โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คุโจ ฮิซะตะดะ

ดัชนี คุโจ ฮิซะตะดะ

ทาดะ คุโจว ฮิสะทาดะ (ญี่ปุ่น:九条 尚忠, Kujō Hisatada? พ.ศ. 2341- พ.ศ. 2414) บุตรชายของนิโจ ฮารุทากะ เป็นสมาชิกของตระกูลฟุจิวะระ และ ตระกูลคุโจว เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นคัมปะกุในช่วงปี..

12 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2369พ.ศ. 2399พ.ศ. 2405พ.ศ. 2449ศาสนาพุทธจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวงจักรพรรดิโคเมคุโจ มิชิตะกะตระกูลฟูจิวาระตระกูลคุโจนิโจ ฮะรุตะกะเซ็สโซและคัมปะกุ

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและพ.ศ. 2369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและพ.ศ. 2405 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง (11 มกราคม พ.ศ. 2378 — 11 มกราคม พ.ศ. 2440) พระนามเดิม อะซะโกะ คุโจ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโคเม.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคเม

ักรพรรดิโคเม เป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น องค์ที่ 121 ครองราชสมบัติตั้งแต่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1846 ถึง 30 มกราคม ค.ศ. 1867.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและจักรพรรดิโคเม · ดูเพิ่มเติม »

คุโจ มิชิตะกะ

้าชายคุโจ มิชิตะกะ (九条 道孝, Kujō Michitaka? 1839-1906), บุตรชายของนิโจ ฮิสะทาดะ และเป็นบุตรบุญธรรมของ นิโจ ยูกิโนะริ เป็นขุนนางของญี่ปุ่นในปลายสมัยเอโดะ และตอนต้นสมัยเมจิ ในเวลาต่อมา พระธิดาของพระองค์ได้สมรสกับสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช เป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม ซึ่งหลังจากนั้นก็คือเป็นสมเด็จพระอัยยิกาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ปัจจุบัน ดังนั้นเจ้าชายคุโจ มิชิตะกะผู้ซึ่งเป็นพระบิดาของสมเด็จพระจักรพรรดินีเทเมจึงทรงเป็นพระเปตามหัยกาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ปัจจุบันด้วย ต่อมาในปี..

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและคุโจ มิชิตะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและตระกูลฟูจิวาระ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลคุโจ

ตระกูลคุโจ เป็นตระกูลสาขาของตระกูลฟุจิวะระ โดยได้แยกออกมาจาก ฟุจิวะระ โนะ ทาดะมิชิ ตระกูลคุโจวมีอำนาจเช่นเดียวกับตระกูลฟุจิวาระ ในด้านราชสำนักมีบุตรสาวของตระกูลนี้มากมายแต่งงานกับจักรพรรดิ หนึ่งในนั้นคือ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม ในฐานะตระกูลขุนนาง ตระกูลคุโจได้แบ่งตำแหน่งเซ็สโซและคัมปะกุ และตำแหน่งต่างๆ กับ ตระกูลโคโนอิ, ตระกูลทาคาสุซากะ, ตระกูลนิโจ และตระกูลอิจิโจ ซึ่งเป็นเครือญาติเดียวกันจากศตวรรษที่ 12 จนถึงปี..

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและตระกูลคุโจ · ดูเพิ่มเติม »

นิโจ ฮะรุตะกะ

นิโจ ฮารุทากะ (ญี่ปุ่น: 二条 治孝, Nijō Harutaka? พ.ศ. 2297- พ.ศ. 2369 72 ปี), บุตรชายของ นิโจ โมนะโมโตะ เป็นสมาชิกของ ตระกูลฟุจิวะระ เขามีบุตรมากมายกับบุตรสาวของ โทกุงะวะ มุเนะโมโตะ ไดเมียวแห่งมิโต.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและนิโจ ฮะรุตะกะ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: คุโจ ฮิซะตะดะและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คุโจ ฮิสะทาดะคุโจว ฮิสะทาดะนิโจ ฮิสะทาดะนิโจว ฮิสะทาดะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »