โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาแย็ฮ

ดัชนี ภาษาแย็ฮ

ษาแย็ฮ หรือภาษาแยะตามการออกเสียงในภาษาลาว อยู่ในภาษากลุ่มบะห์นาริก มีผู้พูดในแขวงเซกอง ประเทศลาว ระบบเสียงซับซ้อนกว่าภาษาเตรียงและภาษากะเซง มีลักษณะน้ำเสียง พยัญชนะต้นมี 41 เสียง ตัวสะกดมี 15 เสียง สระมี 21 เสียง.

7 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาบะห์นาริกกลุ่มภาษามอญ-เขมรภาษากะเซงภาษาลาวภาษาเตรียงประเทศลาวแขวงเซกอง

กลุ่มภาษาบะห์นาริก

กลุ่มภาษาบะห์นาริก (Bahnaric Languages) เป็นภาษาในกลุ่มมอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก แบ่งเป็น 5 กลุ่มย่อย คือ.

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและกลุ่มภาษาบะห์นาริก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและกลุ่มภาษามอญ-เขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเซง

ษากะเซง หรือภาษาโกเซง ภาษากัสเซง ภาษากราเซง มีผู้พูดทั้งหมด 1,200 คน (พ.ศ. 2543) ในลาวภาคใต้ ใกล้เคียงกับชายแดนเวียดนาม ที่ราบโบโลเวนต์ทางเหนือของแขวงอัตตะปือแขวงเซกอง ประเทศลาว จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยกะตู บางครั้งจัดอยู่ในภาษากลุ่มบะห์นาริก ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเตรียง จนนักภาษาศาสตร์บางคน ดังที่กล่าวถึงในบันทึกของพระยาประชากิจกรจักรว่าภาษาเตรียงกับภาษากะเซงเป็นภาษาเดียวกัน แต่ที่จริงทั้งสองภาษามีศัพท์พื้นฐานใช้ร่วมกันเพียง 76% จึงมีผู้แยกเป็นสองภาษา พยัญชนะต้นมี 24 เสียง ตัวสะกดมี 15 เสียง สระมี 21 เสียง.

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและภาษากะเซง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตรียง

ษาเตรียง (Trieng) หรือภาษาสเตรียง ภาษาตาเรียง ภาษาตาเระห์ มีผู้พูดทั้งหมด 15,000 คน (พ.ศ. 2545)มีผู้พูดในแขวงเซกอง ประเทศลาวและจังหวัดกวางงายจังหวัดกอนตุมและจังหวัดกวางนาม ประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยบะห์นาริก ใกล้เคียงกับภาษากะเซง อาจจะมีความเกี่ยวข้องกับภาษาเจะห์ หรือภาษาตะเลียง ในประเทศลาว พยัญชนะต้นมี 27เสียง ตัวสะกดมี 15 เสียง สระมี 25 เสียง มีรายการวิทยุที่ออกอากาศด้วยภาษานี้.

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและภาษาเตรียง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แขวงเซกอง

ซกอง (ເຊກອງ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับประเทศเวียดนาม ประชากรส่วนใหญ่ของแขวงเป็นชนเผ่าลาวเทิง พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร มีเผ่าย่อยออกไปหลายเผ่า มีชาวลาวลุ่มอาศัยอยู่ค่อนข้างน้อย เพียงร้อยละ 3 เท่านั้น แขวงเซกองแยกออกมาจากแขวงสาละวันเมื่อปี พ.ศ. 2526 ชื่อของแขวงตั้งตามชื่อแม่น้ำกอง (เซกอง) ที่ไหลผ่านพื้นที.

ใหม่!!: ภาษาแย็ฮและแขวงเซกอง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภาษาแยะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »