอินคา;ผลงานเพลง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และวรวิทย์ พิกุลทอง · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ คุนาประถม

มพงษ์ คุนาประถม เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 เป็นคน ตำบลคำสร้างเที่ยง อำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษา ประถมศึกษาที่ร.ร.ท่านาจานวิทยา กิ่งอำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ ม.4-6 และปว.จาก วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ปริญญาตรี คณะนาฏศิลป์และดุริยางค์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล คลอง 6 จังหวัดปทุมธานี โด่งดังตอนเข้ามาชนะการประกวดในช่วง ดันดารา ของรายการตีสิบ จนผู้ชมเรียกร้องให้ทางรายการนำวงโปงลางสะออนกลับมาแสดงอีกครั้งถึง 2 รอบ ก่อนจะเซ็นสัญญากับค่ายอาร์สยาม ในเครือบริษัทอาร์เอ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และสมพงษ์ คุนาประถม · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ

มาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ อักษรย่อว่า "สสภช" (NFTFA) เดิมชื่อ สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สราวุธ วิเชียรสาร

ราวุธ วิเชียรสาร ชื่อเล่นชื่อ เต้ย เกิดที่ ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นทั้งผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ ผู้กำกับภาพ และนักเขียนบทภาพยนตร์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาภาพยนตร์ ภาควิชานิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เมื่อปี พ.ศ. 2535 เริ่มเข้าวงการด้วยการเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์สารคดีเรื่อง ถนนราชดำเนิน กำกับโดย พิเศษ สังข์สุวรรณ ในปี พ.ศ. 2536 และเข้าทำงานในตำแหน่งผู้ช่วยโปรดิวเซอร์และผู้ช่วยผู้กำกับ ในบริษัท วิชั่น โปร จำกัด ในการดูแลของ ยุทธนา มุกดาสนิท และ ม.ล. วราภา เกษมศรี และในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และสราวุธ วิเชียรสาร · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สุดสาคร

ปสเตอร์การ์ตูนสุดสาคร สุดสาคร เป็นตัวละครในเรื่องพระอภัยมณี โดยสุดสาครเป็นลูกของพระอภัยมณีกับนางเงือกที่ช่วยเหลือพระอภัยมณีหนีมายังเกาะแก้วพิสดาร สุดสาครเกิดที่เกาะแก้วพิสดารและอยุ่เติบโตกับพระฤๅษี เมื่อโตขึ้นสุดสาครจึงออกตามหาพ่อ โดยมีม้านิลมังกรเป็นพาหน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และสุดสาคร · ดูเพิ่มเติม »

หมากเตะรีเทิร์นส

หมากเตะรีเทิร์นส (ชื่อเดิม หมากเตะโลกตะลึง) เป็น ภาพยนตร์ไทย ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ แม่ค้าที่ชื่นชอบฟุตบอลที่ถูกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล 192 ล้าน แล้วนำเงินไปสร้างทีมฟุตบอลทีมชาติลาว เพื่อให้ทีมชาติลาวได้ไปแข่งขัน ฟุตบอลโลก มีกำหนดฉาย ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ตรงกับช่วงที่มีการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เนื่องจากเป็นภาพยนตร์ตลก และมีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับคนลาว ทำให้ นายเหียม พมมะจัน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวประจำประเทศไทย ในขณะนั้น เกรงว่าจะเกิดความไม่พอใจของชาวลาว เพราะเมื่อได้ดูภาพยนตร์แล้ว รู้สึกว่า เหมือนเป็นการดูหมิ่นชาวลาว จึงขอให้เปลี่ยนเอาเนื้อหาที่เกี่ยวกับลาวออกให้หมด ทางผู้ผลิตจึงได้สั่งระงับการออกฉาย เพื่อไม่ต้องการให้เป็นปัญหาระหว่างประเทศ ต่อมา ในวันที่ 19 ตุลาคม ปีเดียวกัน ผู้สร้างได้เปลี่ยนแปลงเนื้อหาใหม่ โดยเปลี่ยนประเทศลาวในเรื่อง ให้เป็นประเทศสมมุติ ชื่อว่า "ราชรัฐอาวี" และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "หมากเตะรีเทิร์นส" ผลปรากฏว่าทำรายได้ไม่มากนัก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และหมากเตะรีเทิร์นส · ดูเพิ่มเติม »

หนูหิ่น อินเตอร์

หนูหิ่น...อินเตอร์ เป็นผลงานชุดการ์ตูนเรื่องสั้นของ ผดุง ไกรศรี หรือ "เอ๊าะ" ตีพิมพ์ตอนแรกลงในหนังสือการ์ตูน มหาสนุก ฉบับที่ 156 (ฉบับกระเป๋าในช่วงต้นปี พ.ศ. 2538) ต่อมาได้มีการตีพิมพ์รวมเล่มเมื่อ พ.ศ. 2539 โดยออกเป็นนิตยสารรายสะดวกในช่วงแรกและออกรายเดือนตั้งแต่ฉบับที่ 21 เป็นต้นมา ต่อมาได้นำกลับมารวมเล่มในชื่อ หนูหิ่นสเปเชียล วางแผงเป็นรายสะดวก ปัจจุบันมีออกมาทั้งสิ้น 4 เล่ม ภายหลังทางสำนักพิมพ์ได้รวมเล่มออกมาอีกครั้งในชื่อ หนูหิ่น in the city ประกอบไปด้วยหนูหิ่น 4 ตอนที่เคยลงในหนูหิ่น...อินเตอร์นำมาพิมพ์ 4 สีทั้งเล่ม นอกจากนี้ยังได้มีการรวมเล่มการ์ตูน หนูหิ่นอินโนนหินแห่ ซึ่งเป็นเรื่องราวของหนูหิ่นในวัยเด็กอีกด้วย การ์ตูนชุดหนูหิ่นที่กล่าวไปได้รับความนิยม โดยเฉพาะชาวกรุงเทพและชาวอีสานที่ตั้งถิ่นฐานตามที่ต่างๆ ทั่วประเทศ จนมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ หนูหิ่น เดอะ มูฟวี่ ใน พ.ศ. 2549 ปัจจุบันหนูหิ่น...อินเตอร์ ได้วางจำหน่ายฉบับเป็นเดือนเว้นเดือน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และหนูหิ่น อินเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หนูหิ่น เดอะมูฟวี่

หนูหิ่น เดอะมูฟวี่ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลกซึ่งสร้างจากการ์ตูนเรื่องสั้นยอดนิยมชุด "หนูหิ่น อินเตอร์" ซึ่งเป็นเรื่องราวของหญิงสาวชาวอีสานที่เข้ามาทำงานเป็นคนรับใช้ในบ้านเศรษฐีในกรุงเทพ ผลงานโดยผดุง ไกรศรี (เอ๊าะ ขายหัวเราะ) ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายครั้งแรกวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2549 บทภาพยนตร์โดยคงเดช จาตุรันต์รัศมี กำกับโดย คมกฤษ ตรีวิมล.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และหนูหิ่น เดอะมูฟวี่ · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ นิติพน

อัมรินทร์ นิติพน (อ่ำ) เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ที่ ร..ราชวิถี เมื่อเวลา 00.55 น. จึงเป็นที่มาของชื่ออัลบั้มชุดแรก “00.55 น. ลืมตามาอ่ำ” เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกร นักกอล์ฟ อ่ำมีพี่น้องท้องเดียวกันทั้งหมด 4 คน คือ อั๋น (องอาจ นิติพน) อ่ำ (อัมรินทร์ นิติพน) ก้อง (อรรฆรัตน์ นิติพน) และอุ๋ม (อาภาศิริ นิติพน) พ่อแม่แยกทางกันตั้งแต่อ่ำอายุ 8 ปี อ่ำเข้าศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสารินันท์ ย่านบางเขน จากนั้นเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนศรีวิกรม์ วัยเรียนเด็กชายอัมรินทร์ค่อนข้างเกเร จนเรียนจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ช้ากว่าเพื่อนๆ ไปครึ่งเทอม ทำให้ไม่ทันสอบเอ็นทรานซ์ อ่ำจึงตัดสินใจลงเรียนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงไว้ก่อน ต่อจากนี้ก็เข้ามาเรียนคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต แต่เรียนได้เพียงเทอมเดียวก็ขอลาออก เพราะปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันของครอบครัว อ่ำได้นำเดโมของตัวเองและเพื่อนเข้าค่ายเพลงแต่ได้รับการปฏิเสธ จนบริษัทแกรมมี่รับสมัครนักร้องจึงไปสมัคร และผ่านการเทสต์หน้ากล้อง ในช่วงแรกเข้ามาเป็นดีเจและพีธีกรในรายการ แบง แบง แบ็งคอก กับยู่ยี่ อลิสา อินทุสมิต จนได้มีผลงานเพลงอัลบั้มแรก “00.55 น. ลืมตามาอ่ำ” อ่ำมีธุรกิจส่วนตัว ชื่อร้าน 72 Race & Bar ชีวิตส่วนตัว เคยใช้ชีวิตคู่กับ จอย - อัจฉริยา อังคสุวรรณศิริ มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ.ญ.อชิรญา นิติพน (แอลลี่) ปัจจุบันอ่ำได้ออกมาแถลงข่าวว่าได้จดทะเบียนหย่ากันแล้ว เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และอัมรินทร์ นิติพน · ดูเพิ่มเติม »

ผีอยากกลับมาเกิด

ผีอยากกลับมาเกิด เป็นภาพยนตร์แนวระทึกขวัญสยองขวัญที่เล่าถึง ฉีสิน นักเขียนสาวที่ได้รับมอบหมายจากบรรณาธิการให้เปลี่ยนมา เขียนเรื่องสยองขวัญและเมื่อเธอเริ่มเขียนบทแรกนั้นเธอเริ่มสังเกตว่าเริ่มมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นกับชีวิตของเธอและเธอต้องประหลาดใจอีกครั้งเมื่อจู่ๆอดีตแฟนหนุ่ม ของเธอได้กลับเข้ามาในชีวิตของเธออีกครั้ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และผีอยากกลับมาเกิด · ดูเพิ่มเติม »

ผีคนเป็น

ผีคนเป็น (The Victim) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2549 กำกับโดย มณฑล อารยางกูร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และผีคนเป็น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และจินตหรา สุขพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และจีเอ็มเอ็ม ไท หับ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงยศ สุขมากอนันต์

ทรงยศ สุขมากอนันต์ (ชื่อเล่น: ย้ง เกิดวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย นักเขียนบท มีผลงานที่สำคัญได้แก่ เด็กหอ, แฟนฉัน และเรื่องล่าสุดคือละครชุด ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น อีกทั้งยังอยู่ในกลุ่ม 365 ฟิล์ม ได้ฉายาว่า ผู้กำกับโรคจิต เนื่องจากมีลักษณะเด่นคือ การออกแบบการดำเนินเรื่องแบบหักมุม การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 4-6  โรงเรียนเซนต์คาเบรียล กรุงเทพฯ (แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เอกชีววิทยา) ปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การทำงาน หลังเรียนจบทรงยศยังไม่มีงานจึงเตร็ดเตร่ที่คณะ 2 ปี โดยรับจ้างเป็นฟรีแลนซ์ถ่ายภาพ แรกเริ่มเป็นสคริปต์ไรเตอร์ให้กับรายการสารคดีกระจกหกด้าน ทำอยู่ 3 เดือน ก็ขอลาออก ภายหลังทรงยศได้ตัดสินใจบินไปที่อเมริกาเพื่อไปเป็นเด็กเสริฟท์ที่ซานฟรานซิสโกอยู่ปีกว่า จนวันหนึ่ง มีเพื่อนของทรงยศแนะนำตำแหน่งผู้ช่วย ผู้กำกับโฆษณาของพี่ต่อ (ธนญชัย ศรศรีวิชัย) โปรดักชั่นเฮาส์ที่ฟีโนมีน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และทรงยศ สุขมากอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสุรนารี

อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ท้าวสุรนารี หรือ คุณหญิงโม (ต้นฉบับว่า ท่านผู้หญิงโม้)ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และท้าวสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

คมภิญญ์ เข็มกำเนิด

มภิญญ์ เข็มกำเนิด คมภิญญ์ เข็มกำเนิด (17 กันยายน พ.ศ. 2508 —) ผู้กำกับภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง ก้านกล้ว.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และคมภิญญ์ เข็มกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

ฅนไฟบิน

นไฟบิน (Dynamite Warrior)เป็นภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะมวยไทย ออกฉายเมื่อ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ผลิตจัดจำหน่ายโดย สหมงคลฟิล์ม กำกับโดย เฉลิม วงศ์พิม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และฅนไฟบิน · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย (Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเด็กวัยรุ่น 3 คน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปี ที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่เปลี่ยนไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ (เต้) นักแสดง เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2525 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกัลยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สำเร็จการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา มีผลงานสร้างชื่อในวงการบันเทิง คือ ภาพยนตร์เรื่อง ไอ้ฟัก โดยแสดงคู่กับ บงกช คงมาลัย ปัจจุบันสมรสแล้วกับแฟนสาวนอกวงการหลังคบหาดูใจกันมา 5 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

น้อย โพธิ์งาม

ปภาวดี โพธิ์งาม มีชื่อเล่นว่า น้อย หรือชื่อที่ใช้ในนามนักแสดงตลกคือ "น้อย โพธิ์งาม" และยังเป็นตลกคาเฟ่ คณะจี้เส้นคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และน้อย โพธิ์งาม · ดูเพิ่มเติม »

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า คือภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 กำกับโดย ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์ นำแสดงโดย วรเวช ดานุวงศ์, ณัฐฐาวีรนุช ทองมี, จตุรงค์ พลบูรณ์, จิ้ม ชวนชื่น, โก๊ะตี๋ อารามบอย, ค่อม ชวนชื่น, เอกรัตน์ ขลิบเงิน, มนัสนันท์ ปานดี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนกุล

กวิท วัฒนกุล มีชื่อเล่นว่า แอ๊ด ที่โกวิทแสดงในเรื่อง ขุนศึก แต่มักอ่านออกเสียงเป็น "สะ-เมา" โดยคนแรกที่เรียกคือ สมจินต์ ธรรมทัต ผู้พากย์เสียงเป็นหมู่ขัน: ผู้จัดการรายสัปดาห์(ปริทรรศน์), 27 ม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และโกวิท วัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

โหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง

หน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกของ เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ร่วมกับ สหมงคลฟิล์ม โดยร่วมก่อตั้งบริษัท หัวฟิล์ม ท้ายฟิล์ม โดยนำ เท่ง เถิดเทิง และ โหน่ง ชะชะช่า ดาวตลกชื่อดังเป็นพระเอก กำกับภาพยนตร์โดย พาณิชย์ สดสี ออกฉายครั้งแรกวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์ได้รับรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ในส่วนรางวัลกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม ประจำปี 2549.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และโหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง · ดูเพิ่มเติม »

โคลิค เด็กเห็นผี

ลิค เด็กเห็นผี (Colic) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2549 นำแสดงโดย พิมพ์พรรณ ชลายคุปต์, วิทยา วสุไกรไพศาล, กุณฑีรา สัตตบงกช กำกับการแสดงโดย พัชนนท์ ธรรมจิร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และโคลิค เด็กเห็นผี · ดูเพิ่มเติม »

โคตรรักเอ็งเลย

ตรรักเอ็งเลย (Loveaholic) ผลงานกำกับภาพยนตรเรื่องแรกของภูพิงค์ พังสะอาด (พิง ลำพระเพลิง) มือเขียนบทละครและภาพยนตร์ชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของประเทศ โดยเล่าเรื่องของความรักในอีกมุมมองหนึ่ง และนำประสบการณ์ชีวิตของตนเองมาถ่ายทอดเป็นภาพยนตร์เรื่องนี้ โดยได้เพื่อนรุ่นน้องร่วมสถาบันอย่าง โน้ส-อุดม แต้พานิช และเปิดโอกาสให้เขาเลือกนางเอกเอง โดยได้ ไหม-วิสา สารสาส มารับบทเป็นภรรยาของโน้สในภาพยนตร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และโคตรรักเอ็งเลย · ดูเพิ่มเติม »

ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น

ฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เป็นบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ของไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดย เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เดิมชื่อว่า บริษัทนิวไฟว์สตาร์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2523 โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้ดำเนินการผลิตภาพยนตร์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อความบันเทิงทั้งในและต่างประเทศตลอดระยะเวลา 40 ปี ภาพยนตร์ของ ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้รับความนิยมชมชอบแทบทุกเรื่องในสมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนศึก, ลูกอีสาน, ผู้ใหญ่ลีกับนางมา, บุญชู, น้ำพุ, วัยระเริง, อนึ่งคิดถึงพอสังเขป, กลิ่นสีและกาวแป้ง, กว่าจะรู้เดียงสา, ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44, คู่กรรม, อำแดงเหมือนกับนายริด, หวานมันส์ ฉันคือเธอ, ด้วยเกล้า, หลังคาแดง, ฟ้าทะลายโจร, มนต์รักทรานซิสเตอร์ เป็นต้น หลังจาก เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร ถูกโส ธนวิสุทธิ์ ลอบยิงเสียชีวิต เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และไฟว์สตาร์โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

เฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้

ฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้ หรือชื่อเดิม อชิตะ สิกขมานา, อชิตะ วุฒินันท์สุระสิทธิ์, อชิตะ ธนาศาสตนันท์, หนูอิมอิม ก้าวมหัศาจรรย์ ตามลำดับ ชื่อเล่นว่า อิม และเป็นที่รู้จักในชื่อ อิม อชิตะ (27 มีนาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไทย เฟี้ยวฟ้าวเกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรคนเล็กจากทั้งหมดสองคนของโชคชัย วุฒินันท์สุระสิทธิ์ กับชโรชินี สิกขมานา มารดาเป็นลูกครึ่งเนปาลกับพม่า พี่ชายชื่อฟ้าว์เฟี้ยว สุดสวิงริงโก้ (ชื่อเดิม อิชยะ สิกขมานา) จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และศึกษาต่อที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เริ่มเข้าสู่วงการจากการประกวดดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล ได้รองอันดับ 1 ดัชชี่เกิร์ลปี 2001.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสุดท้าย

ลงสุดท้าย เป็นภาพยนตร์ไทย จากบทประพันธ์เรื่องของ วรรณิศา กำกับโดย พิศาล อัครเศรณี เข้าฉายเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย สาวประเภทสอง "สมหญิง ดาวราย" นางโชว์ดาวเด่นชื่อดังจากทิฟฟานีโชว์ พัทยา ร่วมกับ บิณฑ์ บันลือฤทธิ์, วรรณิศา ศรีวิเชียร,จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา,ชลิต เฟื่องอารมย์ และ เหี่ยวฟ้า เพลงประกอบชื่อ เพลงสุดท้าย ร้องโดย สุดา ชื่นบาน (แทนเสียง สมหญิง ดาวราย) ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นเดียวกับภาพยนตร์ จนมีภาคสอง ชื่อ รักทรมาน นำแสดงโดย สมหญิง อีกครั้ง ในบท สมนึก น้องชายของสมหญิงที่ตายไป กลับไปล่อลวงให้พระเอกต้องผิดหวังบ้าง ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2530 ต่อมาสร้างภาคแรกใหม่อีกครั้ง เข้าฉายเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2549 นำแสดงโดย อารยา อริยะวัฒนา, วชรกรณ์ ไวยศิลป์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สุมนต์รัตน์ วัฒนาเศลารัตต์, เจริญพร อ่อนละม้าย และ เหี่ยวฟ้า เรื่องราวของ สาวประเภทสอง ที่ผิดหวังในความรักจากชายหนุ่ม และเธอได้เลือกที่จะจบชีวิตลงบนเวทีที่ทำให้เธอเกิดในโลกของการแสดง ด้วยบทเพลงสุดท้ายของชีวิต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเพลงสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญพักตร์ ศิริกุล

็ญพักตร์ ศิริกุล (ชื่อเล่น: ต่าย เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นนักแสดง, นางแบบ และนักร้องชาวไทย โด่งดังจากการถ่ายแบบเปลือ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เหรียญทอง

กรียงศักดิ์ เหรียญทอง เป็น นักพากย์ เคยเป็นนักพากย์หนังกลางแปลงมาก่อน จนได้รับการชักชวนจากชูชาติ อินทร ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าทีมพากย์อินทรีให้มาพากย์หนังกับทีม จนได้มีโอกาสพากย์หนังที่ฉายในโรงและหนังในรูปแบบวิดีโอ จากนั้นก็ไปพากย์หนังกับทีมพากย์พันธมิตร ปัจจุบันเป็นนักพากย์อิสระ (freelance) เคยพากย์เสียงภาพยนตร์มานานหลายปี โดยเฉพาะเป็นผู้ให้เสียงของ อู๋ ม่งต๊ะ ในภาพยนตร์ตลกของ โจว ซิงฉือ หนังสือพิมพ์สยามดารา นอกจากนี้ บทบาทสำคัญที่มีชื่อเสียง คือ การพากย์เป็น ดาร์ธ เวเดอร์ ในภาพยนตร์ชุด สตาร์ วอร์ส และ แกนดาล์ฟ ใน ภาพยนตร์ไตรภาคเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ และ แม็กนีโต ใน X-Men และอีกหลายเรื่อง เช่น พากย์เป็น โรมัน เพียซ ใน เร็วแรงทะลุนรก พากย์เป็น นิค ฟิวรี่ ใน ดิ อเวนเจอร์ส เกรียงศักดิ์เริ่มมีผลงานแสดงภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2549 จากการชักชวนโดย วิทยา ทองอยู่ยง ซึ่งชื่นชอบบทบาทการพากย์เสียงอู๋ ม่งต๊ะ ของเกรียงศักดิ์ให้มารับบท "อู๋" แฟนพันธุ์แท้ของวงดนตรีพอสซิเบิ้ล ในภาพยนตร์เรื่อง เก๋า..เก๋า ซึ่งบทบาทนี้ทำให้เข้าได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง รางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม จากทั้ง 3 สถาบันหลัก คือ รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ และ รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง และคว้ารางวัลนี้ไปจาก Starpics Thai Film Awards.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเกรียงศักดิ์ เหรียญทอง · ดูเพิ่มเติม »

เก๋า..เก๋า

ก๋..เก๋า เป็นภาพยนตร์ไทยแนวมิวสิคัล/ดราม่า/คอมเมดี้ เรื่องราวของ วงดนตรีชื่อดังแห่งยุคทศวรรษ 1970 ที่ถูก อุปกรณ์วิเศษคล้ายไมโครโฟน พาข้ามผ่านยุคสมัย มาปรากฏตัวในยุคปัจจุบัน พ.ศ. 2549 ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย วิทยา ทองอยู่ยง และเข้าฉาย ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเก๋า..เก๋า · ดูเพิ่มเติม »

เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์

อกสิทธิ์ ไทยรัตน์ จบการศึกษาในสาขาวิชาศิลปกรรม "วิทยาลัยครูธนบุรี" (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี) ปัจจุบันเป็นนักออกแบบโฆษณา ในตำแหน่งผู้กำกับศิลป์ บริษัท Fareast DDB, นักออกแบบกราฟิก, มือเขียนบทภาพยนตร์ และนักเขียนการ์ตูนชาวไทย มีผลงานการ์ตูน โครงการมรณะ เป็นการ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกกับสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ เอกสิทธิ์ เคยได้รับรางวัลการเขียนการ์ตูนในระดับนานาชาติมาแล้วหลายรางวัล โดยเฉพาะรางวัลชนะเลิศจากการประกวดเขียนการ์ตูนของ น...โยมิอูริ ขิมบุน ในประเทศญี่ปุ่น ผลงานการ์ตูน "รวมเรื่องสั้นจิตหลุด" ของเขาได้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์คือ 13 เกมสยอง (The 13th Quiz Show) ผลงานอื่นๆทางด้านการเขียนบทภาพยนตร์ ได้แก่ บอดี้ ศพ 19, ฝัน-หวาน-อาย-จูบ ตอน หวาน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจเน็ต เขียว

น็ต เขียว นักร้องนักแสดงชาวไทยที่ตั้งชื่อเลียนแบบ เจเน็ต แจ็กสัน มีชื่อจริงว่า กัญญ์ชัญญ์ เธียรวิชญ์ (เดิมชื่อ นงนุช สมบูรณ์) เป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เริ่มต้นการแสดงเลียนแบบดาราตามร้านอาหาร เช่นเดียวกับ ไมเคิ่น ตั๋ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเจเน็ต เขียว · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเลตเตอร์ เขียนเป็นส่งตาย

ระวังสับสนกับ เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก เดอะเลตเตอร์ เขียนเป็นส่งตาย (The Letters of Death) ภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ ออกฉายในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเดอะเลตเตอร์ เขียนเป็นส่งตาย · ดูเพิ่มเติม »

เด็กหอ

็กหอ เป็นภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ เข้าฉาย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 กำกับโดย ทรงยศ สุขมากอนันต์ โดย จีทีเอช และ ฟีโนมีน่า โมชั่น พิคเจอร์ สร้างจากเรื่องเล่าที่เคยได้ยินมาขณะเรียนอยู่ที่ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเด็กหอ · ดูเพิ่มเติม »

เปนชู้กับผี

ปนชู้กับผี เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่องที่ 3 ของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และเป็นผลงานเรื่องแรกซึ่งวิศิษฏ์ให้ผู้อื่นเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ให้ นั่นคือ ก้องเกียรติ โขมศิริ หนึ่งใน "โรนินทีม" ซึ่งกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ลองของ".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และเปนชู้กับผี · ดูเพิ่มเติม »

13 เกมสยอง

13 เกมสยอง (ชื่ออังกฤษ: 13 Beloved) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวระทึกขวัญ ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2549 กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย กฤษดา สุโกศล, อชิตะ สิกขมานา, ศรัณยู วงษ์กระจ่าง และ อเล็กซานเดอร์ ไซมอน เรนเดลล์ 13 เกมสยอง เป็นภาพยนตร์ที่ดัดแปลงจากเรื่อง "13th Quiz Show" ซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือการ์ตูน "รวมเรื่องสั้นจิตหลุด" (My Mania) ของ เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ นักเขียนการ์ตูนชาวไทย สำหรับรางวัลที่ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับคือ รางวัลสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม โดย กฤษดา สุโกศล จากรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี 2549 มีการสร้างภาพยนตร์ภาคก่อนหน้าของ 13 เกมสยอง เป็นหนังสั้น ชื่อเรื่อง 11 (หรือ Earthcore), 12 Begin และภาคต่อ ชื่อเรื่อง 14 Beyond ภาพยนตร์ได้รับการซื้อลิขสิทธิ์ไปสร้างภาพยนตร์ฮอลลีวูด ชื่อเรื่อง 13 Sins กำกับโดย แดเนียล สแตมม์ ผู้กำกับชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และ13 เกมสยอง · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2549

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »