โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาสามเตา

ดัชนี ภาษาสามเตา

ษาสามเตา (Samtao language) หรือภาษาสามตวน มีผู้พูดทั้งหมด 9,650 คน พบในพม่า 9,550 คน (พ.ศ. 2543) ทางภาคตะวันออกของรัฐฉาน พบในจีน 100 คน (พ.ศ. 2536) ในสิบสองปันนา จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง ใช้เป็นภาษาในหมู่บ้านและครัวเรือน คำว่าภาษาสามเตานั้นมีความหมายได้หลายประการ ในกลุ่มผู้พูดภาษาปะหล่อง ภาษาสามเตาหมายถึงสำเนียงที่เข้าใจกันไม่ได้ของภาษาปลัง ในจีน ภาษาสามเตาหมายถึงภาษาปลังในพม่า และในบางครั้งหมายถึงภาษาปลังที่สำเนียงในประเทศจีนไม่สามารถเข้าใจได้ สามารถหมายถึงผู้พูดภาษาปลังที่ไม่เป็นมาตรฐาน และยังใช้อ้างถึงบริเวณเมืองลาในรัฐฉานตะวันออก นอกจากนั้น ยังมีผู้ใช้หมายถึงผู้อยู่ในบริเวณสามเตา ผู้พูดภาษาปะหล่องสำเนียงที่ออกไปทางภาษาว้าก็เรียกตัวเองว่าสามเตา คนในหมู่บ้านสามเตาในเวียงภูคาพูดภาษาสามเตาโบราณ ซึ่งผู้พูดภาษามอญ-เขมรจะฟังว่าเป็นภาษาลาว.

7 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษามอญ-เขมรภาษาว้าภาษาปลังรัฐชานเมิ้งล่าเวียงพูคาเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและกลุ่มภาษามอญ-เขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาว้า

อักษรว้า ภาษาว้า (Wa language) มีผู้พูดทั้งหมด 1,188,000 คน พบในพม่า 922,000 คน (พ.ศ. 2551) โดยมี 415,000 คน พูดได้ภาษาเดียว ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง พบในทางเหนือของรัฐฉาน บริเวณตอนบนของแม่น้ำสาละวิน และทางตะวันออกของรัฐฉานแถบเชียงตุง พบในจีน 266,000 คน (พ.ศ. 2543) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง มีไบเบิลที่เขียนด้วยภาษาว้า มีสำเนียงหลัก 3 สำเนียง.

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและภาษาว้า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปลัง

ษาปลังหรือภาษาบลัง ภาษาปูลัง เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาปะหล่อง มีผู้พูดทั้งสิ้น 37,200 คน พบในจีน 24,000 คน (พ.ศ. 2533) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน ในสิบสองปันนา บางส่วนอยู่ร่วมกับชาวว้า ผู้พูดภาษานี้มักใช้ภาษาไท ภาษาว้าหรือภาษาจีนได้ด้วย พบในพม่า 12,000 คน (พ.ศ. 2537) ทางตะวันออกของรัฐฉาน พบในไทย 1,200 คน ในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และในกรุงเทพฯ อัตราการรู้หนังสือต่ำ อพยพมาจากสิบสองปันนาโดยเข้าไปอยู่ในพม่าระยะหนึ่งแล้วจึงเข้ามาไทยเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและภาษาปลัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

เมิ้งล่า

มิ้งล่า หรือ เมืองหล้า (勐腊县; พินอิน: Měnglà Xiàn) เป็นเขตปกครองระดับเทศมณฑลในเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เมิ้งล่า มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตพฤษชาติเขตร้อน มีพันธุ์ไม้มากกว่า 13,000 ชน.

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและเมิ้งล่า · ดูเพิ่มเติม »

เวียงพูคา

วียงภูคา เป็นเมืองหนึ่งของประเทศลาว และเป็นเมืองของแขวงหลวงน้ำทา เวียงภูคาเป็นเมืองเอกของเมืองเวียงภู.

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและเวียงพูคา · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา

ตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา (อักษรธรรม: ᩈᩥ᩠ᨷᩈ᩠ᩋᨦᨻᩢ᩠ᨶᨶᩣ ไทลื้อใหม่: ᦈᦹᧈᦈᦹᧈᦋᦵᦲᧁᦘᦱᦉᦱᦑᦺ᧑᧒ᦗᧃᦓᦱ) หรือชื่อย่อว่า ซีไต่ ตั้งอยู่ทางใต้สุดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีเมืองเอก คือ เมืองเชียงรุ่ง.

ใหม่!!: ภาษาสามเตาและเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »