โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มังคลัตถทีปนี

ดัชนี มังคลัตถทีปนี

ปกหนังสือมงคลทีปนีฉบับบาลีพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2550 มังคลัตถทีปนี (มงฺคลตฺถทีปนี) หรือ มงคลทีปนี เป็นหนังสืออธิบายความมงคล ๓๘ ประการในมงคลสูตรที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ๒ แห่ง คือ ในขุททกปาฐะและสุตตนิบาตแห่งพระสุตตันตปิฎก เป็นหนังสือที่ใช้ภาษาบาลีในการรจนาตลอดเล่ม โดยพระสิริมังคลาจารย์ซึ่งท่านเป็นพระภิกษุชาวเมืองนวปุระหรือเชียงใหม่ในปัจจุบันในสมัยอาณาจักรล้านนา ท่านได้อธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียดด้วยภาษาบาลีอันไพเราะและสละสลวย จัดเป็นหนังสือชั้นอรรถกถา ทั้งฎีกา ทั้งอนุฎีกา ทั้งคำเกจิอาจารย์ เพราะมังคลัตถทีปนีบรรจุไว้ทั้งอรรถกถา ทั้งฎีกา ทั้งอนุฎีกา ทั้งคำเกจิอาจารย์ และมีการยกเรื่องจากคัมภีร์และชาดกอื่นๆ มาอธิบายประกอบ ค้นพบเป็นคัมภรีใบลานและสมุดข่อยจารโดยอักษรหรืออักขระพม่าและอักขระไทยเหนือ ต่อมาได้ปริวรรตเป็นอักษรไทยภาษาบาลีและมหาวิทยาลัยมหามกุฏฯลฯได้จัดพิมพ์เป็นจำนวนหลายครั้งเพื่อใช้เป็นหลักสูตรของปริยัติธรรมแผนกบาลี ชั้นประโยค ป..๔ และ ป..๕ เป็นหนังสือที่ปราชญ์ภาษาบาลีทั้งศรีลังกาและพม่าให้การยอมรับโดยมีการนำไปเผยแพร่ยังประเทศศรีลังกากัมพูชาลาวและพม.

14 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2067พ.ศ. 2550พญาแก้วพระสุตตันตปิฎกพระเจ้าติโลกราชฎีกามังคลัตถทีปนีมงคลสูตรศาสนาอรรถกถาอาณาจักรล้านนาอนุฎีกาจังหวัดเชียงใหม่ปรัชญา

พ.ศ. 2067

ทธศักราช 2067 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและพ.ศ. 2067 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พญาแก้ว

ระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ หรือพญาแก้ว (พระเมืองแก้ว) (80px)เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 11 ในราชวงศ์เม็งราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ใน พ.ศ. 2038 - 2068 พญาแก้ว มีพระนามที่เรียกกันต่างๆ คือ พระเมืองแก้ว หรือพ่อท้าวแก้ว หรือเจ้ารัตนราชกุมาร หรือพญาแก้วภูตาธิปติราช หรือ พระเจ้าติลกปนัดดาธิราช ทรงเป็นพระปนัดดาของพระเจ้าติโลกราช และเป็นราชบุตรของพญายอดเชียงรายกับพระนางสิริยสวดี (เทวีปงน้อย) ประสูติในปีขาล ได้รับราชาภิเษกเมื่อชนมายุ 13 ปี ในวันเพ็ญเดือน 9..

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและพญาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พระสุตตันตปิฎก

ระสุตตันตปิฎก เป็นชื่อของปิฎกฉบับหนึ่งในพระไตรปิฎกภาษาบาลี ซึ่งประกอบด้วย พระวินัยปิฎก พระสุตตตันปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก เรียกย่อว่า พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรม พระสุตตันตปิฎก เป็นที่รวมของพระพุทธพจน์ที่เกี่ยวกับเทศนาธรรม ซึ่งประกอบด้วย เนื้อหาสาระ บุคคล เหตุการณ์ สถานที่ ตลอดจนบทประพันธ์ ชาดก หรือ เรื่องราวอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า เมื่อกล่าวโดยรวมก็คือ คำสอนที่ประกอบด้วยองค์ 9 ที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์ นั่นเอง นับเป็นธรรมขันธ์ได้ 21,000 พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก แบ่งออกเป็นหมวดย่อยที่เรียกว่าคัมภีร์ 5 คัมภีร์ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตรนิกาย และขุททกนิกาย ใช้อักษรย่อว่า ที ม สัง อัง ขุ อักษรย่อทั้ง 5 คำนี้เรียกกันว่า หัวใจพระสูตร.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและพระสุตตันตปิฎก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและพระเจ้าติโลกราช · ดูเพิ่มเติม »

ฎีกา

ีกา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

มังคลัตถทีปนี

ปกหนังสือมงคลทีปนีฉบับบาลีพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2550 มังคลัตถทีปนี (มงฺคลตฺถทีปนี) หรือ มงคลทีปนี เป็นหนังสืออธิบายความมงคล ๓๘ ประการในมงคลสูตรที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ๒ แห่ง คือ ในขุททกปาฐะและสุตตนิบาตแห่งพระสุตตันตปิฎก เป็นหนังสือที่ใช้ภาษาบาลีในการรจนาตลอดเล่ม โดยพระสิริมังคลาจารย์ซึ่งท่านเป็นพระภิกษุชาวเมืองนวปุระหรือเชียงใหม่ในปัจจุบันในสมัยอาณาจักรล้านนา ท่านได้อธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียดด้วยภาษาบาลีอันไพเราะและสละสลวย จัดเป็นหนังสือชั้นอรรถกถา ทั้งฎีกา ทั้งอนุฎีกา ทั้งคำเกจิอาจารย์ เพราะมังคลัตถทีปนีบรรจุไว้ทั้งอรรถกถา ทั้งฎีกา ทั้งอนุฎีกา ทั้งคำเกจิอาจารย์ และมีการยกเรื่องจากคัมภีร์และชาดกอื่นๆ มาอธิบายประกอบ ค้นพบเป็นคัมภรีใบลานและสมุดข่อยจารโดยอักษรหรืออักขระพม่าและอักขระไทยเหนือ ต่อมาได้ปริวรรตเป็นอักษรไทยภาษาบาลีและมหาวิทยาลัยมหามกุฏฯลฯได้จัดพิมพ์เป็นจำนวนหลายครั้งเพื่อใช้เป็นหลักสูตรของปริยัติธรรมแผนกบาลี ชั้นประโยค ป..๔ และ ป..๕ เป็นหนังสือที่ปราชญ์ภาษาบาลีทั้งศรีลังกาและพม่าให้การยอมรับโดยมีการนำไปเผยแพร่ยังประเทศศรีลังกากัมพูชาลาวและพม.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและมังคลัตถทีปนี · ดูเพิ่มเติม »

มงคลสูตร

''ภาพ:หนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม ๔ ประโยค คัมภีร์ชั้นฎีกาอธิบายความในมงคลสูตร'' มงคลสูตร()เป็นพระสูตรสำคัญบทหนึ่ง ในพระพุทธศาสนาเถรวาท เพราะมีเนื้อหาแสดงถึงการปฏิเสธ มงคลภายนอก ที่นับถือเหตุการณ์หรือสิ่งต่าง ๆ ว่าเป็นมงคลหรือมีมงคล โดยอธิบายว่าในทัศนะพระพุทธศาสนานั้น มงคลของมนุษย์และเทวดาย่อมเกิดจากการกระทำอันได้แก่ มงคลภายใน คือต้องกระทำความดี และความดีนั้นจะเป็นสิ่งที่เรียกว่ามงคลเองโดยไม่ต้องไปอ้อนวอนกราบไหว้ขอมงคลจากนอกตัว เมื่อพิจารณาจากเนื้อหาในพระสูตรแล้ว ก็ได้แสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาปฏิเสธมงคลภายนอกโดยสิ้นเชิง ซึ่งเป็นจุดเด่นในพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและมงคลสูตร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

อรรถกถา

ัมภีร์อรรถกถาบาลีในปัจจุบันเป็นผลงานการแปลของพระพุทธโฆสะ ที่แปลยกจากภาษาสิงหลขึ้นสู่ภาษาบาลี อรรถกถา (Atthakatha; อ่านว่า อัดถะกะถา) คือคัมภีร์ที่รวบรวมคำอธิบายความในพระไตรปิฎกภาษาบาลี เรียกว่า คัมภีร์อรรถกถา บ้าง ปกรณ์อรรถกถา บ้าง อรรถกถา จัดเป็นแหล่งความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญรองลงมาจากพระไตรปิฎก และใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงอย่างแพร่หลายในวงการศึกษาพระพุทธศาสนา คัมภีร์อรรถกถา ไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า แต่เป็นคัมภีร์ที่อธิบายความหรือคำที่ยากในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้น โดยยกศัพท์ออกมาอธิบายเป็นศัพท์ ๆ บ้าง ยกข้อความหรือประโยคยาวๆ มาขยายความให้ชัดเจนขึ้นบ้าง แสดงทัศนะและวินิจฉัยของผู้แต่งสอดแทรกเข้าไว้บ้าง ลักษณะการอธิบายความในพระไตรปิฎกของอรรถกถานั้น ไม่ได้นำทุกเรื่องในพระไตรปิฎกมาอธิบาย แต่นำเฉพาะบางศัพท์ วลี ประโยค หรือบางเรื่องที่อรรถกถาจารย์เห็นว่าควรอธิบายเพิ่มเติมเท่านั้น ดังนั้นบางเรื่องในพระไตรปิฎกจึงไม่มีอรรถกถาขยายความ เพราะอรรถกถาจารย์เห็นว่าเนื้อหาในพระไตรปิฎกส่วนนั้นเข้าใจได้ง่ายนั่นเอง.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและอรรถกถา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อนุฎีกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและอนุฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: มังคลัตถทีปนีและปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หนังสือมังคลัตถทีปนี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »