โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่

ดัชนี ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่

ไม่มีคำอธิบาย.

7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1932พ.ศ. 1940พราหมณ์ราชวงศ์อาหมสามเจ้าผู้พรองท้าวคำถี่เจ้าฟ้าเสือดัง

พ.ศ. 1932

ทธศักราช 1932 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และพ.ศ. 1932 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1940

ทธศักราช 1940 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และพ.ศ. 1940 · ดูเพิ่มเติม »

พราหมณ์

ราหมณ์ (อักษรเทวนาครี: ब्राह्मण) เป็นวรรณะหนึ่งในแนวคิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น วิปฺระ, ทฺวิช, ทฺวิโชตฺตมะ หรือ ภูสร เป็นต้น พราหมณนั้นเป็นวรรณะหนึ่งในสี่วรรณะของสังคมอินเดีย เป็นผู้สืบทอดวิชาความรู้ ในคัมภีร์ ไตรเวทพิธีกรรม จารีต ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรม และคติความเชื่อต่าง ๆ ให้สืบทอดต่อไป หรือไม่สืบทอดก็ได้โดยใช้ชีวิตตามปกติชนคนธรรมดาทั่วไป คงไว้ให้ผู้ใดในตระกูลสืบทอดแทน เป็นผู้มีสิทธิ์เลือก แบ่งแยกเป็นนิกายคือ พวกไศวนิกาย จะถือเพศ นุ่งขาว ห่มขาว ไว้มวยผม ถือศีล จริยาวัตรของพราหมณ์ มีครอบครัวได้ อยู่บ้าน หรือ เทวะสถาน ประจำลัทธิ นิกายแห่งตน อีกนิกายหนึ่งคือ ไวษณวะนิกาย จะไว้ผมเปียหรือมวยผม ถือเพศพรหมจรรย์ กินมังสวิรัติ ไม่ถูกต้องตัวสตรีเพศ นุ่งห่มสีขาว หรือสีต่าง ๆตามวรรณะนิกาย และอาศัยอยูในเทวสถาน ในการบวชเป็นพราหมณ์หลวง จะต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุมพราหมณ์ ในทำเนียบพราหมณ์หลวง โดยผู้บวชจะนำของมาถวายพราหมณ์ผู้ใหญ่ แล้วพราหมณ์ผู้ใหญ่จะมอบสายสิญจน์รับพราหมณ์ใหม่ หรือทวิชาติ ซึ่งหมายถึงการเกิดครั้งที่ 2 ซึ่งการบวชพราหมณ์ไม่ได้มีกฎปฏิบัติจำนวนมากเหมือนกับการบวชพระ โดยถือศีล 5 เป็นศีลปฏิบัติ สามารถแต่งกายสุภาพเหมือนผู้ชายทั่วไปในเวลาปกติ และสวมเครื่องแบบเป็นเสื้อราชปะแตนและโจงกระเบนสีขาวในยามประกอบพิธีกรรม รวมถึงสามารถมีภรรยาเพื่อมีทายาทสืบตระกูลพราหมณ์ต่อไปได้ กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามบางประการที่พราหมณ์ไม่สามารถทำได้ อาทิ ห้ามรับประทานเนื้อวัว ปลาไหล และงูต่างๆ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบริวารของเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และห้ามตัดแต่งผม ต้องไว้ผมยาวแล้วมุ่นเป็นมวยไว้ที่ท้ายทอย เพราะตามหลักศาสนาเชื่อว่าบริเวณดังกล่าวเป็นที่อยู่ของเทวดา สำหรับกิจประจำวันที่พราหมณ์ต้องทำ คือนมัสการพระอาทิตย์ตามเวลาเช้า กลางวัน เย็น เพื่อเป็นการนำจิตวิญญาณกลับไปสู่พรหม กล่าวคือ การไหว้พระอาทิตย์จะนำแสงสว่างให้เกิดในปัญญานำไปสู่การหลุดพ้น และจะมีการสาธยายพระเวท ซึ่งถือเป็นคัมภีร์หลักในศาสนาพราหมณ์ ประกอบด้วย ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวท ใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวท ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ ปฏิบัติต่อเทพด้วยความศรัทธา ปัจจุบันพราหมณ์หลวงจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับ พระราชพิธีต่างๆ ของพระมหากษัตริย์ ในการอัญเชิญพระผู้เป็นเจ้าและทวยเทพตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มาเป็นสักขีในการกระทำพิธีนั้นๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแด่องค์พระมหากษัตริย์ ราชบัลลังก์ และบ้านเมือง โดยงานพระราชพิธีจะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ งานประจำปี ได้แก่ งานเฉลิมพระชนมพรรษา วันฉัตรมงคล วันพืชมงคล การเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต เป็นต้น และงานตามวาระ อาทิ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อปีที่แล้ว เป็นต้น หน้าที่ของพราหมณ์หลวงคือการรักษาวัฒนธรรมในการประกอบพระราชพิธีถวายตามโอกาสต่างๆ แต่ก็สามารถรับประกอบพิธีอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานพระราชพิธีได้ เรียกว่า รัฐพิธี เป็นงานที่ถูกเชิญมาจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น วางศิลาฤกษ์ ยกเสาเอก งานวันเกิด งานตัดจุก ตั้งศาลพระภูมิ ซึ่งจะมีเงินทักษิณามอบให้พราหมณ์ตามศรัทธา ทั้งนี้ ปัจจุบันมีตระกูลพราหมณ์ที่ปฏิบัติหน้าที่ถวายงานพระราชพิธี หรือที่เรียกกันว่า พราหมณ์หลวง ซึ่งสืบสายมาจากบรรพบุรุษทั้งสิ้น 7 ตระกูล ได้แก่ สยมภพ โกมลเวทิน นาคะเวทิน วุฒิพราหมณ์ ภวังคนันท์ รัตนพราหมณ์ และรังสิพราหมณกุล.

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อาหม

ราชวงศ์อาหม (ค.ศ. 1228-1826) ปกครองอาณาจักรอาหม ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอัสลัมมาเป็นเวลาเกือบ 600 ปี ราชวงศ์อาหมก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า โดยทรงอพยพออกจากเมืองมาวหลวง จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลังจากการรุกรานอัสลัมของพม่าและการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอังกฤษโดยบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากสนธิสัญญายันดาโบ ในปี..

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และราชวงศ์อาหม · ดูเพิ่มเติม »

สามเจ้าผู้พรอง

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า ปฐมกษัตริย์อาหม ผู้วางรากฐานตำแหน่งขุนนางผู้พรอง สามเจ้าผู้พรองฉัตรทิพย์ นาถสุภา และเรณู วิชาศิลป์, หน้า 116 (พรอง แปลว่า "ปกครอง") เป็นตำแหน่งขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของอาณาจักรอาหม มีทั้งหมดสามตำแหน่งจึงเรียกกันว่า "สามเจ้าผู้พรอง" เรียงตามลำดับดังนี้.

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และสามเจ้าผู้พรอง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวคำถี่

ท้าวคำถี่ เป็นโอรสองค์ที่สามของสุขางฟ้า ได้รับการสถาปนาจากขุนนางให้เป็นกษัตริย์เมื่อปี พ.ศ. 1923 เพราะไม่สามารถหาบุคคลที่สมควรที่จะเป็นกษัตริย์ได้.

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และท้าวคำถี่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าเสือดัง

งฟ้า เป็นราชโอรสที่ติดมากับพระมเหสีรองของท้าวขำติ ซึ่งถูกลอยแพมาตามแม่น้ำพรหมบุตร กุนาภิรามกล่าวว่า กษัตริย์องค์นี้ทรงกระทำตามพระทัยตนเอง แต่ไม่มีตำนานบุรานชิ ฉบับใดยืนยันคำกล่าวนี้ รัชกาลของพระองค์เต็มไปด้วยเหตุการณ์ต่างๆ และพระองค์เองก็เคยออกนำหน้ากองทัพในการสู้รบอย่างน้อยที่สุดหนึ่งครั้ง.

ใหม่!!: ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวคำถี่และเจ้าฟ้าเสือดัง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ผู้สำเร็จราชการแทนท้าวขำติ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »