โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

ดัชนี พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน (Harold Godwinson หรือ Haraldur Guðinason) (ราว ค.ศ. 1022 – 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์และพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1022 ที่เวสเซ็กซ์ อังกฤษ เป็นพระราชโอรสของกอดวิน เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ และ กีธา ธอร์เคลสเดิทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับเอลด์จิธ สวอนเน็ค และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1066 จนทรงถูกสังหารในยุทธการเฮสติงส์ แบตเติล เมื่อทรงพยายามต่อต้านกองทัพของดยุคแห่งนอร์มังดีที่ยกมารุกรานอังกฤษ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 หลังจากที่พระเจ้าฮาโรลด์เสด็จสวรรคต สภาวิททันก็ประกาศให้สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง ขึ้นครองราชสมบัติต่อมาแต่มิได้ทรงสวมมงก.

53 ความสัมพันธ์: บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันชาวแองโกล-แซกซันพ.ศ. 1564พ.ศ. 1565พ.ศ. 1603พ.ศ. 1609พ.ศ. 1611พ.ศ. 1612พ.ศ. 1630พ.ศ. 2391พ.ศ. 2413พ.ศ. 2419พ.ศ. 2422พ.ศ. 2453พ.ศ. 2498พ.ศ. 2505พ.ศ. 2509พ.ศ. 2540พ.ศ. 2547พรมผนังบาเยอพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันมรณสักขีในศาสนาคริสต์มง-แซ็ง-มีแชลยอร์กยอร์กเชอร์รัดยาร์ด คิปลิงราชวงศ์เวสเซกซ์ราชอาณาจักรอังกฤษราชอาณาจักรเวสเซกซ์รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษลัทธิบูชาสภาวิททันสมัยกลางอัลเฟรด เทนนีสัน บารอนเทนนีสันที่ 1อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์คอร์นวอลล์ประเทศอังกฤษประเทศเวลส์โลงหินเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์14 ตุลาคม20 กันยายน25 กันยายน28 กันยายน...4 มกราคม5 มกราคม6 มกราคม ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน

ันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxon Chronicle) เป็นชุดหนังสือรายปีที่เขียนด้วยภาษาอังกฤษเก่า เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาวแองโกล-แซกซัน เขียนขึ้นราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 อาจจะที่เวสเซ็กซ์ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช หลังจากนั้นต้นฉบับก็ถูกส่งไปตามอารามต่างๆ ทั่วอังกฤษ แต่ละอารามต่างก็แก้ไขเพิ่มเติมต่อมาเรื่อย ๆ ในกรณีหนึ่งบันทึกถูกเพิ่มเติมมาจนถึงปี ค.ศ. 1154 ในปัจจุบันบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันมีเหลืออยู่ 9 ฉบับทั้งสมบูรณ์และเหลือแต่บางส่วน คุณค่าของแต่ละฉบับก็ต่างกันใน 9 ฉบับนี้ไม่มีฉบับใดที่เป็นฉบับดั้งเดิมแท้ ๆ ฉบับที่เก่าที่สุดสันนิษฐานกันว่าเริ่มเขียนราวปลายรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช และฉบับล่าสุดเป็นฉบับที่เขียนที่มหาวิหารปีเตอร์บะระหลังจากไฟใหม้อารามในปี ค.ศ. 1116 เนึ้อหาของบันทึกเป็นการบันทึกเหตุการณ์ประจำปี เหตุการณ์ปีแรกที่สุดที่บันทึกคือปี 60 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงปีที่เขียน ต่อจากนั้นเนื้อหาก็เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของการเขียน บันทึกต่าง ๆ เหล่านี้เรียกรวมกันว่า “บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน” เนื้อหาของบันทึกไม่เป็นกลางนักในบางบันทึกเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเอกสารจากสมัยกลางอื่น ๆ จะพบว่าผู้เขียนละเว้นเหตุการณ์บางเหตุการณ์ หรือเขียงจากมุมมองของผู้เขียน หรือบางฉบับก็จะแตกต่างจากฉบับอื่นเมื่อกล่าวถึงเหตุการณ์เดียวกันหรือข้อมูลที่บันทึกขัดแย้งกันเอง แต่เมื่อพิจารณาโดยทั่วไปแล้วพงศาวดารเป็นหลักฐานชิ้นที่สำคัญที่สุดทางประวัติศาสตร์ระหว่างสมัยโรมันหมดอำนาจในอังกฤษไปจนถึงการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน ข้อมูลที่บันทึกในพงศาวดารไม่พบในเอกสารอื่นใด นอกจากนั้นบันทึกยังเป็นเอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะฉบับที่เขียนที่ปีเตอร์บะระซึ่งเป็นตัวอย่างแรกที่สุดของภาษาอังกฤษสมัยกลาง เจ็ดในเก้าฉบับปัจจุบันเก็บรักษาไว้หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ (British Library) อึกสองฉบับอยู่ที่หอสมุดบอดเลียนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและวิทยาลัยคอร์พัสคริสติของมหาวิทยาลัยเคมบร.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแองโกล-แซกซัน

ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ. 625) ออกแบบตามแบบหมวกนักรบของโรมันและตกแต่งแบบหมวกนักรบของสวีเด็นที่ทำในสมัยเดียวกันที่โอลด์อุพพ์ซาลา แองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxons) เป็นคำที่ใช้เรียกชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางใต้และตะวันออกของสหราชอาณาจักรระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนกระทั่งถึงการรุกรานของนอร์มัน ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1564

ทธศักราช 1564 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1564 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1565

ทธศักราช 1565 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1565 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1603

ทธศักราช 1603 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1603 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1609

ทธศักราช 1609 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1609 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1611

ทธศักราช 1611 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1611 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1612

ทธศักราช 1612 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1612 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1630

ทธศักราช 1630 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 1630 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2391 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2422

ทธศักราช 2422 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1879.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนังบาเยอ

วนหนึ่งของพรมผนังบาเยอ พรมผนังบาเยอ (Bayeux Tapestry; Tapisserie de Bayeux) เป็นผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 70 เซนติเมตรที่ปักเป็นภาพการนำไปสู่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษนำโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1066 และเหตุการณ์ระหว่างสงครามเอง คำบรรยายในพรมผนังบาเยอเป็นภาษาละติน ปัจจุบันผ้าผืนนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส เอกสารฉบับแรกที่กล่าวถึงพรมผนังบาเยออยู่ในเอกสารการสำรวจสิ่งของของมหาวิหารบาเยอเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพรมผนังบาเยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1027 (พ.ศ. 1570) และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1087 (พ.ศ. 1630) ทรงเป็นลูกนอกสมรสของโรเบิร์ตที่ 2 ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและเฮอร์เลวา เดิมทรงมีฐานะเป็นดยุกแห่งนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1066 (พ.ศ. 1609) หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง (Anglo-Saxon period to refer to male members of the royal family) (ราว ค.ศ. 1051 – ค.ศ. 1126) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1051 ในประเทศฮังการีปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัย ผู้เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ และ อากาธา พระเจ้าเอ็ดการ์ เป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือ “Ironside” ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1066 จนถึงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1066 พระเจ้าเอ็ดการ์ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า “เอ็ดการ์ผู้นอกกฎหมาย” (Edgar the Outlaw) หรือ “เอ็ดการ์ที่ 2” ทรงเป็นกษัตริย์เวสต์แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชวงศ์เซอร์ดิค ทรงได้รับการประกาศให้เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษแต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ เมื่อเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัยสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1057 เอ็ดการ์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นรัชทายาทโดยนิตินัยโดยพระอัยกา สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ แต่เอ็ดการ์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะครองราชสมบัติและสามารถป้องกันประเทศที่มึเค้าการรุกรานของฝรั่งเศสโดย ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ดังนั้นเมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตสภาวิททันจึงเลือก ฮาโรลด์ กอดวินสัน ผู้เป็นน้องเขยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเป็นสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จสวรรคตที่ยุทธการเฮสติงส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 เอ็ดการ์จึงได้รับการประกาศให้เป็น สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 โดยสภาวิททันในลอนดอน แต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ พระเจ้าเอ็ดการ์ถูกส่งตัวให้ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ราวหกถึงแปดอาทิตย์ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 14 หรือ 15 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี หรือนักบุญเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี (Edward the Confessor หรือ Saint Edward the Confessor) (ราว ค.ศ. 1003/1004 – 4 มกราคม ค.ศ. 1066) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เวสเซ็กซ์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Edward II of England) (25 เมษายน ค.ศ. 1284 – 21 กันยายน ค.ศ. 1327) พระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ดแห่งคายร์นาร์ฟอน (Edward of Caernarfon) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1284 ที่ปราสาทคาร์นาร์ฟอน เกว็นเน็ด เวลส์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 และ สมเด็จพระราชืนีเอเลเนอร์แห่งคาสตีล ทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีอิสซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 จนจนกระทั่งถูกปลดจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1327 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1327 ที่ปราสาทบาร์คลีย์ กลอสเตอร์เชอร์ อังกฤษ การที่พระองค์ทรงละเลยขุนนางผู้มีอำนาจไปเข้ากับผู้ที่ทรงโปรดปรานทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองและในที่สุดก็ทรงถูกปลดจากการครองราชย์และปลงพระชนม์ในที่สุด พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นที่รู้จักกันในฐานะที่เป็นฆาตกรและข้อกล่าวหาที่เป็นผู้ที่รักเพศเดียวกัน พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกที่ก่อตั้งวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยอ็อกฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงก่อตั้งวิทยาลัยคิงส์ฮอล (King's Hall) เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Henry I of England) (ราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135) เป็นพระเจ้าแผ่นดินของราชอาณาจักรอังกฤษในราชวงศ์นอร์มัน พระเจ้าเฮนรีที่ 1 เสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 ที่เซลบี ในยอร์กเชอร์ ในประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของพระเจ้าวิลเลียมที่เกิดหลังจากทรงได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษ และทรงราชย์หลังจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 2 พระเชษฐาธิราชระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1100 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135 ที่ลียง ลา ฟอเรสต์, นอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน

ผ้าปักบายู (Bayeux Tapestry) แสดงศึกเฮสติงส์และเหตุการณ์ที่นำมาสู่เหตุการณ์ที่ว่า ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ หรือ การรุกรานของชาวนอร์มัน (ภาษาอังกฤษ: Norman conquest of England) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1066 โดยการรุกรานราชอาณาจักรอังกฤษที่นำโดยดยุคแห่งนอร์มังดี และชัยชนะที่ได้รับที่ศึกเฮสติงส์ (Battle of Hastings) ผลของสงครามคือการปกครองของชาวนอร์มันในอังกฤษ เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ หลายอย่างในประวัติศาสตร์อังกฤษ ชัยชนะของชาวนอร์มันทำให้อังกฤษเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างอังกฤษและผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรปโดยการนำเจ้านายนอร์มันเข้ามาปกครองบริหารอังกฤษซึ่งทำให้ลดอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียลง ชัยชนะทำให้เกิดราชวงศ์ที่มีอำนาจมากที่สุดราชวงศ์หนึ่งในยุโรปรวมทั้งการก่อตั้งระบบการปกครองที่มีระเบียบแบบแผน และชัยชนะเปลี่ยนแปลงภาษาและวัฒนธรรมอังกฤษและเป็นพื้นฐานของความเป็นคู่แข่งระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศสที่ต่อเนื่องกันมาเป็นพักๆ ร่วมพันปี.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

มรณสักขีในศาสนาคริสต์

การทรมานของนักบุญเอรัสมุส โดยเดียริค เบาท์ ราวปี ค.ศ. 1458 ในศาสนาคริสต์ มรณสักขี (martyr) หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนที่ถูกทรมานจนตายหรือถูกฆ่าหรือถูกลงโทษให้ประหารชีวิตเพราะความเชื่อ ในศาสนาคริสต์ยุคแรกมีผู้ถูกทรมานและฆ่าด้วยความทรมานต่างๆเช่นถูกขว้างด้วยก้อนหินให้ตาย ถูกตรึงกางเขน ถูกเผาทั้งเป็น และอื่น ๆ คำว่า “martyr” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “พยาน” การฆ่าเช่นนี้เป็นผลจากการพยายามกำจัดคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการ (การเบียดเบียนทางศาสนา) เช่นในสมัยจักรวรรดิโรมันก่อนที่คริสต์ศาสนาจะเป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมาย คริสต์ศาสนิกชนคนแรกที่เป็นมรณสักขีคือนักบุญสเทเฟนที่บันทึกไว้ใน ถูกขว้างด้วยก้อนหินจนถึงแก่ชีวิตเพราะศรัทธาในพระเยซูว่าเป็นพระเมสสิยาห์ และยังคงมีคริสต์ศาสนิกชนอีกหลายคนที่ถูกฆ่านอกจากนักบุญสเทเฟน ตามที่นักบุญเปาโลอัครทูตกล่าวว่ามีการขู่จะฆ่าสาวกของพระเยซูในเวลานั้นหลายครั้ง ในคริสต์ศตวรรษต่อมาก็มีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการอีกหลายครั้งเช่นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตหรือเป็น “พวกนิยมพระสันตะปาปา” (Papists).

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

มง-แซ็ง-มีแชล

มง-แซ็ง-มีแชล (Mont-Saint-Michel) คือวิหารที่ตั้งอยู่บนเกาะโดดเดี่ยวกลางทะเลชายฝั่งตะวันตก บริเวณจังหวัดม็องช์ แคว้นบัส-นอร์ม็องดีของประเทศฝรั่งเศส ได้รับประกาศจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและมง-แซ็ง-มีแชล · ดูเพิ่มเติม »

ยอร์ก

อร์ก (York) เป็นนครที่ยังมีกำแพงเมืองโบราณล้อมรอบที่ตั้งอยู่ในนอร์ธยอร์กเชอร์ในภูมิภาคยอร์กเชอร์และแม่น้ำฮ้มเบอร์ของอังกฤษ นครยอร์กตั้งอยู่ในบริเวณที่แม่น้ำอูสและแม่น้ำฟอสส์ ยอร์กเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และมีบทบาทมาเกือบตลอด 2,000 ปีที่ก่อตั้งมา เมืองยอร์กก่อตั้งเป็นเมืองป้อมปราการเอบอราคุม (Eboracum) ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยอร์กเชอร์

อร์กเชอร์ (Yorkshire) เป็นเทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษที่ตั้งอยู่ทางเหนือของอังกฤษและเป็นเทศมณฑลที่ใหญ่ที่สุดในอังกฤษ เพราะความที่มีขนาดใหญ่ยอร์กเชอร์ก็ต้องผ่านการปฏิรูปหลายครั้ง แต่โดยทั่วไปแล้วก็เป็นอาณาบริเวณที่มีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและยอร์กเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัดยาร์ด คิปลิง

ซฟ รัดยาร์ด คิปลิง (Joseph Rudyard Kipling; 30 ธันวาคม ค.ศ. 1865 - 18 มกราคม ค.ศ. 1936) เป็นกวีและนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองมุมไบ (หรือเมืองบอมเบย์ ในบริติชอินเดีย) เป็นที่รู้จักจากผลงานอันมีชื่อเสียงคือ เมาคลีลูกหมาป่า (The Jungle Book; 1894) และนวนิยายเรื่อง Kim (1901) เขาเขียนบทกวีมากมาย รวมถึงเรื่อง Mandalay (1890) และ Gunga Din (1890) รวมทั้งเขียนเรื่องสั้นอีกหลายเรื่อง งานเขียนเกี่ยวกับเด็กของเขาถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมคลาสสิกสำหรับเด็ก คิปลิงถือเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศอังกฤษในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทั้งงานเขียนร้อยแก้วและร้อยกรอง ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและรัดยาร์ด คิปลิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เวสเซกซ์

อังกฤษราวปี ค.ศ. 800 แสดงให้เห็นบริเวณเวสเซ็กซ์ทางตะวันตกเฉียงใต้; เมอร์เซียตอนกลาง; นอร์ทธัมเบรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ; และ อีสแองเกลีย เอสเซ็กซ์ เค้นท์ และ ซัสเซ็กซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หรือ ราชวงศ์เซอร์ดิค (House of Wessex หรือ House of Cerdic) เป็นราชวงศ์แซ็กซอนที่ปกครองราชอาณาจักรทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าเวสเซ็กซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายใต้การนำของพระเจ้าเซอร์ดิคแห่งเวสเซ็กซ์จนกระทั่งรวมเป็นราชอาณาจักรอังกฤษ จากนั้นราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็ปกครองอังกฤษทั้งหมดที่เรียกว่า “Bretwalda” ตั้งแต่ สมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช ในปี ค.ศ. 871 ไปจนถึงสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1016 การปกครองของราชวงศ์เวสเซ็กซ์มักจะมีผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์จากฝ่ายอื่นโดยเฉพาะจาก บริเวณเดนลอว์ (Danelaw) ที่ปกครองโดยกฎหมายของเดนมาร์ก และต่อมาโดยสเวน ฟอร์คเบียร์ดผู้ยึดราชบัลลังก์ระหว่าง ค.ศ. 1013 ถึง ค.ศ. 1014 ระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรดที่ 2 แห่งอังกฤษ พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดและผู้สืบเชื้อสายของพระองค์ปกครองอังกฤษจนปี ค.ศ. 1042 หลังจากรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าฮาร์ธาคานูท ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็ได้รับการฟื้นฟูอยู่ชั่วระยะหนึ่งระหว่างปี ค.ศ. 1042 ถึงปี ค.ศ. 1066 ภายใต้การปกครองของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ และ สมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน หรือพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 2 ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ก็สิ้นสุดลงไม่นานหลังจากยุทธการเฮสติงส์โดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงผู้ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฮาโรลด์ถูกปลดจากราชบัลลังก์โดยดยุคแห่งนอร์มังดีผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือ “พระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต” (William the Conqueror) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์นอร์มัน.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและราชวงศ์เวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอังกฤษ

ราชอาณาจักรอังกฤษ (Kingdom of England.) เป็นราชอาณาจักรระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและราชอาณาจักรอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวสเซกซ์

ราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ (Wessex หรือ Westseaxe (ภาษาอังกฤษเก่า)) เวสเซ็กซ์ หรือ “แซ็กซอนตะวันตก” เป็นอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนของแซ็กซอนตะวันตกทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนอังกฤษรวมตัวกันเป็นประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ภายใต้ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หลังจากสมัยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชเวสเซ็กซ์ก็มีฐานะเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและราชอาณาจักรเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิบูชา

ในทางสังคมวิทยา ลัทธิบูชา (Cult) หรือลัทธิ หมายถึง กลุ่มคนที่มีความเชื่อและการปฏิบัติตนแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากคนส่วนใหญ่ในสังคม เนื่องจากระบุลงไปได้ยากว่าเบี่ยงเบนถึงระดับไหนจึงเรียกว่าลัทธิ ทำให้ยังมีปัญหาในการนิยามคำดังกล่าวให้ชัดเจน และมักใช้ในความหมายเชิงลบ นักสังคมวิทยาเริ่มให้ความสนใจศึกษาพฤติกรรมทางศาสนาของลัทธิบูชาต่าง ๆ มาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 จนพบว่าหลายกลุ่มถูกตีตราว่าเป็นพวกนอกรีต จนถึงขึ้นมีขบวนการต่อต้านลัทธิเกิดขึ้นภายในศาสนาต่าง.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและลัทธิบูชา · ดูเพิ่มเติม »

สภาวิททัน

ระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนและสภาขุนนาง (คริสต์ศตวรรษที่ 11) สภาวิททัน (ภาษาอังกฤษ: Witan หรือ Witenagemot) เป็นสถาบันทางการเมืองของแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษซึ่งมีบทบาทระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 11 คำว่า “witenagemot” มาจากภาษาอังกฤษเก่าจากคำว่า “การพบปะของผู้อาวุโส” (“wita” คือ ผู้มีปัญญา หรือ ที่ปรึกษา (พหูพจน์ “witan”); “gemot” คือ การประชุม) ที่มาของสภาวิททันมาจากการประชุมของประเพณีของการปกครองของชนเผ่าในสมัยโบราณ ซึ่งต่อมามามีอำนาจและที่ดินมากขึ้น สมาชิกสภานอกจากจะเป็นผู้มีอำนาจและก็ยังรวมนักบวชอาวุโสและข้าราชสำนักของพระมหากษัตริย์ด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและสภาวิททัน · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด เทนนีสัน บารอนเทนนีสันที่ 1

อัลเฟรด เทนนีสัน บารอนเทนนีสันที่หนึ่ง (Alfred Tennyson, 1st Baron Tennyson; 6 สิงหาคม ค.ศ. 1809 - 6 ตุลาคม ค.ศ. 1892) เป็นกวีแห่งราชสำนักอังกฤษ มีความเชี่ยวชาญในการประพันธ์บทกวีแบบสั้น เช่นงานเขียนชุด "In the valley of Cauteretz," "Break, break, break", "The Charge of the Light Brigade", "Tears, idle tears" และ "Crossing the Bar" เป็นต้น โดยมากผลงานของเขาจะมีพื้นฐานมาจากตำนานปรัมปรา เทนนีสันเคยพยายามเขียนบทละครด้วยเช่นกันแต่ไม่ประสบความสำเร็จนัก วลีจากผลงานของเทนนีสันจำนวนมากกลายมาเป็นถ้อยคำที่ใช้ทั่วไปในภาษาอังกฤษ เช่น "nature, red in tooth and claw", "better to have loved and lost", "Theirs not to reason why, / Theirs but to do and die", และ "My strength is as the strength of ten, / Because my heart is pure" ถือได้ว่าเขาเป็นนักเขียนที่มีการนำถ้อยคำในผลงานไปอ้างอิงมากที่สุดเป็นอันดับสองในพจนานุกรมรวมวลีและสำนวนของอ๊อกซฟอร์ด (The Oxford Dictionary of Quotations) รองมาจากวิลเลียม เชกสเปียร.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและอัลเฟรด เทนนีสัน บารอนเทนนีสันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Isabella of France; ค.ศ.1295 - 22 สิงหาคม ค.ศ.1358) บางครั้งถูกบรรยายไว้ว่าเป็น นางหมาป่าแห่งฝรั่งเศส เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งอังกฤษตั้งแต..1326 จนถึง..1330 พระองค์เป็นพระราชบุตรที่รอดชีวิตคนสุดท้องและพระธิดาคนเดียวของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศสกับพระราชินีโจแอนแห่งนาวาร์ พระราชินีอิซาเบลลาเป็นที่เลื่องลือในตอนนั้นในเรื่องของความงาม, ทักษะการทูต และความเฉลียวฉลาด พระราชินีอิซาเบลลามาถึงอังกฤษตอนพระชนมายุ 12 พรรษา ในช่วงยุคแห่งความขัดแย้งที่เติบโตขึ้นระหว่างกษัตริย์กับกลุ่มของบารอนที่มีอำนาจ พระสวามีคนใหม่ของพระองค์มีชื่อเสียงฉาวโฉ่ในเรื่องของการอุปถัมภ์ค้ำชูคนโปรดของพระองค์ เพียซ กาเวสตัน จนมากเกินควร แต่พระราชินีสนับสนุนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดในช่วงปีแรกๆ ทรงสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นไปด้วยดีกับเพียซและใช้ความสัมพันธ์กับระบอบกษัตริย์ฝรั่งเศสของพระองค์ค้ำจุนพลังและอำนาจของตนเอง ทว่าหลังการตายด้วยน้ำมือของพวกบารอนของเพียซ กาเวสตันใน..1312 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดหันไปหาคนโปรดคนใหม่ ฮิวจ์ เดสเปนเซอร์ ผู้ลูก และพยายามเอาคืนพวกบารอน ผลที่ได้คือสงครามเดสเปนเซอร์และยุคแห่งความเก็บกดภายในประเทศทั่วทั้งอังกฤษ อิซาเบลลาไม่สามารถทนกับฮิวจ์ เดสเปนเซอร์ได้และใน..1325 ชีวิตแต่งงานกับพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดของพระองค์ก็มาถึงจุดแตกหัก ทรงเดินทางไปฝรั่งเศสภายใต้การอำพรางว่าเป็นภารกิจทางการทูต ราชินีอิซาเบลลาเริ่มต้นความสัมพันธ์ฉันท์ชู้สาวกับโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ และทั้งสองตกลงใจที่จะปลดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดลงจากตำแหน่งและขับไล่ตระกูลเดสเปนเซอร์ออกไป พระราชินีกลับมาอังกฤษพร้อมกับกองทัพทหารรับจ้างกลุ่มเล็กๆ ใน..1326 รีบเคลื่อนตัวไปทั่วอังกฤษอย่างรวดเร็ว กองทัพของกษัตริย์ทอดทิ้งพระองค์ พระราชนีอิซาเบลลาปลดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดลงจากตำแหน่ง ทรงกลายเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในนามของพระโอรส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 หลายคนเชื่อว่าหลังจากนั้นพระราชินีอิซาเบลลาจัดการฆาตกรรมพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 รัชสมัยของพระราชินีอิซาเบลลากับมอร์ติเมอร์เริ่มแตกเป็นเสี่ยงๆ ส่วนหนึ่งเพราะการใช้จ่ายที่สุรุ่ยสุร่ายของพระองค์ แต่ก็เป็นเพราะการแก้ไขปัญหาระยะยาวที่สำเร็จแต่ไม่เป็นที่นิยมของพระราชินี เช่น สงครามกับสกอตแลนด์ ด้วย ใน..1330 พระโอรสของอิซาเบลลา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ปลดมอร์ติเมอร์ลงจาตำแหน่งบ้าง ทรงยึดเอาอำนาจของพระองค์กลับมาและประหารชีวิตคนรักของพระราชินีอิซาเบลลา ทว่าพระราชินีไม่ได้ถูกลงโทษ และชีวิตที่เหลืออยู่อีกหลายปีของพระองค์มีความสำคัญ—แม้จะไม่ใช่ที่ราชสำนักของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด—จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ใน..1358.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและอิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์

ริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ หรือ ศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซีย (Русская Православная Церковь; Russian Orthodox Church) ในยุคก่อนปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คอร์นวอลล์

อร์นวอลล์ (Cornwall) หรือ แคร์นอว์ (Kernow) เป็นเทศมณฑลแห่งหนึ่งของประเทศอังกฤษภายในสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางปลายแหลมด้านตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร ทางด้านเหนือและด้านตะวันตกจรดทะเลเคลติก ทางด้านใต้จรดช่องแคบอังกฤษ ด้านตะวันออกติดกับเทศมณฑลเดวอนโดยมีแม่น้ำเทมาร์เป็นเส้นแบ่งเขต คอร์นวอลล์มีประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 526,300 คน ในเนื้อที่ 3,563 ตารางกิโลเมตร ศูนย์กลางการปกครองตั้งอยู่ที่เมืองทรูโร ดินแดนบริเวณคอร์นวอลล์เดิมเป็นที่ตั้งหลักแหล่งของชนยุคหินจากนั้นก็เป็นชนยุคสำริดและต่อมาในสมัยยุคเหล็กโดยชาวเคลต์ คอร์นวอลล์เป็นส่วนหนึ่งของบริเวณที่พูดภาษากลุ่มบริทอนิก (Brythonic languages) ที่ตัดขาดจากกลุ่มชนที่พูดภาษากลุ่มเดียวกันในเวลส์หลังจากยุทธการเดอรัม (Battle of Deorham) โดยมักขัดแย้งกับชาวแซกซันแห่งราชอาณาจักรเวสเซกซ์ที่พยายามขยายดินแดนเข้ามา ก่อนที่พระเจ้าแอเทลสตันจะกำหนดเขตแดนระหว่างชาวอังกฤษกับชาวคอร์นิชโดยใช้แม่น้ำทามาร์ คอร์นวอลล์รวมกับอังกฤษเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่การใช้ภาษาคอร์นิชยังคงใช้กันต่อมาจนคริสต์ศตวรรษที่ 18 การฟื้นฟูการใช้ภาษาคอร์นิชอีกครั้งมาเริ่มต้นขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษ 20 และเพิ่มความนิยมมากขึ้นในคริสต์ทศวรรษที่ผ่านมา ในปัจจุบันคอร์นวอลล์ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเนื่องจากอุตสาหกรรมเหมืองดีบุกและอุตสาหกรรมการประมงเสื่อมโทรมลงและต้องหันมาพึ่งพาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหลัก ดินแดนคอร์นวอลล์มีชื่อในทางที่มีภูมิทัศน์เป็นดินแดนสูงที่เป็นทุ่งที่มีแต่พืชพรรณเตี้ย ๆ เติบโตอยู่ที่เรียกว่า "ทุ่งมัวร์" (Moorland) และชายฝั่งทะเลที่น่าดูและอากาศที่อุ่นกว่าบริเวณอื่นของอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวลส์

วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 1825 (ค.ศ. 1282) โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษทรงเข้ายึดครอง ต่อมาเมืองหลวงของเวลส์ถูกย้ายจากคายร์นาร์วอน (ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าชายเวลส์) มาที่คาร์ดิฟฟ์ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โลงหิน

ลงหินของฟาโรห์เมเร็นพ์ทาห์ โลงหิน (ภาษาอังกฤษ: Sarcophagus) หมายถึงที่บรรจุศพที่ส่วนใหญ่แกะหรือตัดจากหิน คำว่า “sarcophagus” มาจากภาษากรีก “σαρξ sarx” ที่แปลว่า “เนี้อสด” และ “φαγειν phagein” ที่แปลว่า “กิน” เมื่อรวมกันเป็น “sarkophagus” จึงหมายถึง “กินเนื้อสด” จากวลี “lithos sarkophagos (λιθος σαρκοφάγος)” กลายมาหมายถึงหินปูนที่เชื่อว่าสามารถทำให้ศพที่บรรจุไว้เน่าสลายไปได้ Columbia University Dept.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและโลงหิน · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันและ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Harold Godwinsonสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันฮาโรลด์ กอดวินสัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »