โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)

ดัชนี พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)

ลตำรวจตรี พระพิจารณ์พลกิจ (9 มกราคม พ.ศ. 2435 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ ดำรงตำแหน่งระหว่างปี..

25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2435พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2502พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)ยศทหารและตำรวจไทยรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยวัดบวรนิเวศราชวรวิหารสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)หลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ)จังหวัดพระนครจังหวัดตราดถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์โรงเรียนตราษตระการคุณโรงเรียนปทุมคงคาเบาหวานเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)1 ธันวาคม17 พฤศจิกายน8 สิงหาคม9 มกราคม

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)

ระศาสนโศภน นามเดิม แจ่ม ฉายา จตฺตสลฺโล เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสังฆสภา และแม่กองธรรมสนามหลวงรูปแรก.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) · ดูเพิ่มเติม »

ยศทหารและตำรวจไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์และตราสัญลักษณ์ของกองทัพไทย ยศทหารและตำรวจไทยตามแบบชาติตะวันตกเริ่มกำหนดให้มียศทหารและตำรวจไทยขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการปรับปรุง และจัดระบบระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินใหม่ตามแบบยุโรปในทุกด้าน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกยศและบรรดาศักดิ์ออกจากกันอย่างเด็ดขาด และโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสำหรับลำดับยศนายทหารบกขึ้นในปี พ.ศ. 2431 กำหนดให้มียศทหารบกตามลำดับชั้นแบบอารยประเทศ ต่อมาเมื่อจัดระเบียบฝ่ายทหารบกเรียบร้อยแล้วจึงให้จัดระเบียบยศทหารเรือ โดยอนุโลมตามแบบกองทัพเรือต่างประเทศเป็นลำดับถัดมา เมื่อมีการจัดตั้งกองทัพอากาศในสมัยรัชกาลที่ 8 ก็ได้จัดระเบียบยศทหารโดยอนุโลมตามแบบกองทัพเรือ ส่วนยศของตำรวจนั้นได้นำรูปแบบยศของกองทัพบกมาปรับใช้โดยอนุโลม ยศต่างๆ ในประเทศไทยสมัยปัจจุบันมีกฎหมายรองรับเป็นพระราชบัญญัติยศทหาร พุทธศักราช 2479 สำหรับยศของสามเหล่าทัพ และพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาต..

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และยศทหารและตำรวจไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธนฺมสาโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม วรวิหาร สังฆมนตรี แม่กองธรรมสนามหลวง เป็นต้น.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2517 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงอยู่ในตำแหน่ง 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2531 สิริพระชันษา 91 ปี.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2503 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 2 ปี 1 เดือน 13 วัน สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2505 สิริพระชันษา 73 ปี.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police Headquarters)เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ)

ลตำรวจเอก หลวงชาติตระการโกศล นามเดิม เจียม ลิมปิชาติ (ได้รับพระราชทานนามสกุลนี้เมื่อครั้งยังเป็นนักเรียนมหาดเล็กหลวง) เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และหลวงชาติตระการโกศล (เจียม ลิมปิชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนตราษตระการคุณ

รงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตราด (Trattrakarnkhun School Trat) เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดตราด ปัจจุบันเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหศึกษ.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และโรงเรียนตราษตระการคุณ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปทุมคงคา

รงเรียนปทุมคงคา (Patumkongka School) เป็นโรงเรียนชายล้วนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 920 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และโรงเรียนปทุมคงคา · ดูเพิ่มเติม »

เบาหวาน

รคเบาหวาน (Diabetes mellitus (DM) หรือทั่วไปว่า Diabetes) เป็นกลุ่มโรคเกี่ยวกับการเผาผลาญอาหารซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน น้ำตาลในเลือดสูงก่อให้เกิดอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและความหิวเพิ่มขึ้น หากไม่ได้รับการรักษา เบาหวานอาจก่อให้เกิดอาการแทรกซ้อนจำนวนมาก ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) และโคม่าเนื่องจากออสโมลาร์สูงที่ไม่ได้เกิดจากคีโตน (nonketotic hyperosmolar coma) ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่ร้ายแรงรวมถึงโรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง, ไตวาย, แผลที่เท้าและความเสียหายต่อตา เบาหวานเกิดจากตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่เพียงพอหรือเซลล์ร่างกายไม่ตอบสนองอย่างเหมาะสมต่ออินซูลินที่ผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง น้ำตาลที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายจะถูกนำไปเปลี่ยนเป็นพลังงานโดยการควบคุมของอินซูลิน ในเมื่ออินซูลินมีปัญหา ทำให้ไม่สามารถดึงน้ำตาลไปใช้ได้ จึงมีน้ำตาลตกค้างในกระแสเลือดมาก ไตจึงขับของเสียออกมาทางปัสสาวะ อันเป็นเหตุให้ปัสสาวะหวานนั้นเอง เบาหวานมีสามชนิดหลัก ได้แก.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และเบาหวาน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) (สกุลเดิม บุนนาค) (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2486) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยูรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและสมเด็จเจ้าพร.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และ17 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 มกราคม

วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)และ9 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ยู่เซ็ก ดุละลัมพะพระพิจารณ์พลกิจพระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมภะ)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »