โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

ดัชนี นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยมอบให้แก่นักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง ในกลุ่มวิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่มและเป็นผลงานวิจัยที่ทำสะสมกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นได้ ในอันที่จะทุ่มเทกำลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศชาต.

137 ความสัมพันธ์: บวรศักดิ์ อุวรรณโณชัยวัฒน์ สถาอานันท์ชัยอนันต์ สมุทวณิชบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมพ.ศ. 2528พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์พิมพ์ใจ ใจเย็นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กฤษณพงศ์ กีรติกรการวิจัยภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยาภิรมย์ กมลรัตนกุลมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมนตรี ตราโมทยืน ภู่วรวรรณยง ภู่วรวรรณยงค์วิมล เลณบุรีรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ.รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ.รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นลิขิต ธีรเวคินวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์วัลลภ สุระกำพลธรวิชัย บุญแสงวิชัย ริ้วตระกูลวิสุทธิ์ ใบไม้วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทิต มันตาภรณ์สกล พันธุ์ยิ้มสภาแห่งรัฐสมบัติ จันทรวงศ์สมคิด เลิศไพฑูรย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสุพจน์ หารหนองบัวสุรพล นิติไกรพจน์สุริชัย หวันแก้วสุวบุญ จิรชาญชัยสุจินต์ จินายนสุทัศน์ ฟู่เจริญ...สุทัศน์ ยกส้านสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันพระปกเกล้าสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซียหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรีอภิวัฒน์ มุทิรางกูรอภินันท์ โปษยานนท์อัมมาร สยามวาลาอาณัติ อาภาภิรมผาสุก พงษ์ไพจิตรจรัส สุวรรณมาลาจรัส สุวรรณเวลาจิตติ ติงศภัทิย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑาทศพร วงศ์รัตน์ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพดุสิต เครืองามคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะองคมนตรีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดลฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ฉัตรทิพย์ นาถสุภาประพนธ์ วิไลรัตน์ประเวศ วะสีประเสริฐ ทองเจริญประเสริฐ ณ นครประเสริฐ โศภนปริญญา จินดาประเสริฐปิยะสาร ประเสริฐธรรมนิพนธ์ ฉัตรทิพากรนิกร ดุสิตสินนิธิ เอียวศรีวงศ์ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬารเกตุ กรุดพันธ์เมธี ครองแก้วเทียนฉาย กีระนันทน์ ขยายดัชนี (87 มากกว่า) »

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและบวรศักดิ์ อุวรรณโณ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

ตราจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำและหัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและชัยวัฒน์ สถาอานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 เป็นบุตรของ พล.ต.ต.ชนะ สมุทวณิช นามสกุล "สมุทวณิช" เป็นนามสกุลพระราชทาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ศาสตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช หรือ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมรสกับ นางสุภาธร สมุทวณิช (สกุลเดิม สาครบุตร) มีบุตร 3 คนคือ นายพชร สมุทวณิช ผู้บริหารหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ,พลอย จริยะเวช นักเขียน นักแปล (สมรสกับ พันโทธีระ จริยะเวช กรมยุทธบริการ กองบัญชาการทหารสูงสุด) และ นายพลาย สมุทวณ.ดร.ชัยอนันต์ ไม่ใช่เด็กเรียนดีมาก่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากวชิราวุธวิทยาลัย ด้วยคะแนนเพียง 57.3% แต่พยายามจนสอบเข้า คณะรัฐศาสตร์ แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้สำเร็จ เรียนอยู่ 1 ปีสามารถสอบชิง ทุนโคลัมโบ ไปเรียนปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศนิวซีแลนด์ ต่อมาสำเร็จปริญญาโท และ ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและชัยอนันต์ สมุทวณิช · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

ัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Joint Graduate School of Energy and Environment - JGSEE) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) โดยความร่วมมือของกลุ่มสถาบันการศึกษาไทย 5 แห่ง เป็นบัณฑิตวิทยาลัยที่บริหารงานเป็นเอกเทศ มีเป้าหมายเป็นศูนย์วิจัย และให้การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ในด้านเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม เปิดสอนระดับปริญญาโท และปริญญาเอก การเรียนการสอนทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ นักศึกษาสามารถเลือกที่จะทำวิทยานิพนธ์ กับอาจารย์ที่ปรึกษาในสถานศึกษาในโครงการมหาวิทยาลัยใดก็ได้ วิทยาลัยดำเนินงานโดยความความร่วมมือของ.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์

ตราจารย์ เภสัชกร พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ เป็นเภสัชกร, อาจารย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 สำเร็จการศึกษาเภสัชศาสตรบัณฑิตระดับปริญญาตรีและปริญญาโท จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พรศักดิ์ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและพรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์ใจ ใจเย็น

.ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น (25 ธันวาคม 2513 -) เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและพิมพ์ใจ ใจเย็น · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณพงศ์ กีรติกร

กฤษณพงศ์ กีรติกร (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489-) ประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อดีตที่ปรึกษาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) กรรมการกฤษฎีกา กรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและกฤษณพงศ์ กีรติกร · ดูเพิ่มเติม »

การวิจัย

อลิน เลวี วอร์เนอร์ (Olin Levi Warner) การวิจัยชูคบเพลิงแห่งความรู้ (พ.ศ. 2439) ห้องสมุดรัฐสภาสหรัฐฯ อาคารโทมัส เจฟเฟอร์สัน, วอชิงตัน ดีซี การวิจัย (research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้ว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา

ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา (ชื่อจีน:เล้าไซ้เคง) เริ่มรับราชการที่แผนกกุมารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภิรมย์ กมลรัตนกุล

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและภิรมย์ กมลรัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (เดิมชื่อ ศูนย์ปัตตานี หรือ ศูนย์รูสะมิแล) ดำเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, สถาปัตยกรรมศาสตร์ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตามลำดับ ปัจจุบันเปิดสอนใน 8 คณะ, 1 สถาบัน, 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัยร่วม โดยมีทั้งหลักสูตรปกติ และนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี, โท และเอก ซึ่งมี 3 วิทยาเขต และ 1 อาคาร คือ วิทยาเขตบางมด, วิทยาเขตบางขุนเทียน, วิทยาเขตราชบุรี และอาคารเคเอ็กซ์ คลองสาน.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ยืน ภู่วรวรรณ

รองศาสตราจารย์ ยืน ภู่วรวรรณ (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวไทย เคยเป็นอาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ก่อนเกษียณอายุราชการ ร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและยืน ภู่วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ยง ภู่วรวรรณ

ตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและยง ภู่วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ยงค์วิมล เลณบุรี

ตราจารย์ ยงค์วิมล เลณบุรี (23 สิงหาคม 2495 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาคณิตศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการยกย่องให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2541 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2550 สาขาคณิตศาสตร์ และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและยงค์วิมล เลณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (14 กันยายน พ.ศ. 2489) เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ศาสตราจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว. · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ.

รางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ. (TRF-CHE Outstanding Mid-Career Researcher Award) เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติระดับชาติสำหรับนักวิจัย"รุ่นกลาง" ที่มีการมอบมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ. · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ.

“รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ." (TRF-CHE Outstanding New Researcher Award) “รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ." (TRF-CHE Outstanding New Researcher Award) เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติระดับชาติสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีการมอบมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ. · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ริเริ่มให้มี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรตินักเทคโนโลยีที่มีผลงานดีเด่น ไม่ว่าจะเป็นนักเทคโนโลยีของรัฐหรือภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้มีนักวิชาการและนักพัฒนาเทคโนโลยีของไทยที่มีความสามารถสูงจำนวนมากขึ้น และหันมาช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีของไทยให้สามารถแข่งขันในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ในโลกได้โดยเร็ว และหวังจะก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีไทยในอนาคตในอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีความจำเป็นน้อยลงที่จะต้องพึ่งพาและซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างพระบรมรูปขณะทรงเรือใบซูเปอร์มดหล่อด้วยบรอนซ์ สำหรับมอบเป็นรางวัลแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และเหรียญรางวัลแก่นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติของทุกปี รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรตินักเทคโนโลยีที่มีผลงานดีเด่น ไม่ว่าจะเป็นนักเทคโนโลยีของรัฐหรือภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้มีนักวิชาการและนักพัฒนาเทคโนโลยีของไทยที่มีความสามารถสูงจำนวนมากขึ้น และหันมาช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีของไทยให้สามารถแข่งขันในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ในโลกได้โดยเร็ว และหวังจะก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีไทยในอนาคตในอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีความจำเป็นน้อยลงที่จะต้องพึ่งพาและซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างพระบรมรูปขณะทรงเรือใบซูเปอร์มดหล่อด้วยบรอนซ์ สำหรับมอบเป็นรางวัลแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และเหรียญรางวัลแก่นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติของทุกปี รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิต ธีรเวคิน

ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) อดีตหัวหน้าพรรคพลังแผ่นดินไท (30 มิถุนายน พ.ศ. 2549-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) และ เคยได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย อีกด้วย (พ.ศ. 2545-2548 และ พ.ศ. 2549) สำหรับในด้านภูมิปัญญาความคิด ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ถือเป็นนักวิชาการอาวุโสที่ทรงอิทธิพลในวงการสังคมศาสตร์ไทย ทั้งยังคร่ำหวอดและเชี่ยวชาญการเมืองไทยมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ มีข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองผ่านสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อยู่สม่ำเสมอ เป็นเจ้าของวลีเด็ดที่เตือนสังคมไทยในวิกฤตการณ์การเมืองช่วงปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและลิขิต ธีรเวคิน · ดูเพิ่มเติม »

วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์

ตราจารย์ นายแพทย์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (29 พฤษภาคมพ.ศ. 2512-) ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเวชพันธุศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย,นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ สุระกำพลธร

ตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำพลธร ศาสตราจารย์ วัลลภ สุระกำพลธร (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 —) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิจัยชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะกับงานวิจัยและการออกแบบระบบวงจรที่เหมาะสมกับการทำเป็นวงจรรวม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับการประกาศยกย่องให้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวัลลภ สุระกำพลธร · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย บุญแสง

ตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง ศาสตราจารย์ วิชัย บุญแสง นักวิจัยชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2485 ที่อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง เป็นผู้หนึ่งที่บุกเบิกการใช้เทคโนโลยีทางด้านพันธุวิศวกรรมศาสตร์ ในการตรวจหาลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์บุคคล รวมทั้งร่วมพัฒนา การตรวจวินิจฉัยไวรัสในกุ้งกุลาดำ ที่ก่อให้เกิดโรคหัวเหลือง โรคตัวแดงจุดขาว และโรคกุ้งแคระ อันเป็นประโยชน์อย่างมากต่ออุตสาหกรรมการส่งออกกุ้งของประเทศไทย จนทำให้ได้รับรางวัลต่าง.วิชัย บุญแสง หรือ.ดร.วิชัย บุญแสง จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเคมี จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) ในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวิชัย บุญแสง · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ริ้วตระกูล

ตาจารย์ วิชัย ริ้วตระกูล (12 ตุลาคม 2485 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยนครพนม นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวิชัย ริ้วตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธิ์ ใบไม้

ตราจารย์ วิสุทธิ์ ใบไม้ เกิด 1 เม.ย. 2485 ที่ตำบลกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีววิทยา พันธุศาสตร์ และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย เป็นผู้ก่อตั้งโครงการ BRT (Biodeversity Research and Training Program) หรือมีชื่อภาษาไทยว่า "โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย" อันเป็นโครงการที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ศช.) ให้ทุนสนับสนุนมาตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวิสุทธิ์ ใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ และสาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศสหรัฐอเมริกาและฝรั่ง.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและวิทิต มันตาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกล พันธุ์ยิ้ม

ตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม (31 มีนาคม 2486 -) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสกล พันธุ์ยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

สภาแห่งรัฐ

แห่งรัฐ (Council of State) เป็นชื่อหน่วยงานในหลายประเทศ ปรกติมีหน้าที่คล้าย ๆ กัน คือ เป็นศาลปกครอง หรือให้คำปรึกษาด้านกฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐ ในบางประเทศทำหน้าที่เป็นองคมนตรีก็มี.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสภาแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ จันทรวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ จันทรวงศ์ เป็น นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจำปี 2538 อดีตศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านปรัชญาการเมืองคนสำคัญของประเทศและเป็นผู้บุกเบิกการสอนวิชาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมืองในประเทศไทย จนได้รับการกล่าวขานว่า "เปลโตเมืองไทย".

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสมบัติ จันทรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด เลิศไพฑูรย์

ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสมคิด เลิศไพฑูรย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายแยกเป็นสาขาวิชา (คำว่า สาขาวิชาจะเทียบเท่ากับ ภาควิชาของมหาวิทยาลัยทั่วไป) ซึ่งในหนึ่งสาขาวิชาจะรับผิดชอบการเรียนการสอนและผลิตบัณฑิตทั้ง ในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยไม่มีบัณฑิตวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2499 มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิจัย และมีบทบาทเป็นหน่วยงานกลางในการทำหน้าที่เสนอแนะนโยบายและแผนการวิจัยทั้งด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุพจน์ หารหนองบัว

.สุพจน์ หารหนองบัว หรือ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสภาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุพจน์ หารหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล นิติไกรพจน์

ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และ อดีตประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุรพล นิติไกรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริชัย หวันแก้ว

ตราจารย์ สุริชัย หวันแก้ว (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม และอาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรการพัฒนาระหว่างประเทศ และปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธาน Asian Rural Sociological Association (ARSA) ที่ปรึกษาโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิต เคยเป็นหนึ่งในคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) ดำรงตำแหน่งเลขานุการของกอ.ในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ไม่สงบในภาคใต้ และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้าน การพัฒนา คนชายขอบ และโลกาภิวัตน์ อาจารย์สุริชัยเป็นนักวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะสังคมวิทยา และการมีส่วนร่วม เป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม (CUSRI)ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นบุคลากรขององค์กรประชาธิปไตย คนสำคัญของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2549 อาจารย์สุริชัย เคยได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งได้ลาออกก่อนครบกำหนด เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 โดยให้เหตุผลว่า สภานิติบัญญัติฯในช่วงเปลี่ยนผ่านนี้กำลังหมดความชอบธรรมลงแล้วจึงไม่สมควรผ่านร่างกฎหมายต่างๆ อย่างเร่งรีบเกินสมควรดังที่เป็นอยู่ อาจารย์สุริชัย ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาวิชาสังคมวิทยา ภาควิชาสังคม วิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2552 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 2 ประกาศ ณ วันที่ 6 มกราคม..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุริชัย หวันแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สุวบุญ จิรชาญชัย

ตราจารย์ สุวบุญ จิรชาญชัย (เกิด ปี พ.ศ. 2507 -) เป็นคณบดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่ปรึกษาสมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไท.สุวบุญ จิรชาญชัย หรือ.ดร.สุวบุญ จิรชาญชัย มีความเชี่ยวชาญด้านสาขาเคมี โดยเฉพาะเรื่อง พอลิเมอร์ชีวภาพ ซุปปราโมเลกุล พอลิเมอร์สังเคราะห์ พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (biodegradable plastics) พอลิเมอร์เมมเบรนเซลล์ เชื้อเพลิง โดยได้สร้างผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการชั้นนำกว่า 80 เรื่อง เขาได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติในสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุวบุญ จิรชาญชัย · ดูเพิ่มเติม »

สุจินต์ จินายน

ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2533 เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุจินต์ จินายน · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ ฟู่เจริญ

ตราจารย์ น.สุทัศน์ ฟู่เจริญ ศาสตราจารย์ระดับ 11 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2545 ปฏิบัติราชการ ณ ศูนย์วิจัยธาลัสซีเมีย สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุทัศน์ ฟู่เจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ ยกส้าน

ตราจารย์ สุทัศน์ ยกส้าน (เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) นักวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ชาวไทย มีผลงานด้านฟิสิกส์ทฤษฎีอธิบายสมบัติพื้นฐานบางประการของสภาพนำยิ่งยวด ท่านได้รับรางวัลรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี พ.ศ. 2530 ในสาขาฟิสิกส์ทฤษฎี ปัจจุบันทำงานในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวทและตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสุทัศน์ ยกส้าน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (สพบ.) (National Institute of Development Administration) หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า นิด้า (NIDA) เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของรัฐ เปิดสอนเฉพาะระดับมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) และดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) และถือเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดการสอนหลักสูตร MBA เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยคณะบริหารธุรกิจของนิด้าได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้นของทวีปเอเชียอยู่สม่ำเสมอจากสื่อชั้นนำระดับนานาชาติ ประกอบกับเป็นสถาบันที่มีอัตราส่วนอาจารย์ระดับปริญญาเอกต่อจำนวนนักศึกษาที่สูงที่สุดในประเทศไทย และสัดส่วนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงที่สุดในประเทศไทย รวมไปถึงยังได้รับคะแนนการประเมินการดำเนินงานจากหลากหลายองค์กรในระดับสูงที่สุดในประเทศไทย บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถาบันรวมถึงคณาจารย์และศิษย์เก่ามีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงบุคคลสำคัญในด้านการเมืองการปกครองและภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรี, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ และข้าราชการระดับสูง รวมถึงเจ้าของธุรกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพระปกเกล้า

ันพระปกเกล้า (King Prajadhipok's Institute) เป็นนิติบุคคลอยู่ในกำกับดูแลของประธานรัฐสภา โดยมีสภาสถาบันพระปกเกล้าเป็นองค์กรบริหารสูงสุด ดำเนินงานเกี่ยวข้องกับงานด้านวิชาการ ซึ่งจะครอบคลุมถึงเรื่องของการวิจัย การจัดการศึกษา อบรม และเผยแพร่ให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย และการเมืองการปกครอง รวมทั้งให้บริการคำแนะนำปรึกษาด้านการบริหารปกครองบ้านเมืองที่ดี ทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังรับผิดชอบงานเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้ โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันพระปกเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

ันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต รวมจำนวน 5 หลักสูตร และจัดการวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงและพัฒนาด้านภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพัน.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

ันวิจัยประชากรและสังคม (วปส.) มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันชั้นนำที่มีชื่อเสียงในระดับชาติและนานาชาติ ด้านการวิจัยและการศึกษา มุ่งเน้นการวิจัยในรูปแบบสหสาขาวิชาที่บูรณาการทั้งด้านประชากรศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่องกับประชากร เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่รวมถึง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร การฉายภาพประชากร อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ และการย้ายถิ่น .

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (The Thailand Development Research Institute) หรือ ทีดีอาร์ไอ (TDRI) เป็นมูลนิธิที่ไม่แสวงหากำไร ที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2527 ที่มีพันธกิจหลักคือ การทำการวิจัยเชิงนโยบายสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายด้านเศรษฐกิจ กฎหมาย สาธารณสุข และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเผยแพร่ต่อภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อการกำหนดนโยบายระยะยาวอันมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ทีดีอาร์ไอถูกก่อตั้งขึ้นโดยความริเริ่มของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ต้องการให้มีหน่วยงานวิจัยและเสนอนโยบายเป็นอิสระของอำนาจการเมืองและข้าราชการ ด้วยเหตุนี้ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีไทยในขณะนั้น และ ปิแอร์ ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดา จึงได้ลงนามในข้อตกลงให้ความช่วยเหลือเพื่อมอบทุนดำเนินการจัดตั้งสถาบันในระยะเริ่มแรก ผ่านทาง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งแคนาดา (Canadian International Development Agency) นอกจากนี้ ยังมี องค์กรเพื่อการพัฒนานานาชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Agency for International Development) ร่วมให้ทุนสนับสนุนการก่อตั้ง เช่นเดียวกับบริษัทเอกชนอื่นๆ เช่น บริษัทในกลุ่มมิตซุย บริษัทยูโนแคล ประเทศไทย เป็นต้น นับตั้งแต่ก่อตั้ง สถาบันได้ดำเนินงานวิจัยไปแล้วมากกว่า 800 โครงการ ในหัวข้อต่าง ๆ ทั้งระดับประเทศ ทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยมีเป็นหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างประเทศเป็นผู้ว่าจ้างหลัก นอกเหนือจากรายได้จากการถูกว่าจ้างจากหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างประเทศแล้ว ทีดีอาร์ไอยังใช้งบประมาณของตนเองในการผลิตงานวิจัยเชิงนโยบายในหัวข้อที่กำหนดเอง โดยเน้นหัวข้อที่ทีดีอาร์ไอคิดว่าสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต เช่น การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน การพัฒนาระบบศึกษาไทย และโมเดลใหม่ทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ปัจจุบัน ทีดีอาร์ไอมีทรัพยากรบุคคลประมาณ 100 คน ในฝ่ายการวิจัย 6 ฝ่าย ได้แก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ดำเนินงานวิจัยทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาคและประเด็นศึกษาเกี่ยวกัปทวีปเอเชีย และมีภารกิจในการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมในหลายรูปแบบ และมีบทบาทในการให้ความเข้าใจเชิงวิชาการแก่สังคมในประเด็นอันเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์หลายครั้ง.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์Nishino, Fumio and Taweep Chaisomphob, 1997,, Inauguration of the Institute's New Name 'Sirindhorn International Institute of Technology', Commemorative publication, pp.18-24.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

ันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยความร่วมมือจากกลุ่มประเทศสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีโต้ หรือ สปอ.) ในชื่อ โรงเรียนวิศวกรรม สปอ. (SEATO Graduate School of Engineering) ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นสถาบันอิสระในชื่อปัจจุบันเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เปิดสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาโท และปริญญาเอก) โดยเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ ในสาขาที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย มีศูนย์กลางการบริหารงานตั้งอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีศูนย์การศึกษาในประเทศเวียดนามด้วย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย เป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม โดยได้รับการยกย่องว่าเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่ดีที่สุดในโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์

ตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี

ตราจารย์กิตติคุณ หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี (เกษมศรี) (19 ธันวาคม 2476 - ปัจจุบัน) นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สถาปนิกดีเด่น ผู้บุกเบิกงานวิจัยสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้ร่วมก่อตั้งสาขาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรีได้รับพระราชทานปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2499 และได้รับปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี พ.ศ. 2504 ศาสตราจารย์ กิตติคุณ หม่อมราชวงศ์ แน่งน้อย ศักดิ์ศรี เข้ารับราชการตำแหน่งอาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2500 จนเกษียณอายุราชการเมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

อภิวัฒน์ มุทิรางกูร

ตราจารย์ นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร (Apiwat Mutirangura) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี 2549 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2551 และเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและอภิวัฒน์ มุทิรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

อภินันท์ โปษยานนท์

ตราจารย์ อภินันท์ โปษยานนท์ (27 สิงหาคม 2499) ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 7.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและอภินันท์ โปษยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมมาร สยามวาลา

ตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 -) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม และการพัฒนา บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและอัมมาร สยามวาลา · ดูเพิ่มเติม »

อาณัติ อาภาภิรม

นายอาณัติ อาภาภิรม เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2 สมัย และ อดีตผู้ว่าการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.).

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและอาณัติ อาภาภิรม · ดูเพิ่มเติม »

ผาสุก พงษ์ไพจิตร

ตราจารย์ ผาสุก พงษ์ไพจิตร เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 จนถึงปัจจุบัน ศาสตราจารย์ ผาสุก พงษ์ไพจิตร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร จบการศึกษาเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโมนาช ประเทศออสเตรเลีย และได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ เคยได้รับการรับเชิญไปสอนยังมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ สหรัฐอเมริกา ในปี 2554.ดร.ผาสุก มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้เขียนรายงานการวิจัยและหนังสือหลายฉบับเกี่ยวกับการทุจริตในประเทศไทย โดยได้ทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2552 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับตำแหน่งเป็นเมธีวิจัยอาวุโสประจำ สกว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและผาสุก พงษ์ไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณมาลา

ตราจารย์ จรัส สุวรรณมาลา (เกิดเมื่อ 21 กันยายน พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 เป็นศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตคณบดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและจรัส สุวรรณมาลา · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและจรัส สุวรรณเวลา · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ ติงศภัทิย์

ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและจิตติ ติงศภัทิย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและธีระวัฒน์ เหมะจุฑา · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร วงศ์รัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานปลา จบการศึกษาจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโทจากประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดลไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกในเชิงอนุกรมวิธานปลาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2524 และต่อมาในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและทศพร วงศ์รัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ

ตราจารย์ ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต เครืองาม

ตราจารย์ ดุสิต เครืองาม (เกิด 5 กันยายน พ.ศ. 2501) เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตอาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ นักธุรกิจออกแบบและก่อสร้างโซลาร์ฟาร์ม โซลาร์รูฟ หลายสิบเมกะวัตต์ มีผลงานมากมายทั้งด้านวิชาการและด้านอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยโซลาร์ฟืวเจอร์ จำกัดนายกสมาคมอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ไทย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและดุสิต เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 2 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 ภายในการนำของหลวงดำริอิสรานุวรรตน์ ในระยะเริ่มแรกได้ก่อตั้งเป็น “แผนกวิชาการบัญชี” โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเป็นหนึ่งในสี่คณะที่กำเนิดขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อแรกเริ่มมีทำหน้าที่สอนวิชาพื้นฐานด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้แก่คณะอื่น ๆ ต่อมาได้มีการพัฒนาเรื่อยๆมาจนเปิดหลักสูตร ทางด้านสายสังคมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และครอบคลุมไปยังด้านสาขามานุษยวิทยา, สังคมวิทยา รวมไปถึงภาษาต่างประเทศ ในปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 พร้อมกับมหาวิทยาลัย โดยเป็นหนึ่งในสามคณะแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่นเดียวกับคณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์สังกัดอยู่ในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็น 1 ใน 4 คณะที่ก่อตั้งขึ้นพร้อมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า เมือปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 10 ของมหาวิทยาลัย และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 9 ในมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Engineering, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 04.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่เป็นอันดับ 2 ผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แต่เดิมเป็นเพียง"ศูนย์ฝึกโทรคมนาคมนนทบุรี" ก่อนจะยกฐานะเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 13 ภาควิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามสำนักหอสมุดกลาง และมีพื้นที่ติดกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Science Ramkhamhaeng University) เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยรามคำแหงซึ่งเปิดสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ในแขนงต่าง.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะที่ตั้งในวิทยาเขตหาดใหญ่ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับอุดมศึกษา เป็นที่รู้จักแห่งหนึ่งในภาคใต้ ทั้งในด้านการเรียนการสอน งานวิจัยและบริการวิชาการ จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มอาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเป็นมาหลายยุคหลายสมัย ตั้งแต่สมัยวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก จนมาถึงมหาวิทยาลัยนเรศวรในปัจจุบัน เป็นคณะที่เปิดสอนในกล่มวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นหนึ่งในสามคณะแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เริ่มเปิดการเรียนการสอนวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นการสอนวันแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ด้วย ปัจจุบันดำเนินการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย โดยจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี้ยังจัดการเรียนการสอนสาขาวิทยาศาสตร์พื้นฐานให้กับนักศึกษาในคณะต่างๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับการสถาปนาเป็นคณะที่ 7 ของมหาวิทยาลัย โดยเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี้ ยังเปิดสอนหลักสูตรเตรียมแพทย์ ให้กับวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า อีกด้ว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ในวิทยาเขตปัตตานี โดยโอนภาควิชาวิทยาศาสตร์ และภาควิชาคหกรรมศาสตร์ จากคณะศึกษาศาสตร์ มาสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาควิชาที่โอนมาสังกัดคณะใหม่ ได้เปลี่ยนชื่อภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยเปิดสอนนักศึกษารุ่นแรกของคณะ ในปีการศึกษา 2528 สาขาเทคโนโลยีการยาง จำนวน 11 คน นอกจากนี้คณะฯ ยังรับผิดชอบในการสอนนักศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ คือ ศษ..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหนึ่งในสี่คณะเริ่มแรกตั้งของมหาวิทยาลัย โดยมีวิวัฒนาการมาจาก "โรงเรียนการป่าไม้" เปิดสอนในสาขาวิชาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การอนุรักษ์ป่าไม้ รวมถึง การจัดการลุ่มน้ำ โดยทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารศิลปกรรม 1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2527 นับเป็นคณะที่ 15 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากด้านการสอนแล้ว คณะศิลปกรรมศาสตร์ยังทำหน้าที่วิจัย บุกเบิก และพัฒนาวิชาการด้านศิลปกรรม รวมทั้งทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมตามนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของไทยในสาขาศิลปะและการออกแบบ (อันดับที่ 151 - 200 ของโลก และเป็นแห่งเดียวที่ติดอันดับ) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 พร้อมกับการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ จัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 5 ของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2497 เปิดสอนในหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดยขยายตัวจากภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร สังกัดคณะทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียน และบุคลากรในภาคใต้ โดยได้ดำเนินการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โทและเอกทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร ดำเนินการวิจัยและให้บริการวิชาการ และคำปรึกษาทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตรแก่โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร หน่วยงานราชการในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ คณะอุตสาหกรรมเกษตรดำเนินการเรียนการสอนเกี่ยวกับการนำผลิตผลเกษตร ประมง ป่าไม้ มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารสัตว์และเครื่องอุปโภคโดยกระบวนการทางอุตสาหกรรมเกษตรและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม ตลอดจนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้นักศึกษาจะต้องเรียนรู้แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การประกันคุณภาพ การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจาก "โรงเรียนฝึกหัดครู" ต่อมาได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และเป็นแผนกวิชาหนึ่งในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ พร้อมกับการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นคณะครุศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 นับเป็นคณะที่ 7 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นส่วนงานประเภทคณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 164 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2515 มีรากฐานมาจากโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ที่โอนมาเป็นคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

right คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะลำดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัย โดยมีประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Medicine, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 6 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 5 ของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 2 ของส่วนภูมิภาค ต่อจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีสถานปฏิบัติการคือโรงพยาบาลศรีนครินทร์ รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 07.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ในจัดการเรียนการสอนในด้านการเกษตร โดยแบ่งออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ คณะเกษตร บางเขน และ คณะเกษตร กำแพงแสน.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Pharmacy, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยอีกด้วยหนังสือ "กระถินณรงค์'44" เมื่อประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) และได้รับการพัฒนาหลักสูตรขึ้น จัดตั้งเป็นแผนกเภสัชกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาโรคต่าง ๆ ในเขตร้อน เป็นคณะด้านนี้แห่งเดียวในประเทศไทย และเป็นคณะที่มีผลงานวิจัยจำนวนมากตีพิมพ์ในวารสารระดับโลก นอกจากนี้ คณะยังมีโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ที่เปิดให้การรักษาพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคเขตร้อน อายุรกรรมทั่วไป และอายุรกรรมเฉพาะทางหลากหล.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 เดิมเป็นภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นคณะเมื่อ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2535 จัดการเรียนการสอนในสาขาเศรษฐศาสตร์ ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ตราประจำคณะคือ ตราฟันเฟืองรวงข้าว สีประจำคณะ คือ สีบานเย็น.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเป็นคณะลำดับที่ 12 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อาคารคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะเทคนิคการแพทย์คณะแรกของประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดสอนในหลักสูตรเทคนิคการแพทย์และรังสีเทคนิค ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อวงการเทคนิคการแพทย์ และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีการศึกษา 2544 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ ในปีการศึกษา 2545 ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังความปลาบปลื้มมาสู่คณาจารย์ และนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์อย่างมาก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์

ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา

ตราจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภาขณะดูงานด้านเศรษฐกิจชาวนาที่ประเทศเปรู เพื่อเปรียบเทียบกับชาวนาไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 ศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (5 กันยายน พ.ศ. 2484 -) ผู้ร่วมริเริ่มแนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมือง อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขาเศรษฐศาสตร์ เมธีวิจัยอาวุโส สกว. นักวิจัยดีเด่นของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้แต่งตำราและบทความด้านเศรษฐศาสตร์ทั้งทั่วไปและเศรษฐศาสตร์การเมืองแพร่หลายในจำนวนมาก.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและฉัตรทิพย์ นาถสุภา · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ วิไลรัตน์

ตราจารย์ ประพนธ์ วิไลรัตน์ เกิดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้พี่ของรองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ และเป็นบุตรคนที่หนึ่ง ในจำนวน 4 คน ของนายนิพนธ์ และนางสดับพิณ วิไลรัตน์ ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและประพนธ์ วิไลรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ วะสี

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและประเวศ วะสี · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ทองเจริญ

.น.ประเสริฐ ทองเจริญ (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นผู้ชำนาญไข้หวัดนกและโรคซารส์ (SARS) ผู้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคทั้งสองนี้เป็นรายแรก ๆ ในเมืองไทย ต่อมาได้เข้ารับรางวัล Public Health Recognition Award จากสมาพันธ์การศึกษาด้านสาธารณสุขแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในที่ประชุมวิชาการนานาชาติด้านสาธารณสุขภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (38th APACPH Conference) ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3 - 6..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและประเสริฐ ทองเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและประเสริฐ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ โศภน

ตราจารย์เกียรติคุณ ประเสริฐ โศภน (8 ธันวาคม 2486 -) เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของ นายสุนทร และนางสว่างจิต โศภน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขากายวิภาคศาสตร์และเซลล์ชีววิทยา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเซลล์ชีววิทยา ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและประเสริฐ โศภน · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา จินดาประเสริฐ

ตราจารย์ ปริญญา จินดาประเสริฐ เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 8 โดยภายหลังจากพันวาระการดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นแล้วนั้น ได้รับเลือกให้เป็นประธานกรรมการรถไฟ ในระหว่าง..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและปริญญา จินดาประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะสาร ประเสริฐธรรม

ตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและปิยะสาร ประเสริฐธรรม · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ ฉัตรทิพากร

ตราจารย์ นายแพทย์ นิพนธ์ ฉัตรทิพากร (Nipon Chattipakorn) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานกรรมการบริหาร นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2555 และ เมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและนิพนธ์ ฉัตรทิพากร · ดูเพิ่มเติม »

นิกร ดุสิตสิน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ นิกร ดุสิตสิน เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและนิกร ดุสิตสิน · ดูเพิ่มเติม »

นิธิ เอียวศรีวงศ์

ตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) เป็นนักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นจากสภาวิจัยแห่งชาติ, รางวัลฟูกูโอกะ และรางวัลศรีบูรพา อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและนิธิ เอียวศรีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

ตราจารย์ ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และนักเขียนประจำนิตยสารวิภาษาเป็นนักวิชาการด้านการเมืองภาคประชาชนและเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีหลังสมัยใหม่ สัญวิทยา และหลังโครงสร้างนิยม ในวงวิชาการของประเทศไทย ที่ควบคู่ไปกับ นพพร ประชากุล และธเนศ วงศ์ยานนาวา เป็นต้น งานเขียนของไชยรัตน์ในเรื่องดังกล่าวจัดเป็นงานเขียนภาษาไทยที่บุกเบิกและสำคัญต่อทฤษฎีหลังสมัยใหม่ โดยเฉพาะหนังสือชื่อ "วาทกรรมการพัฒนา" ที่เป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่นำทฤษฎีกลุ่มหลังสมัยใหม่ของนักคิดสกุลฝรั่งเศสอย่าง มิเชล ฟูโกต์ มาใช้อธิบายการพัฒนาในกลุ่มประเทศโลกที่สาม เป็นต้น จัดเป็นงานเขียนยุคแรก ๆ ของการศึกษาแนวคิดหลังสมัยใหม่ในประเทศไทย หนังสือดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้เป็นตำราในการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาหลาย ๆ สาขาในประเทศไทยและถูกนำไปใช้อ้างอิงในวงวิชาการของไทยอยู่มาก ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ ปรัชญา วรรณกรรม สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ฯลฯ และมีอิทธิพลต่อความคิดนักวิชาการหัวก้าวหน้าหลายท่าน เช่น ยุกติ มุกดาวิจิตร, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ, จันทนี เจริญศรี เป็นต้น.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร · ดูเพิ่มเติม »

เกตุ กรุดพันธ์

ตราจารย์ เกตุ กรุดพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2496 ที่จังหวัดนนทบุรี บิดาชื่อ นายศักดิ์ กรุดพันธ์ มารดาชื่อ นางอุบล กรุดพันธ์ สมรสกับ นางธนกร กรุดพันธ์ (นามสกุลเดิมเกษมกิจวัฒนา) มีธิดา 1 คน คือ นางสาวศุภรา กรุดพันธ์ ศาสตราจารย์ เกตุ กรุดพันธ์ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ เป็นศาสตราจารย์สาขาเคมีวิเคราะห์คนแรกของประเทศไทย ปัจจุบันทำงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้ประสานงานห้องปฏิบัติการสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในการพัฒนาเพื่อการลดขนาดในการวิเคราะห์โดยการไหล (กลุ่มวิจัย Flow-based Analysis Research Group)ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ สนใจในวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาวิธีและเครื่องมือ ในการการวิเคราะห์ทางเคมีโดยเฉพาะเทคนิคที่อาศัยหลักการไหล ซึ่งจะมุ่งเป้าที่จะเป็นแบบราคาถูก งานวิจัยจะสัมพันธ์กับปัญหาของท้องถิ่นแต่มีผลกระทบในระดับนานาชาติอีกด้วย ไม่นานมานี้ได้ริเริ่มและผลักดันในการพัฒนาการวิเคราะห์ที่อาศัยหลักการไหลเพื่อการคัดกรองในการตรวจวินิจฉัยโรคบางชนิด (เช่น มะเร็ง, โรคตับ, โรคข้อ และกระดูก และโรคธาลัสซีเมีย เป็นต้น) การพัฒนาดังกล่าวจะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลในพื้นที่ธุรกันดานในประเทศไทย และได้ริเริ่มผลักดันเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางเคมีแบบสะอาดโดยการใช้รีเอเจนต์ที่ได้จากธรรมชาติ การพัฒนาการวิจัยจะมีผลเชื่อมโยงกับการพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่อีกด้วย ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ได้บุกเบิกงานทาง flow injection analysis ที่เกี่ยวข้องกับกัมมันตรภาพรังสี การเตรียมตัวอย่างแบบในท่อที่ใช้ระบบการไหลผนวกเข้ากับเทคนิคทาง โครมาโทกราฟี การลดขนาดของการวิเคราะห์ทางเคมี เช่น “การดำเนินการวิเคราะห์บนชิพ (lab-on-Chip)” และ “การดำเนินการทดลองที่วาล์ว (Lab-at-Valve)” ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการวิเคราะห์ทั้งระบบในระดับไมโคร (micro total analysis system).

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและเกตุ กรุดพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมธี ครองแก้ว

ตราจารย์ เมธี ครองแก้ว (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2485 กรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คู่สมรส นางกัลยา ครองแก้ว เมธี ครองแก้ว จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเวลลิงตัน และมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา รับราชการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย ได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ประจำ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2540 และยังดำรงตำแหน่ง นายกสมาคมเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย, ผู้อำนวยการสถาบันไทยคดีศึกษา และสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ เมธี ครองแก้ว ลงสมัครคัดเลือก เป็น ป.ป.ช. และคาดหวังว่าจะได้รับการคัดเลือกจากที่ประชุมวุฒิสภา ก่อนจะได้รับแต่งตั้งตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 ลงวันที่ 22 กันยายน 2549.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและเมธี ครองแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เทียนฉาย กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ รองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนเกษียณอายุราชการดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและเทียนฉาย กีระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลนักวิจัยดีเด่นรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »