โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การประทับฟ้อง

ดัชนี การประทับฟ้อง

thumb การประทับฟ้อง (acceptance หรือ admission) นั้น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "รับฟ้องไว้พิจารณาต่อไป" กล่าวคือ เป็นการที่ศาลมีคำสั่งให้รับคำฟ้องไว้พิจารณา หลังจากที่ศาลพิเคราะห์แล้ว ซึ่งอาจจะโดยไต่สวนมูลฟ้องแล้ว ลงความเห็นว่า คดีที่ฟ้องนั้นมีมูลพอที่จะว่ากล่าวตัดสินให้ได้ คำว่า "ประทับฟ้อง" ในภาษาไทยนั้น มีเบื้องหลังมาจากวิธีพิจารณาคดีตามกฎหมายไทยแต่โบราณ คือ พระธรรมศาสตร์ หรือที่ในสมัยต่อมาได้รับการประชุมเข้าเป็น ประชุมกฎหมายรัชกาลที่ 1 ซึ่งมาตรา 1 แห่งพระธรรมนูญ ในประชุมกฎหมายดังกล่าว บัญญัติว่าราชบัณฑิตยสถาน, 2553: 58.

9 ความสัมพันธ์: พระธรรมศาสตร์พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542กฎหมายตราสามดวงกระสือกระหังศาลสำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะกละคำสั่งศาล

พระธรรมศาสตร์

ระธรรมศาสตร์ หรือ มนูธรรมศาสตร์ ถือเป็นคัมภีร์กฎหมายเก่าแก่ของอินเดียโบราณ ตามแนวคิดของฮินดู ทั้งยังถือเป็นคัมภีร์กฎหมายดังเดิมที่ไทยเรายึดถือมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยผ่านคัมภีร์ภาษามอญอีกทอดหนึ่ง.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและพระธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

หน้าปกพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: การประทับฟ้องและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ. 2347 โปรดให้เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง” ให้อาลักษณ์ชุบเส้นหมึกสามชุด แต่ละชุดประทับตรา 3 ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู..1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปี..

ใหม่!!: การประทับฟ้องและกฎหมายตราสามดวง · ดูเพิ่มเติม »

กระสือ

กระสือ กระสือ เป็นชื่อผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้หญิงและชอบกินของโสโครก คู่กับ "กระหัง" ซึ่งเข้าสิงในตัวผู้.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและกระสือ · ดูเพิ่มเติม »

กระหัง

กระหัง หรืออีกชื่อหนึ่งเรียกว่า กระหาง เป็นผีตามความเชื่อของคนไทย เป็นผีผู้ชาย คู่กับผีกระสือ ซึ่งเป็นผู้หญิง เชื่อกันว่าผู้ที่เป็นผีกระหังนั้น จะเป็นผู้ที่เล่นไสยศาสตร์ เมื่ออาคมแกร่งกล้าไม่สามารถควบคุมได้ก็จะเข้าตัว กลายเป็นผีกระหังไป คติความเชื่อเรื่องผีกระหังมีขึ้นเมื่อใดไม่เป็นที่ทราบ และไม่ปรากฏในพระอัยการลักษณะรับฟ้องในกฎหมายตราสามดวง ผีกระหัง จะบินได้ในเวลากลางคืน จะใช้กระด้งฝัดข้าวติดกับแขนแทนปีก และใช้สากตำข้าวหรือสากกระเบือผูกติดกับขา แทนหาง หรือขา ออกหากินของโสโครก เช่นเดียวกับ ผีกระสือ หรือผีโพง.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและกระหัง · ดูเพิ่มเติม »

ศาล

ล เป็นองค์กรสาธารณะที่มีหน้าที่ในการวินิจฉัยข้อพิพาทเกี่ยวกับพลเมือง แรงงาน กิจการ และอาชญากรรมภายใต้กฎหมาย ในกฎหมายทั่วไปและกฎหมายพลเมือง ศาลนับว่าเป็นทางออกของข้อพิพาทต่างๆ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ทุกๆ คนมีสิทธิ์ที่จะนำข้อกล่าวหามาใช้ในศาลได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ถูกกล่าวหาก็มีสิทธิ์ที่จะแก้ต่างในศาลได้เช่นกัน.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและศาล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

จะกละ

กละ เป็นผีชนิดหนึ่งของประเทศไทย มีลักษณะคล้ายแมวป่า เป็นผีที่หมอผีเลี้ยงเอาไว้ เพื่อใช้ในการทำร้ายศัตรูหรือคู่อริ ทางภาคใต้เรียกกันว่า ผีล้วง ลักษณะโดยทั่วไปจะเหมือนกับแมวบ้านทุกประการ แต่ขนจะมีสีดำสนิทกระด้างไม่มีเงา ขนจะทวนไปด้านหน้าฟูฟ่อง ดวงตาสีแดงเลือ.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและจะกละ · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งศาล

ำสั่งศาล (court order หรือ court ruling) เป็นคำประกาศอย่างเป็นทางการของผู้พิพากษาหรือองค์คณะผู้พิพากษา ที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณีในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี การอุทธรณ์ การฎีกา หรือกระบวนการอื่น ๆ ในทางยุติธรรม โดยกำหนดให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดกระทำการหรืองดเว้นกระทำการใด ๆ ตามที่ศาลสั่ง ซึ่งในบางท้องที่ในโลกนี้ คำสั่งศาลต้องมีการลงลายมือชื่อของผู้พิพากษาที่สั่ง มีการประทับตราประจำตำแหน่งของเขา และอาจต้องประกาศต่อสาธารณะหรือลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ราชการ เช่น ราชกิจจานุเบกษา ด้ว.

ใหม่!!: การประทับฟ้องและคำสั่งศาล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การรับฟ้องรับฟ้องประทับฟ้อง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »