โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลา

ดัชนี พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลา

มเด็จพระราชินีช็อนด็อกแห่งชิลลา (Queen Seondok of Silla; 선덕여왕 善德女王; ? - ค.ศ. 647; ครองราชย์ ค.ศ. 632 – ค.ศ. 647) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถผู้ปกครองรัชกาลที่ 27 แห่งอาณาจักรชิลลา หนึ่งในสามอาณาจักรของเกาหลี (Three Kingdoms of Korea) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วยเวลาแห่งความรุ่งเรืองสมัยหนึ่งของอาณาจักรชิลล.

20 ความสัมพันธ์: ชิลลาช็อมซ็องแดพ.ศ. 1175พ.ศ. 1177พ.ศ. 1190พระสนมมีซิลพระนางชินด็อกแห่งชิลลาพระเจ้ามูพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลาพระเจ้าอึยจามหายานราชวงศ์ถังราชวงศ์โชซ็อนราชวงศ์โครยอลัทธิขงจื๊อศาสนาพุทธสมเด็จพระราชินีนาถอาณาจักรแพ็กเจคิม ยูชินฉางอาน

ชิลลา

อาณาจักรชิลลา (신라; ฮันจา: 新羅, 57 ปีก่อนคริสต์ศักราช — ค.ศ. 935) เป็นหนึ่งในอาณาจักรยุคสามก๊กแห่งเกาหลีสถาปนาโดยพระเจ้าฮย็อกกอเซเมื่อ 57 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 486) ซึ่งอาณาจักรชิลลาเกิดจากการรวมตัวกันของอาณาจักรจินฮันกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้อาณาจักรเติบโตขึ้นแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นอาณาจักรชิลลา อาณาจักรชิลลาต้องทำสงครามกับอีก 3 อาณาจักรใหญ่คืออาณาจักรโคกูรยอ อาณาจักรแพ็กเจ และอาณาจักรคายา อยู่นานกว่า 500—600 ปีก่อนที่พระเจ้ามุนมูกษัตริย์องค์ที่ 30 แห่งอาณาจักรชิลลาซึ่งครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ช็อมซ็องแด

็อมซ็องแด เป็นหอดูดาวเก่าแก่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในทวีปเอเชีย ปัจจุบันอยู่ในเมืองคย็องจู ประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและช็อมซ็องแด · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1175

ทธศักราช 1175 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพ.ศ. 1175 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1177

ทธศักราช 1177 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพ.ศ. 1177 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1190

ทธศักราช 1190 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพ.ศ. 1190 · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมมีซิล

ระสนมมิชิล (Lady Mishil) คาดว่ามีชีวิตอยู่ในช่วง..

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพระสนมมีซิล · ดูเพิ่มเติม »

พระนางชินด็อกแห่งชิลลา

มเด็จพระราชินีชินด็อกแห่งซิลลา (ครองราชย์ ค.ศ. 647 - ค.ศ. 654) สมเด็จพระราชินีแห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี กษัตริย์ลำดับที่ 28 แห่งอาณาจักรซิลลา และเป็นราชินีพระองค์ที่สองที่ปกครองของต่อจากสมเด็จพระราชินีชอนด็อกแห่งชิลลา ในรัชสมัยของพระราชินีชินด็อกแห่งซิลลา ชิลลาทำสงครามกับแพกเจ โดยได้รับการสนับสนุนจาก ราชวงศ์ถัง พระนางสามารถสร้างความเข้มแข็งให้ชิลลาและเพิ่มความในการป้องกันมากขึ้นและสร้างความความสัมพันธ์กับจีนให้มั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพยายามของพระองค์จึงเป็นผู้ที่วางรากฐานสำหรับการรวมกันของทั้งสามอาณาจักร คืออาณาจักรชิลลา, อาณาจักรแพกเจและอาณาจักรโคกูรยอ.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพระนางชินด็อกแห่งชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามู

ระเจ้ามู (Mu) (600 - 641, ? - 641) กษัตริย์องค์ที่ 30 แห่งอาณาจักรแพกเจหนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าวีด็อกและพระมเหสียอนกาโม.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพระเจ้ามู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา

ระเจ้ามูยอล (ครองราชย์ ค.ศ. 654 - ค.ศ. 661) กษัตริย์ลำดับที่ 29 แห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี พระเจ้ามูยอล มีพระนามเดิมว่า คิม ชุน ชู เป็นพระโอรสของ องค์หญิงชอนมยอง พระธิดาองค์ใหญ่ในพระเจ้าจินพยองพระราชาลำดับที่ 26 กับ คิม ยอง ซู พระโอรสในพระเจ้าจินจีพระราชาลำดับที่ 25 ทำให้องค์ชายคิมชุนชูเป็นองค์ชายที่เป็นกระดูกบริสุทธิ์หรือ ซองโกล (Seonggol) พระเจ้ามูยอลขึ้นครองราชย์ต่อจาก พระนางชินด็อกแห่งชิลลา และได้อภิเษกกับมุนมยอง น้องสาวของคิม ยูชิน ที่ต่อมาได้เป็นแม่ทัพแห่งอาณาจักรซิลลาเป็นกำลังสำคัญที่ช่วยโอรสของพระองค์คือเจ้าชายคิม บย็อพมินรวบรวมทั้งสามก๊กก่อตั้งเป็นอาณาจักรและสถาปนาพระองค์เป็น พระเจ้ามุนมู พระเจ้ามูยอลมีความต้องการที่จะรวม 3 แคว้นให้เป็นหนึ่งเดียวก่อนพระองค์จะครองราชย์ได้กราบทูลองค์ราชินีชินด็อกเพื่อไปยัง ราชวงศ์ถัง เพื่อผูกความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศซึ่งขณะนั้นชิลลาต้องเผชิญกับการสู้รบกับแพคเจพระองค์ได้เข้าพบกับฮ่องเต้ถังไท่จงและได้ทำสัญญาเมื่อไรที่ชิลลาจะยกทัพไปยังแพคเจพระองค์จะส่งทหารจากถังไปช่วยชิลลาแต่ในขณะนั้นพระองค์ต้องเจอกับแรงกดดันจากเหล่าขุนนางแห่งชิลลาเนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการที่ต้องพึ่งราชวงศ์ถังในการทำสงครามทั้งนี้รวมถึงแม่ทัพคิมยูชินซึ่งทั้งคู่จึงมีความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีในเวลานั้นอันผลจากในขณะนั้นพระองค์ยังเป็นเพียงแค่ขุนนางเท่านั้นทั้งยังเอาใจถังโดยการให้ราชสำนักชิลลาแต่งชุดขุนนางถังและที่สำคัญยังใช้ศักราชเป็นของถังทำให้เหล่าขุนนางคิดว่าคิมชุนชู (หรือพระเจ้ามูยอล) มีการทำสัญญาลับ ๆ เพื่อที่จะยกชิลลาให้ถังแต่ด้วยความที่องค์ราชินีชินด็อกเชื่อใจพระองค์ จึงร่วมกันผลักดันนโยบายของคิมชุนชู จนในปี..654 คิมอัลชอน ขุนนางผู้ใหญ่ที่เป็นเชื้อพระวงศ์ได้จัดการประชุมผู้นำเหล่าจินกอตอนแรกนั้นข้าราชบริพารได้แนะนำให้คิมอัลชอนขึ้นครองราชย์ต่อแต่เนื่องด้วยอัลชอลได้ร่วมมือกับทาง โคกูรยอ เพื่อร่วมกันกำจัดถังและคิมชุนชูทำให้แม่ทัพใหญ่อย่างคิมยูชินได้โต้แย้งไม่ยอมรับการเป็นผู้สำเร็จราชการแต่ด้วยอัลชอนสำนึกผิดต่อเหตุการณ์จึงปฏิเสธไปทำให้คิมชุนชูได้ขึ้นครองราชย์ต่อและได้เปลี่ยนพระนามเป็น พระเจ้ามูยอล เมื่อคิมชุนชูขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามูยอลได้ยกพระธิดาองค์ที่ 3 ของตนเองให้แต่งงานกับคิมยูชินที่อยู่ในวัย 59 ปีทั้งนี้เพื่อเป็นการสานสัมพันธไมตรีเนื่องจากขณะนั้นอำนาจทางการทหารส่วนมากอยู่ภายใต้อำนาจของคิมยูชิน ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่าหากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้วและรวมถึงการรวม 3 อาณาจักรแล้วหากถังเข้าแทรกแซงทางการเมืองหรือเป็นปรปักษ์ต่อ 3 อาณาจักรคิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันทีด้วยเหตุนี้ทำให้คิมยูชิน เข้าใจในพระอง..

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอึยจา

พระเจ้าอึยจา (Uija of Baekje) กษัตริย์องค์ที่ 31 และองค์สุดท้ายแห่ง อาณาจักรแพกเจ เป็นพระราชโอรสองค์โตใน พระเจ้ามู และพระราชินีซันฮวาซึ่งเป็นองค์หญิงของอาณาจักรชิลลา ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาทเมื่อปี พ.ศ. 1175 เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 1184 พระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาพระเจ้าอึยจาครองราชย์ได้ 19 ปีก็สวรรคตในปี พ.ศ. 1203 พร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรแพกเจ หมวดหมู่:ราชวงศ์แพ็กเจ.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและพระเจ้าอึยจา · ดูเพิ่มเติม »

มหายาน

มหายาน เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย, เนปาล, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม, มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย จุดเด่นของนิกายนี้อยู่ที่แนวคิดเรื่องการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์สร้างบารมีเพื่อช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยเหตุที่มีผู้นับถืออยู่มากในประเทศแถบเหนือจึงเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า อุตตรนิกาย ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู้นับถือนิกายมหายาน.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและมหายาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและราชวงศ์ถัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแพ็กเจ

อาณาจักรแพ็กเจ (เกาหลี:백제, ฮันจา: 百濟; 18 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. 660) สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอนจอพระราชโอรสองค์เล็กในจักรพรรดิดงเมียงยองในพุทธศตวรรษที่ 13 เมื่อจักรวรรดิโคกูรยอพยายามจะกลืนอำนาจของอาณาจักรพูยอ พระเจ้าอนจอได้นำกำลังคนกลุ่มหนึ่งแยกตัวออกมาจากจักรวรรดิโคกูรยอลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลอำนาจของอาณาจักรมาฮัน โดยข้ามแม่น้ำฮันมา เลือกชัยภูมิอยู่ใกล้ๆกับที่เป็นโซล เมืองหลวงของเกาหลีใต้ในปัจจุบัน เพื่อตั้งเมืองใหม่ชื่อ วิเรซอง แล้วสถาปนาเป็นอาณาจักรซิปเจหลังสิ้นรัชกาลของพระองค์มีกษัตริย์ปกครองต่อมาอีกหลายพระองค์ จนถึงกษัตริย์รัชกาลที่ 31 ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายคือพระเจ้าอึยจา ก็พ่ายแพ้แก่กองทัพพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยกองทัพชิลลาและกองทัพถังของจีนในปี ค.ศ. 660 (พ.ศ. 1203) ทำให้อาณาจักรแพ็กเจที่ปกครองมานานถึง 678 ปีก็ถึงกาลอวสาน.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและอาณาจักรแพ็กเจ · ดูเพิ่มเติม »

คิม ยูชิน

หลุมฝังศพของคิมยูชินที่ คยองจู คิมยูชิน (김유신,Kim Yushin, 595-673 เดือน 9) เกิดเมื่อปี ค.ศ. 595เป็นลูกของคิมซอฮย็อน และ มานมยอง ปู่ทวดของเขาคือ คิมแฮ กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรคายา ส่วนมานมยองแม่ของเขาก็เป็นถึงลูกสาวของซุกฮึลจงน้องชายของกษัตริย์จินฮึง การที่มานมยอง ลูกสาวของ ซุกฮึลจง ซึ่งถือเป็นเชื้อสายกษัตริย์ของอาณาจักรชิลลามาแต่งงานกับคิมซอฮย็อนเลือดเนื้อเชื้อไขของกษัตริย์แห่งอาณาจักรคายา ภายหลังได้ก้าวขึ้นสู่ผู้มีอำนาจทางการทหารสูงสุดของอาณาจักรชิลลาและเป็นแม่ทัพผู้มีบทบาทสำคัญในการรวบรวมแผ่นดินเกาหลีของอาณาจักรชิลลาในรัชสมัย พระเจ้ามูยอล และ พระเจ้ามุนมู.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและคิม ยูชิน · ดูเพิ่มเติม »

ฉางอาน

ฉางอาน ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียงฮัน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Chang'an) เป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศจีน โดยมีราชวงศ์ 13 ราชวงศ์ที่เลือกนครฉางอานเป็นเมืองหลวง ปัจจุบันคือเมืองซีอาน ซึ่งเปลี่ยนชื่อในสมัยราชวงศ์ชิง ชื่อ ฉางอาน มีความหมายว่า "ความสงบสุขชั่วนิรันดร์" (Perpetual Peace) สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์สุย ในยุคนั้นเรียกว่าเมืองต้าซิง เมื่อถึงราชวงศ์ถังจึงเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองฉางอาน เมืองนี้ใช้ระยะเวลาในการสร้างเกือบ 100 ปี แต่ความใหญ่โตมโหฬารกลับปรากฏในตอนท้าย เมืองฉางอานในยุคนั้นเมื่อเทียบกับเมืองซีอานในอดีตแล้วยังนับว่าใหญ่กว่า 10 เท่า ถือว่าเป็นเมืองระดับนานาชาติเลยก็ว่าได้ พื้นที่ส่วนหนึ่งของฉางอาน ภายในเมืองฉางอานมีพระราชวังเป็นที่ประทับขององค์พระมหากษัตริย์และเป็นที่บริหารราชภารแผ่นดิน ทางทิศใต้ของเขตพระราชวังใช้เป็นที่ทำงานของขุนนางทั้งหลาย ถนนหนทางภายในตัวเมืองฉางอานและที่พักอาศัย ถูกออกแบบคล้ายกระดานหมายรุก เป็นระเบียบเรียบร้อย ถนนหลายสายภายในเมืองมีความกว้างกว่า 100 เมตร หนึ่งในนั้น ถนน "จูเชว่" ถือได้ว่าเป็นถนนที่กว้างมากที่สุด สิ่งเหล่านี้แสดงถึงความรุ่งเรืองของบ้านเมือง เมื่อเข้าสู่ราชวงศ์หมิงและชิงก็ได้นำเอาแบบอย่างการสร้างเมืองฉางอานไปใช้ในการสร้างเมืองปักกิ่ง เมืองฉางอานมีส่วนที่ใช้เป็นที่พักอาศัยและส่วนที่ใช้ทำมาค้าขาย แบ่งเป็นสัดส่วน ภายในส่วนที่ใช้ทำมาค้าขาย มีร้านค้ามากมาย เรียกร้านค้าเหล่านี้ว่า "ห้าง" อาทิ ห้างขายเนื้อ ห้างขายปลา ห้างขายยา ห้างผ้า ห้างเหล็ก ห้างเงินทอง ฯลฯ ว่ากันว่าแค่เพียงส่วนค้าขายทางตะวันออก ก็มีร้านค้ากว่า 200 แห่ง สิ่งของหายากจากทั่วทุกสารทิศ สามารถหาซื้อได้ในเมืองฉางอาน เมืองฉางอานยังเป็นเมืองศูนย์กลางทางวัฒนธรรม มีกิจกรรมความบันเทิงต่าง ๆ มากมาย อาทิ การร้องรำทำเพลง การแข่งขันชนไก่ ชักเย่อ โล้ชิงช้า ฯลฯ จิตกร นักอักษรศิลป์ กวีที่มีชื่อเสียงต่างก็พักอาศัยอยู่ในเมืองฉางอาน ผลงานของผู้คนเหล่านี้ทำให้เมืองฉางอานมีสีสันมากขึ้น เมืองฉางอานยังเป็นเมืองที่วัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกมาบรรจบกัน ในยุคนั้นประเทศต่าง ๆ กว่า 70 ประเทศ ได้มาเจริญสัมพันธไมตรีกับราชวงศ์ถัง เส้นทางสายไหมมีความเจริญสูงสุด ประเทศญี่ปุ่น สยาม และประเทศอื่น ๆ อีกมากมาย ต่างส่งคนมาศึกษาเล่าเรียน พ่อค้าจากเปอร์เซีย (อิหร่านปัจจุบัน) กับทาจิกส์ (ส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกกลาง) ต่างมุ่งหน้ามาทำการค้าขายที่เมืองฉางอาน ในเวลานั้นเมืองฉางอานมีประชากรถึง 1 ล้านคน รวมกับชาวต่างชาติที่ย้ายมาพำนักอีกว่าหมื่นคน เมืองฉางอานไม่เพียงแต่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม แต่ยังกลายเป็นเมืองระดับนานาชาติที่มีชื่อเสียงเมืองหนึ่งอีกด้ว.

ใหม่!!: พระนางช็อนด็อกแห่งชิลลาและฉางอาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Queen Seondeok of Sillaพระราชินีช็อนด็อกแห่งชิลลาพระราชินีซอนด๊อกพระราชินีซอนด๊อกแห่งซิลลา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »