โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ดัชนี ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช หลังการสวรรคต มีประเทศต่างๆและองค์การระดับนานาชาติส่งสาส์นแสดงความเสียใจเป็นจำนวนมาก.

95 ความสัมพันธ์: ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟบารัก โอบามาบางกอกโพสต์บิล คลินตันชินโซ อาเบะบุนยัง วอละจิดฟร็องซัว ออล็องด์พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดาพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทพัก กึน-ฮเยพัน กี-มุนกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐลี เซียนลุงวลาดีมีร์ ปูตินวันพฤหัสบดีสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีดสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุกสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูดสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีแม็กซิมาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุกสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมีสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน...สยามมกุฎราชกุมารสหพันธ์แบดมินตันโลกสี จิ้นผิงหลี่ เค่อเฉียงอองซาน ซูจีอับดุล ฮามิดอังเกลา แมร์เคิลอิลฮัม อะลีเยฟฮิลลารี คลินตันผู้สำเร็จราชการแคนาดาจอห์น คีย์จอห์น เคร์รีจัสติน ทรูโดทองลุน สีสุลิดทีนจอดอนัลต์ ตุสก์ตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานีประยุทธ์ จันทร์โอชาประณัพ มุขัรชีประเทศลาวประเทศไทยนาวาซ ชาริฟนาจิบ ราซักนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟนเรนทระ โมทีแมลคัม เทิร์นบุลล์แอชตัน คาร์เตอร์โรดรีโก ดูแตร์เตโรงพยาบาลศิริราชโจโก วีโดโดไช่ อิงเหวินเกาะฮ่องกงเศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์เจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏานเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีเจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนียเทเรซา เมย์เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน13 ตุลาคม16 ตุลาคม5 มีนาคม6 มีนาคม ขยายดัชนี (45 มากกว่า) »

ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ

ัฟคัต มีโรโนโวนิช มีร์ซีโยเยฟ (เกิด 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักการเมืองอุซเบกที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีของอุซเบกสถานตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกโพสต์

งกอกโพสต์ (Bangkok Post) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย ของบางกอกโพสต์ บางกอกโพสต์ ตีพิมพ์และออกจำหน่ายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย บริษัท โพสต์พับลิชชิ่ง จำกัด ซึ่งบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ และถือว่าเป็นผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ฉบับนี้คือ นาวาตรีอเล็กซานเดอร์ วิลเลี่ยม แมคโดนัล นายทหารชาวอเมริกัน ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เพื่อปฏิบัติการร่วมกับขบวนการเสรีไทย ทั้งนี้ ก่อนที่จะรับราชการทหารนั้น นาวาตรีแมคโดนัล มีอาชีพเป็นนักหนังสือพิมพ์มาก่อน จากนั้น จึงขายกิจการแก่นักลงทุนชาวเยอรมัน ต่อมา ลอร์ดทอมสัน ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ลอนดอนไทม์ และหัวอื่นๆ อีกกว่า 150 ฉบับทั่วโลก ได้เข้าซื้อหุ้นของบริษัทฯ เกือบทั้งหมด พร้อมเข้าบริหาร จนกระทั่งเดือนธันวาคม พ.ศ. 2527 คณะผู้บริหารมีมติให้นำบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและบางกอกโพสต์ · ดูเพิ่มเติม »

บิล คลินตัน

วิลเลียม เจฟเฟอร์สัน คลินตัน (William Jefferson Clinton) หรือรู้จักในชื่อ บิล คลินตัน (Bill Clinton) เกิดวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เป็นประธานาธิบดีคนที่ 42 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่างค.ศ. 1993 - ค.ศ. 2001 ก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐอาร์คันซอ เขาแต่งงานกับนางฮิลลารี ร็อดแฮม คลินตัน (อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ) ทั้งคู่มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ เชลซี และลงเล่นการเมืองสังกัดพรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและบิล คลินตัน · ดูเพิ่มเติม »

ชินโซ อาเบะ

นโซ อาเบะ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 57 ของประเทศญี่ปุ่นและเป็นคนญี่ปุ่นที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที 2 คนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อาเบะเกิดที่เมืองนะงะโตะ จังหวัดยะมะงุชิ และได้ศึกษาด้านรัฐศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยเซเก และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา ภายหลังจบการศึกษา ได้ทำงานกับบริษัท โกเบสตีล และได้ลาออกในปี 2525 เพื่อเข้ามาเล่นการเมือง เมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและชินโซ อาเบะ · ดูเพิ่มเติม »

บุนยัง วอละจิด

ลทหาร บุนยัง วอละจิด (ບຸນຍັງ ວໍລະຈິດ; เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2481) เป็นเลขาธิการพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ประธานประเทศลาวคนปัจจุบัน อดีตรองประธานประเทศแห่ง สปป.ลาว กรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สปป.ลาวเมื่อ..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและบุนยัง วอละจิด · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ออล็องด์

ฟร็องซัว เฌราร์ ฌอร์ฌ นีกอลา ออล็องด์ (François Gérard Georges Nicolas Hollande,; เกิด 12 สิงหาคม ค.ศ. 1954) เป็นอดีตประธานาธิบดีของฝรั่งเศส ได้รับเลือกตั้งในวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและฟร็องซัว ออล็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี (ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี; ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี; ประสูติ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุ อดีตเอกอัครราชทูตด้านวัฒนธรรมของกัมพูชาประจำองค์การยูเนสโก ก่อนที่กรมปรึกษาราชบัลลังก์ลงมติเอกฉันท์ให้พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์หลังจากสมเด็จพระราชบิดาประกาศสละราชสมบัติเมื่อปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา

ระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา (នរោត្ដម មុនីនាថ សីហនុ; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2479) พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชารัชกาลปัจจุบัน พระองค์เป็นที่รู้จักในพระนาม พระราชินีโมนีก (Queen Monique).

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

ระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของหมู่พระมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลาง ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท มีพระที่นั่งพิมานรัตยา พระปรัศว์ซ้าย พระปรัศว์ขวา และ เรือนบริวาร หรือ เรือนจันทร์ ต่อเนื่องทางด้านหลังในเขตพระราชฐานชั้นใน พระที่นั่งองค์นี้ได้รับยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมชั้นเอกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นพระที่นั่งทรงไทยแท้องค์เดียว ในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะเรือนยอดพระมหาปราสาท (กุฎาคาร) มีรูปทรงต้องด้วยศิลปะลักษณะอันวิจิตรงดงาม.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พัก กึน-ฮเย

ัก กึน-ฮเย (Park Geun-hye;; เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495) เป็นนักโทษ และ อดีตประธานาธิบดีคนที่ 11 ของสาธารณรัฐเกาหลี พักเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ถูกถอดถอนจากการปฏิบัติหน้าที่โดยรัฐสภาและการรับรองโดยศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ ส่งผลให้นาย ฮวัง กโย-อัน นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐเกาหลีเป็นรักษาการประธานาธิบดีเกาหลีใต้ พักเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ และเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นประมุขหญิงของรัฐในภูมิภาคประเทศเอเชียตะวันออกลำดับที่สามต่อจากมาดามชุคบาตาร์ แห่งมองโกเลียและซ่ง ชิ่งหลิง แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อนดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี พักดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแกรนด์เนชั่นแนล (จีเอ็นพี) ซึ่งเป็นพรรคการเมืองอนุรักษ์นิยมของเกาหลีใต้ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพัก กึน-ฮเย · ดูเพิ่มเติม »

พัน กี-มุน

ัน กี-มุน (Ban Ki-moon;; เกิด 13 มิถุนายน พ.ศ. 2487) เป็นอดีตเลขาธิการสหประชาชาติ คนที่ 8 ต่อจากโคฟี แอนนัน โดยได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพัน กี-มุน · ดูเพิ่มเติม »

กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ

องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ (United Nations Children's Fund - UNICEF) เป็นหน่วยงานของสหประชาชาติเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม, พัฒนาการ, สุขภาพรวมถึงความเป็นอยู่ของเด็กและแม่ในประเทศกำลังพัฒนา ก่อตั้งโดยสมัชชาสามัญแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2489 ด้วยชื่อในขณะนั้นว่า United Nations International Children's Emergency Fund หรือ กองทุนฉุกเฉินสำหรับเด็กแห่งสหประชาชาต.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรั..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม

มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม (محمد بن راشد آل مكتوم.; Mohammed bin Rashid Al Maktoum) หรือ เชคมุฮัมมัด นายกรัฐมนตรีคนที่สามและรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นเจ้าผู้ครองนครดูไบ สืบต่อจากเชคมักตูม บิน รอชิด อัลมักตูม ผู้เป็นพระเชษฐาองค์โต เชคมุฮัมมัดเป็นพระโอรสองค์ที่สาม ในสี่องค์ของเชครอชิด บิน ซาอิด อัลมักตูม (1912-1990) อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่สอง และรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และเจ้าผู้ครองนครดูไบ มีพระเชษฐาและอนุชา ได้แก.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและมุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ

รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม (Secretary of Defense) เป็นหัวหน้าและประธานบริหารกระทรวงกลาโหม อันเป็นกระทรวงหนึ่งของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐDoDD 5100.1: Enclosure 2: a อำนาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเหนือกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นรองเพียงประธานาธิบดีTrask & Goldberg: p.11 ประธานาธิบดีแต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโดยคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา เป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีโดยจารีตประเพณี และเป็นสมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติตามกฎหม.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐ (United States Secretary of State.) เป็นตำแหน่งเจ้าหน้าที่อาวุโสของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกาซึ่งบังคับบัญชากระทรวงการต่างประเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบและพิจารณาการดำเนินการด้านกิจการต่างประเทศของรัฐบาลสหรัฐ รัฐมนตรีต่างประเทศได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีสหรัฐและโดยการรับรองของวุฒิสภา ตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญที่สุดของคณะรัฐบาล อันได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และอัยการสูงสุด รัฐมนตรีต่างประเทศคนปัจจุบันคือ ไมก์ ปอมเปโอ อดีตผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ คนที่6 เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐคนที่ 70 นับตั้งแต่สถาปนาตำแหน่งนี้ม.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ลี เซียนลุง

ลี เซียนลุง (จีนตัวย่อ: 李显龙; จีนตัวเต็ม: 李顯龍; พินอิน: Lǐ Xiǎnlóng, หลี่ เสี่ยนหลง) คือนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันและคนที่สามของประเทศสิงคโปร์ เขาเป็นบุตรชายคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวนยู และมีภรรยาเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ของบริษัทเทมาเส็กโฮลดิ้งส์ ลี เซียนลุง ฉายแววความฉลาด มาตั้งแต่ ยังเล็ก โดยสามารถพูด ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนแมนดาริน ภาษารัสเซีย ได้ ในขณะที่มีอายุเพียง 10 ปี พอจบชั้นมัธยม ก็ได้รับทุนจาก รัฐบาล ไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในสาขาคณิตศาสตร์ และจบปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 หลังจากนั้น ลี ก็ไปต่อโทที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ในสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ลี เซียนลุงนั้น มาจากการเลือกตั้ง จากประชาชน ตามระบอบประชาธิปไตย อย่างแท้จริง ในตอนสมัครเข้าเป็น..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและลี เซียนลุง · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและวลาดีมีร์ ปูติน · ดูเพิ่มเติม »

วันพฤหัสบดี

วันพฤหัสบดี เป็นวันลำดับที่ 5 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพุธกับวันศุกร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 4 ของสัปดาห.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและวันพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

มัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) เป็นองค์กรที่มีอำนาจมากที่สุดและเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ เป็นเพียงองค์กรเดียวของสหประชาชาติที่ตัวแทนของแต่ละประเทศสมาชิกมีสิทธิและฐานะเท่าเทียมกัน สมัชชาใหญ่มีหน้าที่ตรวจสอบงบประมาณและการใช้จ่ายในโครงการของสหประชาชาติ แต่งตั้งสมาชิกไม่ถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง รับรายงานจากทั่วทุกมุมโลกเพื่ออภิปรายและให้ความเห็น ตลอดจนจัดตั้งองค์กรลูกต่างๆมากมายของสหประชาชาติ การประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกมีขึ้นในวันที่ 10 มกราคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ. 1960) เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 7 แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในอดีตสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม ทรงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 ภายหลังจากการสละราชสมบัติของสมเด็จพระราชบิดาอันเนื่องมาจากปัญหาพระพลานามัย โดยหลังจากการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งบราบันท์ รัชทายาทพระองค์ต่อไปของเบลเยียม.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (โรมาเนีย: Mihai I al României, Michael I al României) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโรมาเนียระหว่าง..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์

มเด็จพระราชาธิบดีวิลเลม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ (พระนามเต็ม: วิลเลม อเล็กซานเดอร์ คลอส จอร์จ เฟอร์ดินานด์; Willem-Alexander Claus George Ferdinand) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 เมษายน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด

(قابوس بن سعيد آل سعيد) เป็นกษัตริย์ (สุลต่าน) ของรัฐสุลต่านโอมาน พระราชสมภพเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2513 ต่อจากสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์

มเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดีน วัดเดาละห์ ทรงเป็นสุลต่านองค์ที่ 29 แห่งบรูไน และยังทรงเป็นสุลต่านบรูไนพระองค์แรกที่ทรงพระอิสริยยศเป็นยังดีเปอร์ตวน (สมเด็จพระราชาธิบดี) พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ของสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดีนที่ 3 เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ ประเทศอังกฤษ และได้รับการสถาปนาเป็นมกุฎราชกุมารเมื่อปี พ.ศ. 2504 พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2510 ทรงเป็นนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 บิน อัลฮุซัยน์ (الملك عبد الله الثاني بن الحسين, al-Malik ʿAbdullāh aṯ-ṯānī bin al-Ḥusayn, พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ. 2505) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดนและเจ้าหญิงมูนา อัลฮุสเซน.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์

มเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์แห่งบาห์เรน (حمد بن عيسى بن سلمان آل خليفة) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชอาณาจักรบาห์เรน จากการสถาปนารัฐบาห์เรนเป็นราชอาณาจักรบาห์เรนในปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (ภาษาซองคา: འཇིགས་མེད་གེ་སར་རྣམ་རྒྱལ་དབང་ཕྱུག་) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก ทรงได้รับการยกย่องจากชาวภูฏานรวมถึงชาวไทยส่วนใหญ่ว่ามีพระจริยวัตรที่งดงาม และเป็นที่รักยิ่งของประชาชนชาวภูฏาน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากการที่ทรงวางพระองค์อย่างเป็นกันเองในหมู่ประชาชน จึงสร้างความประทับใจแก่พสกนิกรอย่างสูง ถึงแม้ว่าพระองค์ไม่ต้องทรงรับพระราชภารกิจการบริหารประเทศ เนื่องจากสมเด็จพระราชบิดาได้ทรงวางระบอบปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นมาอยู่ก่อนแล้ว แต่พระองค์เองก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์สำคัญ ในการสร้างเอกภาพและเสถียรภาพ ในประเทศที่มีประชากรเพียง 753,947 คน โดยมุ่งเน้นด้านความสุขมวลรวมของประชากรภายในประเทศเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ (สวีเดน: Carl XVI Gustaf; Carl XVI Gustaf of Sweden) ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรสวีเดน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1946 เป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ มกุฎราชกุมารในขณะนั้นและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระราชมารดาของพระองค์เป็นพระราชปนัดดาใน สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งสวีเดนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1973 ทั้งนี้ พระองค์ยังทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่ 1 ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด (سلمان بن عبد العزیز آل سعود‎, Salmān ibn ‘Abd al-‘Azīz Āl Sa‘ūd.) เป็นพระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบียองค์ปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม (Mathilde, Reine des Belges; Mathilde, koningin der Belgen; พระราชสมภพ: 20 มกราคม ค.ศ. 1973) หรือพระนามเดิมว่า มาตีลด์ มารี คริสตียาน กีแลน ดูว์เดอแกม ดาโก (Mathilde Marie Christiane Ghislaine d'Udekem d'Acoz) สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม มีเชื้อสายสืบแต่สกุลขุนนางของโปแลนด์ พระองค์เป็นพระราชินีพระองค์แรกที่ถือสัญชาติเบลเยียม ภายหลังจากการขึ้นครองราชย์ของพระราชสวามี.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ (Sonja av Norge; พระนามเดิม: Sonja Haraldsen ซอนยา เฮรัลด์เซ็น; ประสูติเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ณ กรุงออสโล) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นสามัญชน ทรงเป็นบุตรีของนายคาร์ล ออกัส เฮรันด์เซ็น กับ นางเดกนี อูริชเซ็น พระองค์ได้หมั้นหมายกับมกุฎราชกุมารฮารันด์ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2511 หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 ในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ซอนยาได้กลายเป็นสมเด็จพระราชินี พระนางกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์มีบุตร 2 พระองค์คือเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ ในปีพ.ศ. 2548 สมเด็จพระราชินีซอนยาทรงสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกที่เสด็จเยือนแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน (อังกฤษ: Her Majesty Queen Silvia of the Sweden) (ซิลเวีย เรนาเทอ ซอมแมร์ลัธ; 23 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรสวีเดน พระองค์ปัจจุบัน และยังเป็นพระราชชนนีในเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระราชินี และประชาชนชาวสวีเดนเรียกพระองค์ว่า พระราชินีซิลเวี.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีแม็กซิมาแห่งเนเธอร์แลนด์

มเด็จพระราชินีแม็กซิมาแห่งเนเธอร์แลนด์ (Queen Máxima of the Netherlands; พระนามเดิม: แม็กซิมา ซอร์เรกัวตา; ประสูติ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1971) เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ หลังจากที่พระสวามีได้ขึ้นครองราชย์ภายหลังการสละราชบัลลังก์ของสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ ซึ่งทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกในรอบ120ปีอีกด้ว.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีแม็กซิมาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก

มเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก (རྗེ་བཙུན་པདྨ་; Wylie: rje btsun padma; Ashi Jetsun Pema Wangchuck) พระราชสมภพเมื่อวันที่ ที่กรุงทิมพู ประเทศภูฏาน เป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก ที่สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมีได้ทรงประกาศอย่างเป็นทางการ ซึ่งพระองค์เป็นนักศึกษาวัยยี่สิบเอ็ดพรรษา ทั้งสองพระองค์มีกำหนดอภิเษกสมรสในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 โดยการอภิเษกสมรสจัดขึ้นในวันที่ 13 ตุลาคม.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

มเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส (Francis; Franciscus) เป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 266 มีพระนามเดิมว่า คอร์เค มาเรียว เบร์โกเกลียว (Jorge Mario Bergoglio) พระราชสมภพเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี

มเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี (នរោត្តម អរុណរស្មី; 2 ตุลาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับหม่อมมะนีวัน พานีวง หม่อมชาวลาว.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

มเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ (20 ตุลาคม พ.ศ. 2477) มีพระนามเดิมว่า มิชิโกะ โชดะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เข้าสู่พระราชวงศ์จากการเสกสมรสกับเจ้าชายอะกิฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น มิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารี ครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคต มกุฎราชกุมารอะกิฮิโตะจึงสืบราชสมบัติเป็นจักรพรรดิ และมกุฎราชกุมารีมิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินี ตามลำดั.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สยามมกุฎราชกุมาร

มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสยามมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์แบดมินตันโลก

หพันธ์แบดมินตันโลก (Badminton World Federation) หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า BWF เป็นองค์กรที่ควบคุมดูแลกีฬาแบดมินตันระหว่างประเทศได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสหพันธ์แบดมินตันโลก · ดูเพิ่มเติม »

สี จิ้นผิง

ี จิ้นผิง (เกิด 15 มิถุนายน 2496) เป็นนักการเมืองจีน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนและประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง บางทีเรียก "ผู้นำสูงสุด" ของจีน ในปี 2559 พรรคให้ตำแหน่งเขาเป็นผู้นำ "แกนกลาง" ในฐานะเลขาธิการ สีเป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาคณะกรรมการบริหารสูงสุดของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นองค์กรวินิจฉัยสั่งการสูงสุดของจีน ในปี 2496 สี จิ้นผิง ได้เกิดตามสถิติโบราณ(2498) ที่บันทึกไว้ว่าเมืองฉางอาน เคยเป็นที่ประทับของฮ้องเต้ 98 องค์ ในขณะเดียวกันนั้น สี จิ้นผิงได้ขึ้นรับตำแหน่งประธานาธิบดีจีน ซึ่งสี จิ้นผิงได้เกิด ณ เมืองนี้ เพราะฉะนั้นคนจีนจึงถือกันว่าสี จิ้นผิง เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่งเมืองฉางอานตามสถิติโบราณ สี จิ้นผิงเป็นเลขาธิการคนแรกที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นบุตรของทหารผ่านศึกคอมมิวนิสต์จีน สี จงชุน สีขยับตำแหน่งทางการเมืองในมณฑลฝั่งทะเลของจีน สีเป็นผู้ว่าการมณฑลฝูเจี้ยนตั้งแต่ปี 2542 ถึง 2545 และผู้ว่าการ ซึ่งขณะนั้นเป็นตำแหน่งเลขาธิการพรรคของมณฑลเจ้อเจียงตั้งแต่ปี 2545 ถึง 2550 หลังการปลดเฉิน เหลียงยฺหวี่ สีถูกโอนไปเซี่ยงไฮ้เป็นเลขาธิการพรรคช่วงสั้น ๆ ในปี 2550 สีเข้าร่วมคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาคณะกรรมการบริหารสูงสุดและสำนักเลขาธิการกลางในเดือนตุลาคม 2550 ใช้เวลาอีกห้าปีเป็นผู้สืบทอดของหู จิ่นเทา สีเป็นรองประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2556 และรองประธานคณะกรรมการกลางทหารส่วนกลางตั้งแต่ปี 2553 ถึง 2555 หลังเถลิงอำนาจ สีริเริ่มมาตรการกว้างขวางเพื่อใช้บังคับวินัยของพรรคและรับประกันเอกภาพภายใน การรณรงค์ปราบการฉ้อราษฎร์บังหลวงอันเป็นสัญลักษณ์ของเขานำสู่การหมดอำนาจของข้าราชการทั้งปัจจุบันและเกษียณแล้วคนสำคัญหลายคน สีเพิ่มการจำกัดสังคมพลเมืองและวจนิพนธ์อุดมการณ์ ส่งเสริมการตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ตในประเทศจีนตามมโนทัศน์ "เอกราชอินเทอร์เน็ต" สีเรียกร้องให้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจแบบตลาดเพิ่ม การปกครองตามกฎหมายและเสริมสร้างสถาบันกฎหมาย โดยเน้นความทะเยอทะยานปัจเจกบุคลและชาติภายใต้คำขวัญ "ฝันจีน" สียังเป็นผู้นำนโยบายต่างประเทศที่กำเริบเสิบสานมากขึ้น โดยเฉพาะกับความสัมพันธ์จีน–ญี่ปุ่น การอ้างสิทธิ์ของจีนในทะเลจีนใต้ และบทบาทในการเป็นผู้นำการค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ เขายังมุ่งขยายอิทธิพลในยูเรเชียของจีนผ่านการริเริ่มหนึ่งเข็มขัดหนึ่งถนน เขาถือเป็นบุคคลศูนย์กลางของผู้นำรุ่นที่ห้าของสาธารณรัฐประชาชน สีรวบอำนาจสถาบันมากขึ้นโดยดำรงตำแหน่งผู้นำหลายตำแหน่ง รวมทั้งประธานคณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติที่ตั้งใหม่ ตลอดจนคณะกรรมการขับเคลื่อนใหม่ว่าด้วยการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม การจัดโครงสร้างกองทัพใหม่ และอินเทอร์เน็ต ความคิดทางการเมืองของสีถูกเขียนอยู่ในธรรมนูญของพรรค และมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อเลิกข้อจำกัดวาระของประธานาธิบดี สีมีการสร้างลัทธิบูชาบุคคลรอบตัวเขา "โดยมีหนังสือ การ์ตูน เพลงป๊อบ และกระทั่งท่าเต้น".

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสี จิ้นผิง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เค่อเฉียง

หลี่ เค่อเฉียง เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนคนปัจจุบัน รายชื่อของเขายังอยู่ในลำดับที่สองของคณะกรรมการประจำกรมการเมืองแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และระหว่างปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและหลี่ เค่อเฉียง · ดูเพิ่มเติม »

อองซาน ซูจี

อองซาน ซูจี (90px, เกิด 19 มิถุนายน 2488) เป็นนักการเมืองชาวพม่าและประธานพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีประจำทำเนียบประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 59% และที่นั่ง 81% (392 จาก 485 ที่นั่ง) ในรัฐสภา ทว่า เธอถูกควบคุมตัวในบ้านก่อนการเลือกตั้ง เธอยังอยู่ภายใต้การควบคุมตัวในบ้านในประเทศพม่าเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปีตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปล่อยตัวครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทำให้เธอเป็นนักโทษการเมืองที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งของโลก ซูจีได้รับรางวัลราฟโต (Rafto Prize) และรางวัลซาฮารอฟสำหรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2534 ในปี 2535 เธอได้รับรางวัลชวาหระลาล เนห์รูเพื่อความเข้าใจระหว่างประเทศ (Jawaharlal Nehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลีวาร์ระหว่างประเทศ (International Simón Bolívar Prize) จากรัฐบาลเวเนซุเอลา ในปี 2555 รัฐบาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพื่อประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550 รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ของประเทศ เป็นคนที่สี่ที่ได้รับเกียรตินี้ ในปี 2554 เธอได้รับเหรียญวัลเลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วันที่ 19 กันยายน 2555 อองซาน ซูจีได้รับเหรียญทองรัฐสภา ซึ่งร่วมกับเหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกียรติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา วันที่ 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งในปีตูลุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซึ่งเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งกอว์มู (Kawhmu) พรรคของเธอยังได้ที่นั่งว่าง 43 จาก 45 ที่นั่งในสภาล่าง คณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการยืนยันผลการเลือกตั้งในวันรุ่งขึ้น วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ซูจีประกาศบนเว็บไซต์ของเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งปี 2558 ทว่า ซูจีถูกห้ามมิให้เป็นประธานาธิบดีภายใต้รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ซึ่งมิอาจแก้ไขได้โดยปราศจากการรับรองจากสมาชิกสภานิติบัญญัติทหารอย่างน้อยหนึ่งคน ในปี 2557 นิตยสารฟอบส์จัดให้เธอเป็นหญิงทรงอำนาจที่สุดในโลกอันดับที่ 61 ในการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ. 2558 พรรค NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 86% (255 ที่นั่ง ในสภาผู้แทนราษฎรและ 135 ที่นั่ง ในสภาเชื้อชาติ) ทว่า เธอซึ่งเป็นประธานพรรค NLD ไม่สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเนื่องจากมีข้อห้ามในรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและอองซาน ซูจี · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล ฮามิด

อับดุล ฮามิด (আব্দুল হামিদ; เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2487) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 และคนปัจจุบันของบังกลาเทศ ก่อนจะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขาเคยดำรงตำแหน่งประธานสภาแห่งชาติตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและอับดุล ฮามิด · ดูเพิ่มเติม »

อังเกลา แมร์เคิล

อังเกลา โดโรเทอา แมร์เคิล (Angela Dorothea Merkel; นามสกุลเดิม คัสเนอร์; เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 ณ เมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของเยอรมนี ซึ่งได้รับการเลือกตั้งสู่รัฐสภาเยอรมันจากรัฐเมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น เป็นประธานพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน(CDU) ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2543 และเป็นประธานกลุ่มพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน-สหภาพสังคมคริสเตียนในรัฐสภาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จนถึง พ.ศ. 2548 นอกจากนั้นนางแมร์เคิลยังเป็นผู้นำรัฐบาลผสมกับพรรคสหภาพสังคมคริสเตียน (CSU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) ซึ่งก่อตั้งขึ้นหลังภายจากการเลือกตั้งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 นางแมร์เคิลชนะการเลือกตั้งสมัยที่ 2 เมื่อปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและอังเกลา แมร์เคิล · ดูเพิ่มเติม »

อิลฮัม อะลีเยฟ

อิลฮัม เฮย์ดาร์ ออกลู อะลีเยฟ (İlham Əliyev เกิด 24 ธันวาคม พ.ศ. 2504) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 และคนปัจจุบันของอาเซอร์ไบจาน เขาเริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและอิลฮัม อะลีเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิลลารี คลินตัน

ลลารี ไดแอน ร็อดแดม คลินตัน เกิดวันที่ 26 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและฮิลลารี คลินตัน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแคนาดา

ผู้สำเร็จราชการแคนาดา (Governor General of Canada;: Gouverneur général du Canada หรือ: Gouverneure générale du Canada) คืออุปราชแห่งสหพันธ์รัฐแคนาดา ผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์แคนาดาพระองค์ปัจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากแคนาดามีประมุขแห่งรัฐร่วมกับประเทศเครือจักรภพอีก 15 ประเทศ ซึ่งก็คือพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรผู้ทรงมีถิ่นพำนักหลักอยู่ในสหราชอาณาจักร ดังนั้นพระมหากษัตริย์แคนาดาจึงทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนตามคำกราบบังคมทูลของนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดา ขึ้นมารับผิดชอบพระราชกรณียกิจตามรัฐธรรมนูญและพระราชกรณียกิจเชิงพิธีการส่วนมากแทนพระองค์ โดยระยะเวลาการดำรงตำแหน่งไม่ได้จำกัดไว้อย่างชัดเจนหรือเรียกได้ว่าเป็นระยะเวลา ตามแต่พระราชอัธยาศัย (at Her Majesty's pleasure) ซึ่งตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแล้ว ผู้ดำรงตำแหน่งมักจะมีวาระอยู่ประมาณ 5 ปี นอกจากนี้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและผู้สำเร็จราชการแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คีย์

อห์น ฟิลลิป คีย์ (John Phillip Key; 9 สิงหาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 38 ของนิวซีแลนด์ เขาได้ดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและจอห์น คีย์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เคร์รี

อห์น ฟอบส์ เคร์รี (John Forbes Kerry) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66, อดีตสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกาจากรัฐแมสซาชูเซตส์ โดยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของวุฒิสภา นอกจากนี้ เขายังเคยเป็นผู้ท้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2547 อีกด้วย ซึ่งเขาก็พ่ายแพ้แก่ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช เคร์รีเกิดที่เมืองออโรรา ในรัฐโคโลราโด และเข้าเรียนในโรงเรียนประจำในรัฐแมสซาชูเซตส์และรัฐนิวแฮมป์เชียร์ เขาจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเยลเมื่อ..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและจอห์น เคร์รี · ดูเพิ่มเติม »

จัสติน ทรูโด

ัสติน พีเอร์ เจมส์ ทรูโด (Justin Pierre James Trudeau, เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2514) เป็นนักการเมืองชาวแคนาดา นายกรัฐมนตรีแคนาดาคนที่ 23 และคนปัจจุบัน ตลอดจนเป็นหัวหน้าพรรคเสรีนิยม เขาเป็นนายกรัฐมนตรีแคนาดาที่อายุน้อยที่สุดเป็นอันดับสองรองจากโจ คลาร์ก (Joe Clark) และบุตรคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี พีเอร์ ทรูโด เป็นบุตรคนแรกของอดีตนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่ง ทรูโดเกิดในออตตาวาและเข้าศึกษาที่ Collège Jean-de-Brébeuf เขาสำเร็จปริญญาตรีในสาขาวรรณคดีภาษาอังกฤษจากมหาวิทยาลัยแม็กกิลในปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและจัสติน ทรูโด · ดูเพิ่มเติม »

ทองลุน สีสุลิด

ทองลุน สีสุลิด (ທອງລຸນ ສີສຸລິດ, เกิด 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) คือนายกรัฐมนตรีของประเทศลาว.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและทองลุน สีสุลิด · ดูเพิ่มเติม »

ทีนจอ

ทีนจอ (ထင်ကျော်, เกิดวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2489) เป็นนักเขียนและนักวิชาการชาวพม่า อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า คนที่ 9 หลังจากได้ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการในวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและทีนจอ · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลต์ ตุสก์

อนัลต์ ฟรันต์ซีเชก ตุสก์ (Donald Franciszek Tusk; 22 เมษายน พ.ศ. 2500 –) เป็นประธานคณะกรรมาธิการยุโรป เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีโปแลนด์ ดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและดอนัลต์ ตุสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี

ตะมีม บิน ฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี (الشيخ تميم بن حمد آل ثاني; ประสูติ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1980) เป็นเจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์พระองค์ปัจจุบัน พระองค์เป็นโอรสองค์ที่ 4 ในเชคฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี (เจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์องค์ที่ 7) กับโมซา บินตินัซเซอร์ อัลมิซเนด พระชายาองค์ที่ 2.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประณัพ มุขัรชี

ประณัพ มุขัรชี (เกิดเมื่อ 11 ธันวาคม 1935) คือนักการเมืองชาวอินเดีย ประธานาธิบดีคนที่ 13 ของอินเดีย ก่อนเขาจะเข้ามาเป็นประธานาธิบดี เขาเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงการคลัง เขาเกิดในหมู่บ้าน Mirati ใน Birbhum District ของเบงกอลตะวันตก หมวดหมู่:นักเขียนชาวอินเดีย หมวดหมู่:บุคคลจากโกลกาตา หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินเดีย หมวดหมู่:ชาวเบงกาลี.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและประณัพ มุขัรชี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นาวาซ ชาริฟ

นาวาซ ชาริฟ (نواز شریف; เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2492) เป็นบุคคลสาธารณะอนุรักษนิยมฝ่ายขวา นักอุตสาหกรรมโรงงานเหล็กกล้าและผู้มีอิทธิพลทางธุรกิจ อดีตนายกรัฐมนตรีปากีสถานสามสมัย ปัจจุบัน เขาเป็นประธานพรรคสันนิบาตมุสลิมปากีสถาน (เอ็น) หนึ่งในพรรคการเมืองสำคัญและอนุรักษนิยมใหญ่ที่สุดในปากีสถาน เขายังเป็นนักอุตสาหกรรมที่มั่งคั่งที่สุดคนหนึ่งของประเท.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและนาวาซ ชาริฟ · ดูเพิ่มเติม »

นาจิบ ราซัก

ตะก์ ซรี ฮาจี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตุน ฮาจี อับดุล ราซัก (Dato' Sri Haji Mohammad Najib bin Tun Haji Abdul Razak) หรือ นาจิบ ราซัก เป็นนักการเมืองมาเลเซียจากพรรคอัมโน เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย โดยดำรงตำแหน่งมาตั้งแต..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและนาจิบ ราซัก · ดูเพิ่มเติม »

นูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ

นูร์ซุลตัน แอเบอชูเลอ นาซาร์บายิฟ (Нұрсұлтан Әбішұлы Назарбаев, Nursultan Äbişulı Nazarbayev Нурсултан Абишевич Назарбаев, Nursultan Abishevich Nazarbayev; เกิด 6 กรกฎาคม 1940) เป็นประธานาธิบดีของคาซัคสถานเขาเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งคาซัคสถานซึ่งเป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐที่ปกครองคาซัคสถานโดยพฤตินัยในช่วงเวลาสั้นๆในปี 1990 เขาได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคนแรกของประเทศในปี 1991 เขายังได้รับฉายาว่าบิดาแห่งชาวคาซัค ในเดือนเมษายน 2015 เขาได้รับการเลือกตั้งไปด้วยคะแนนร้อยละ 93.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ · ดูเพิ่มเติม »

นเรนทระ โมที

นเรนทระ ทาโมทรทาส โมที (नरेन्द्र दामोदरदास मोदी; Narendra Damodardas Modi; เกิด 17 กันยายน 1950) เป็นนักการเมืองชาวอินเดียซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีอินเดียตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2014 หลังจากที่พรรคภารตียชนตา (भारतीय जनता पार्टी; Bharatiya Janata Party) ที่เขาเป็นหัวหน้า ชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อต้นปี 2014 ในเดือนตุลาคม 2001 เกศุภาอี ปเฏล (केशुभाई पटेल; Keshubhai Patel) ลาออกจากตำแหน่งมุขยมนตรี (मुख्यमंत्री; Chief Minister) คนที่ 13 แห่งรัฐคุชราต โมทีจึงได้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวมาจนลาออกไปเป็นนายกรัฐมนตรี นับได้ 4 สมัย เขาจึงเป็นมุขยมนตรีคุชราตซึ่งอยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุด โมทีเคยเป็นกุนซือคนสำคัญของพรรคภารตียชนตาซึ่งวางยุทธศาสตร์ให้พรรคสามารถชนะการเลือกตั้งระดับรัฐในปี 1995 และ 1998 ทั้งมีบทบาทหลักในการหาเสียงเลือกตั้งระดับชาติในปี 2009 ซึ่งสหพันธมิตรหัวก้าวหน้า (संयुक्त प्रगतिशील गठबंधन; United Progressive Alliance) กลุ่มการเมืองที่มีพรรคครองเกรสแห่งชาติอินเดีย (भारतीय राष्ट्रीय कांग्रेस; Indian National Congress) เป็นผู้นำ ชนะ โมทียังเป็นสมาชิกราษฏรียสวยัมเสวกสังฆ์ (राष्ट्रीय स्वयंसेवक संघ; Rashtriya Swayamsevak Sangh) กลุ่มคลั่งชาติในประเทศอินเดีย นักวิชาการและสื่อมวลชนอินเดียถือว่า เขาเป็นผู้คลั่งชาติฮินดู ซึ่งตัวเขาเองก็ยอมรับว่าเขาเป็นนักชาตินิยมฮินดู แม้โมทีได้รับคำชื่นชมเพราะนโยบายเศรษฐกิจของเขาช่วยให้คุชราตมีบรรยายที่อำนวยให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้นอย่างมาก แต่เขาก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและในต่างแดน เกี่ยวกับการจลาจลในคุชราตเมื่อปี 2002 ระหว่างที่เขาปกครองรัฐคุชราต และความล้มเหลวในการทำให้การพัฒนามนุษย์ในรัฐบรรลุผลในทางสร้างสรร.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและนเรนทระ โมที · ดูเพิ่มเติม »

แมลคัม เทิร์นบุลล์

แมลคัม เทิร์นบุลล์ (Malcolm Turnbull; เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคนที่ 29 ของออสเตรเลีย เขาได้ดำรงตำแหน่งหลังจากชนะการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและแมลคัม เทิร์นบุลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แอชตัน คาร์เตอร์

แอชตัน บัลด์วิน คาร์เตอร์ (Ashton Baldwin Carter) หรือ แอช คาร์เตอร์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา คนที่ 25 และยังเป็นนักฟิสิกส์ อดีตอาจารย์วิชาวิทยาศาสตร์และกิจการต่างประเทศประจำมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เขาได้รับการเสนอชื่อเป็นรัฐมนตรีกลาโหมโดยประธานาธีบดี บารัค โอบามา และได้รับการรับรองโดยวุฒิสภาสหรัฐด้วยคะแนนเสียง 93–5 โดยดำรงตำแหน่งต่อจาก ชัค เฮเกล คาร์เตอร์จบการศึกษาระดับศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาโทฟิสิกส์และประวัติศาสตร์ยุคกลางจากมหาวิทยาลัยเยล ภายหลังได้รับการเชิดชูประกาศนียบัตรการศึกษาในปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและแอชตัน คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรดรีโก ดูแตร์เต

รดรีโก โรอา ดูแตร์เต (Rodrigo Roa Duterte) มักถูกเรียกด้วยชื่อเล่นว่า ดีกง เป็นนักการเมืองและทนายความชาวฟิลิปปินส์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 16 เขาถือเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่มาจากเกาะมินดาเนา ซึ่งที่นั่นเขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรีเมืองดาเวาถึงกว่า 22 ปี ในขณะที่เป็นนายกเทศมนตรีเมืองดาเวานั้น เขาใช้นโยบายขั้นรุนแรงในการปราบปรามอาชญากรจนเมืองดาเวากลายเป็นเมืองที่มีอัตราอาชญากรรมต่ำที่สุดในฟิลิปปินส์ และตัวเขาได้รับฉายาว่า "ผู้ลงทัณฑ์" แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่านโยบายของเขาทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่าพันคน ใน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและโรดรีโก ดูแตร์เต · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

โจโก วีโดโด

ก วีโดโด (Joko Widodo) เป็นประธานาธิบดีอินโดนีเซียคนที่ 7 และคนปัจจุบันของประเทศอินโดนีเซีย เคยดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีกรุงจาร์กาตา ก่อนลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและโจโก วีโดโด · ดูเพิ่มเติม »

ไช่ อิงเหวิน

อิงเหวิน (เกิด 31 สิงหาคม ค.ศ. 1956) เป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว เธอเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (民主進步黨) คนปัจจุบัน และเป็นตัวแทนของพรรคเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งเมื่อ ค.ศ. 2016 ตำแหน่งซึ่งเธอพลาดไปในการเลือกตั้งปีเมื่อ ค.ศ. 2012 นอกจากนี้ เธอยังเคยเป็นหัวหน้าพรรคมาแล้วหนึ่งสมัยในช่วง..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและไช่ อิงเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฮ่องกง

ที่ตั้งของเกาะฮ่องกง(สีแดง)ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง(สีเขียว) เกาะฮ่องกง (อักษรจีนตัวเต็ม: 香港島; ภาษาอังกฤษ: Hong Kong Island) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเกาะฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

เศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์

เศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์ ทรงเป็นเจ้าผู้ครองรัฐแห่งรัฐคูเวต ตั้งแต่ 29 มกราคม พ.ศ. 2549 ประสูติเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2472 พระองค์เป็นพระโอรสของเชคอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์กับมูนิรา อัลอายยาร์ เศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์ ทรงสมรสกับฟาตูวาฮ์ บินติซัลมาน อัศเศาะบาห์ หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองรัฐคูเวต หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน

้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน (พระราชสมภพ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก และสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก นอกจากนี้พระองค์ยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารแห่งภูฎาน โดยได้ทรงรับพระราชทานพระนามเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก

รอยัลไฮเนส เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก (HRH The Prince Andrew, Duke of York) (แอนดรูว์ อัลเบิร์ต คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด เมานต์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งยอร์กมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และทรงอยู่ในอันดับที่เจ็ดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก

้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก (Frederik André Henrik Christian, Kronprins til Danmark; ประสูติ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2511, กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก) เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี พระองค์มีพระอนุชาคือ เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี

้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นโอรสในเคาต์อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา และเรอเน ดูร์เซโน อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1967 ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย

้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย หรือในทางนิตินัย เจ้าหญิงมาร์กาเรตา ผู้พิทักษ์พระราชบัลลังก์แห่งโรมาเนีย (Margareta, Principesă a României, Margareta a României, Custodele Coroanei române, fostă Principesă de Hohenzollern) อดีตเจ้าหญิงแห่งโฮเฮนโซลเลิร์น (26 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียกับสมเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนีย พระอัครมเหสี พระองค์ทรงอยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ พระราชบิดาของพระองค์ทรงแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระรัชทายาทอย่างเป็นทางการในปี..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เทเรซา เมย์

ทะรีซา แมรี เมย์ (Theresa Mary May, เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1956) คือนักการเมืองชาวบริติช ผู้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร และหัวหน้าพรรคอนุรักษนิยมในสหราชอาณาจักรตั้งแต..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเทเรซา เมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน

ลีฟะฮ์ บิน ซายิด บิน สุลฏอน อัลนะฮ์ยาน (خليفة بن زايد بن سلطان آل نهيان.; Khalifa bin Zayed Al Nahyan) หรือ เชคเคาะลีฟะฮ์ หรือ เชคนะฮ์ยาน ประธานาธิบดีคนที่สองแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และเป็นเจ้าผู้ครองนครอาบูดาบี ดำรงตำแหน่งสืบต่อจากเชคซายิด บิน สุลฏอน อัลนะฮ์ยาน ผู้เป็นพระราชบิดา เชคเคาะลีฟะฮ์เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร และก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและ5 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »