โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15

ดัชนี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2548 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 ณ บริเวณอนุสรณ์สถาน เรือตรวจการ 813 บ้านบางเนียง ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา '''ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม''' - ''มหา'ลัยเหมืองแร่'' จิระ มะลิกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม ฉัตรชัย เปล่งพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม สนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

41 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พิยดา จุฑารัตนกุลมหา'ลัย เหมืองแร่มหาวิทยาลัยมหาสารคามรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์วรนุช ภิรมย์ภักดีวิชชพัชร์ โกจิ๋วสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติสัญญา คุณากรสันติ แต้พานิชสันติสุข พรหมศิริสนานจิตต์ บางสพานสนธยา ชิตมณีหม่ำ จ๊กมกอัษฎาวุธ เหลืองสุนทรอำเภอตะกั่วป่าจอมขมังเวทย์จังหวัดพังงาจิระ มะลิกุลทราย เจริญปุระทัชชกร ยีรัมย์คมกฤษ ตรีวิมลคงเดช จาตุรันต์รัศมีคนระลึกชาติต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)ฉัตรชัย เปล่งพานิชซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ซุ้มมือปืนประเทศไทยปรัชญา ปิ่นแก้วนวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐนิรุตติ์ ศิริจรรยาแหยม ยโสธรเพื่อนสนิทเพื่อนสนิท (ภาพยนตร์)เสือร้องไห้เอ๋อเหรอเจเน็ต เขียวเฉิ่ม4 มกราคม

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พิยดา จุฑารัตนกุล

ฑารัตนกุล (สกุลเดิม: อัครเศรณี; เกิด: 17 มิถุนายน พ.ศ. 2518) มีชื่อเล่นว่า อ้อม เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของนักแสดงและผู้กำกับ พิศาล อัครเศรณี กับสุดารักษ์ อัครเศรณี มีพี่น้อง 4 คน จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย จบการศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เอกภาษาไทย เข้าสู่วงการครั้งแรกด้วยการแสดง" มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือละครเรื่อง "ทอฝันกับมาวิน" ในปี พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และพิยดา จุฑารัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

มหา'ลัย เหมืองแร่

อาจินต์ ปัญจพรรค์ มหา'ลัย เหมืองแร่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และมหา'ลัย เหมืองแร่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 จัดโดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาต.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

วรนุช ภิรมย์ภักดี

วรนุช ภิรมย์ภักดี (สกุลเดิม วงษ์สวรรค์) มีชื่อเล่นว่า นุ่น เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรสาวของ ปรีชา วงษ์สวรรค์ กับระเบียบ วงษ์สวรรค์ เกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2523 มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน จบการศึกษาจาก วิทยาลัยนาฏศิลป และศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ นิเทศศาสตร์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยการชักชวนของ แก้วพรีเมียร์และแสดงละครเรื่องแรกคือ ปอบผีฟ้า ทางช่อง 7 เมื่อปี พ.ศ. 2540 คู่กับ นุติ เขมะโยธิน ปัจจุบัน สมรสกับ ปิติ ภิรมย์ภักดี ทายาทเจ้าของธุรกิจเบียร์สิงห์ โดยมีพิธีมงคลสมรสเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และวรนุช ภิรมย์ภักดี · ดูเพิ่มเติม »

วิชชพัชร์ โกจิ๋ว

วิชชพัชร์ โกจิ๋ว (ชื่อเดิม: วิชชา; ชื่อเล่น: เดียว) ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2520 ปัจจุบัน ยุติงานกำกับภาพยนตร์ ไปดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีทีเอช ออน แอร์ จำกัด และ กำกับดูแลงาน ด้านการตัดต่อภาพยนตร์ ตามที่ถนัดและชื่นชอ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และวิชชพัชร์ โกจิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ

มาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ อักษรย่อว่า "สสภช" (NFTFA) เดิมชื่อ สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา คุณากร

ัญญา สมรสกับ อาทิตยา เลาหวัฒนะ เข้ารับน้ำสังข์พระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวัน พุธ ที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และสัญญา คุณากร · ดูเพิ่มเติม »

สันติ แต้พานิช

"สันติ แต้พานิช" ผู้กำกับภาพยนตร์อิสระ โดยผลงานที่สร้างชื่อเสียง คือ ภาพยนตร์สารคดี เรื่อง "เสือร้องไห้" ซึ่งเข้าฉายปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และสันติ แต้พานิช · ดูเพิ่มเติม »

สันติสุข พรหมศิริ

มื่อครั้งรับบท "จะเด็ด" ใน ''ผู้ชนะสิบทิศ'' ทางช่อง 3 สันติสุข พรหมศิริ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดง นักพากย์ และพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สนานจิตต์ บางสพาน

นานจิตต์ บางสพาน เป็นนามปากกาของ สมศักดิ์ วงศ์รัฐปัญญา นักวิจารณ์ภาพยนตร์ และนักเขียน มีงานเขียนบทความวิจารณ์ภาพยนตร์ และสังคม ตีพิมพ์ในนิตยสาร สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ตั้งแต..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และสนานจิตต์ บางสพาน · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา ชิตมณี

นธยา ชิตมณี เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นที่รู้จักในนาม สน The Star เป็นนักร้อง นักแสดง เข้าศึกษาระดับประถมที่ โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร ระดับมัธยมเรียนที่โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ และโรงเรียนรัตภูมิวิทยา เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการชนะเลิศการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 1..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และสนธยา ชิตมณี · ดูเพิ่มเติม »

หม่ำ จ๊กมก

็ชรทาย วงศ์คำเหลา (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2508) ขื่อในการแสดงว่า หม่ำ จ๊กมก เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับความนิยมทั้งในและนอกประเทศไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และหม่ำ จ๊กมก · ดูเพิ่มเติม »

อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร

อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร เกิดเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2515 ในจังหวัดพัทลุง เป็นนักแสดง ดีเจ และผู้กำกับละครชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมจากโรงเรียนเทศบาลบ้านคูหาสวรรค์ ระดับมัธยมจากโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ และต่อในระดับอุดมศึกษาที่ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาศิลปศึกษา) ได้รับตำแหน่ง หนุ่มแพรว 1992 และจากนั้นเข้าสู่อาชีพนายแบบ จากนั้นในปี 2535 เล่นโฆษณาคอฟฟี่เมทกับ ซอนย่า คูลิ่ง จากนั้นมีผลงานละครเรื่องแรกคือเรื่อง บัลลังก์เมฆในปี 2536 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุอยู่ที่ 89 ชิล เอฟเอ็ม ทางด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ ผาณิต เจียรวิบูลยานนท์ เมื่อ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และอัษฎาวุธ เหลืองสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอตะกั่วป่า

ตะกั่วป่า เป็นหนึ่งในแปดอำเภอของจังหวัดพังง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และอำเภอตะกั่วป่า · ดูเพิ่มเติม »

จอมขมังเวทย์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และจอมขมังเวทย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพังงา

ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และจังหวัดพังงา · ดูเพิ่มเติม »

จิระ มะลิกุล

ระ มะลิกุล หรือ เก้ง (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวไทย และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ โดยปัจจุบันมีผลงานการกำกับภาพยนตร์สี่เรื่อง คือ 15 ค่ำ เดือน 11, มหา'ลัยเหมืองแร่, รัก 7 ปี ดี 7 หน (ตอน 42.195) และ พรจากฟ้า (ตอน พรปีใหม่) รวมทั้งเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง สตรีเหล็ก ซึ่งเป็นผลงานที่เริ่มสร้างชื่อในนาม "หับ โห้ หิ้น".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และจิระ มะลิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ทราย เจริญปุระ

ทราย เจริญปุระ (23 ธันวาคม พ.ศ. 2523 -) มีชื่อจริงว่า อินทิรา เจริญปุระ มีชื่อเล่นว่า "ทราย" เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย เป็นบุตรสาวของอดีตนักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง รุจน์ รณภพ มีศักดิ์เป็นน้องสาวต่างมารดากับใหม่ เจริญปุร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และทราย เจริญปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ทัชชกร ยีรัมย์

ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และทัชชกร ยีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

คมกฤษ ตรีวิมล

มกฤษ ตรีวิมล หรือ เอส ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอชเกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และคมกฤษ ตรีวิมล · ดูเพิ่มเติม »

คงเดช จาตุรันต์รัศมี

งเดช จาตุรันต์รัศมี เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ นักร้องนำวงสี่เต่าเธอ ภายหลังหันมาเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ และกำกับภาพยนตร์ คงเดช จาตุรันต์รัศมี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เคยเป็นกอปปี้ไรท์เตอร์ในงานโฆษณา อ่านสปอตโฆษณาวิทยุ ทำเพลงโฆษณาและเพลงประกอบภาพยนตร์ เริ่มกำกับภาพยนตร์จากโครงการประกวดภาพยนตร์สั้น 'ส่งฝันสู่ฟิล์ม' ที่จัดขึ้นโดยนิตยสารซีเนแมก กำกับร่วมกับเกียรติ ศงสนันทน์ ที่เป็นเพื่อนตั้งแต่เรียนชั้นมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหล.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และคงเดช จาตุรันต์รัศมี · ดูเพิ่มเติม »

คนระลึกชาติ

นระลึกชาติ ภาพยนตร์แนว รัก ดราม่า ระทึกขวัญ ออกฉายเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2548 กำกับโดย โมนา นาล์ม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และคนระลึกชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์)

ต้มยำกุ้ง (Tom-Yum-Goong) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้ ที่นำแสดงโดย ทัชชกร ยีรัมย์ หรือ จา พนม ผลงานการกำกับโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว ออกฉายในวันที่ 11 สิงหาคม ปี พ.ศ. 2548 ในประเทศไทย ภาพยนตร์ทำรายได้ในประเทศไทย 183.35 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และต้มยำกุ้ง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และฉัตรชัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์

ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) เป็นนักแสดงไทย มีเชื้อสายไทย สิงคโปร์ และฝรั่งเศส แจ้งเกิดจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง เพื่อนสนิท ซึ่งผลงานดังกล่าวทำให้เขาได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จาก คม ชัด ลึก อวอร์ด ประจำปี 2548.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุ้มมือปืน

ซุ้มมือปืน เป็นภาพยนตร์ไทยแอคชั่น ดราม่า กำกับการแสดงโดยสนานจิตต์ บางสะพาน ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และซุ้มมือปืน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา ปิ่นแก้ว

ปรัชญา ปิ่นแก้ว เกิดวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2505 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย นักเขียนบทภาพยนตร์ และ ผู้ควบคุมการสร้าง ผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อคือเรื่อง องค์บาก และ ต้มยำกุ้ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และปรัชญา ปิ่นแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ

นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ หรือ เกรซ เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2539 เป็นนักแสดงชาวไทย และเป็นลูกสาวของสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ สำเร็จการศึกษาที่โรงเรียนร่วมฤดี อินเตอร์เนชั่นแนล สคูล (RIS) และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าสู่วงการภาพยนตร์กับผลงานแสดงนำในภาพยนตร์กำกับโดย พจน์ อานนท์ เรื่อง เอ๋อเหรอ เมื่อปี 2548 ซึ่งจากภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้ได้รับรางวัลดารานำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี 2548 จากนั้นมีบทพากษ์เสียงในภาพยนตร์ แอนิเมชันไทยเรื่องดังอย่าง ก้านกล้วย (2549).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และนวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

แหยม ยโสธร

แหยม ยโสธร เป็นภาพยนตร์ไทย เป็นภาพยนตร์รักย้อนยุค โดยมีฉากคือจังหวัดจังหวัดยโสธร สร้างโดย สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล ดำเนินงานสร้างโดย บาแรมยู และ บั้งไฟฟิล์ม อำนวยการสร้างโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ควบคุมงานสร้างโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว, สุกัญญา วงศ์สถาปัตย์ บทภาพยนตร์และกำกับภาพยนตร์โดย หม่ำ จ๊กมก ออกฉายเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2548 ความพิเศษของภาพยนตร์เรื่องนี้อยู่ที่บทสนทนาเป็นภาษาไทยถิ่นอีสาน และมีซับไตเติ้ลเป็นภาษาไทย นอกจากนี้ภาพยนตร์เรื่อง แหยมยโสธร แม้จะเป็นภาพยนตร์ที่ใช้เงินลงทุนไม่มากแต่ก็ได้ขึ้นแท่นเป็นหนังตลกทำเงินเรื่องหนึ่งซึ่งมีรายได้สูงถึง 99.14 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และแหยม ยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนสนิท

ื่อนสนิท อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และเพื่อนสนิท · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนสนิท (ภาพยนตร์)

ื่อนสนิท เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย คมกฤษ ตรีวิมล โดยได้รับแรงบันดาลใจจากบทประพันธ์เรื่อง กล่องไปรษณีย์สีแดง เนื้อเรื่องกล่าวถึง เรื่องราวของเพื่อนสนิท สอง นักศึกษา คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไข่ย้อย และ ดากานดา ที่ตกหลุมรักเพื่อนสนิทโดยไม่รู้ตัว จนกระทั่งวันหนึ่งที่มีคนอื่นได้เข้ามาจีบเพื่อนของตัวเอง จึงได้รู้ตัวว่าได้หลงรักเพื่อนตัวเองเข้าแล้ว เรื่องราวของเพื่อนสนิทดำเนินไป สองช่วงเวลาสลับกัน ระหว่างเนื้อเรื่องของหมู (ไข่ย้อย) เดินทางไปเกาะพะงัน ภายหลังจบการศึกษา ซึ่งได้รับบาดเจ็บ และรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลเกาะพะงัน ที่ซึ่งเจอ นุ้ย นางพยาบาลสาวสวย และขณะเดียวกัน ก็เป็นเรื่องราวที่หมู นึกถึงเรื่องราวในช่วงที่เรียนอยู่ ซึ่งเป็น เรื่องราวของ ไข่ย้อย และ ดากานดา ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย คมกฤษ ตรีวิมล และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และเพื่อนสนิท (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เสือร้องไห้

ือร้องไห้ เสือร้องไห้ เป็นชื่อของอาหารประเภทกับแกล้ม โดยใช้เนื้อวัว บริเวณส่วนอกที่อ่อนนุ่มมีมันปนเล็กน้อย แล่เป็นชิ้นหนาตามยาว หมักด้วยซอสปรุงรส ย่างด้วยไฟอ่อนๆ นำมาหั่นให้พอดีคำ เวลารับประทานจิ้มด้วยน้ำจิ้ม หรือแจ่ว.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และเสือร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

เอ๋อเหรอ

อ๋อเหรอ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อ 6 มกราคม พ.ศ. 2548 เป็นภาพยนตร์แนวตลก ดราม่า ผจญภัย ซึ่งเป็นการผจญภัยของ ต๋อง กับ ลูกแก้ว ซึ่งห่างจากพ่อแม่ของเขา โดยถูกคนร้ายถูกจับมาเพื่อที่จะมาขายผลไม้ในเมืองพัทยา ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้ นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ ได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2548 ขณะที่มีอายุเพียง 8 ขวบ ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ บิดาของเธอในฐานะนายกสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นประธานการจัดงานนั้น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และเอ๋อเหรอ · ดูเพิ่มเติม »

เจเน็ต เขียว

น็ต เขียว นักร้องนักแสดงชาวไทยที่ตั้งชื่อเลียนแบบ เจเน็ต แจ็กสัน มีชื่อจริงว่า กัญญ์ชัญญ์ เธียรวิชญ์ (เดิมชื่อ นงนุช สมบูรณ์) เป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เริ่มต้นการแสดงเลียนแบบดาราตามร้านอาหาร เช่นเดียวกับ ไมเคิ่น ตั๋ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และเจเน็ต เขียว · ดูเพิ่มเติม »

เฉิ่ม

ฉิ่ม เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2548 ผลงานกำกับเรื่องที่สองของ คงเดช จาตุรันต์รัศมี นักเขียนบทผู้เคยมีผลงานจาก สยิว เดอะเล็ตเตอร์ จดหมายรัก และผู้เขียนบทปรับแก้ใน ต้มยำกุ้ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และเฉิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15และ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2548

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »