โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ธานินทร์ อินทรเทพ

ดัชนี ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

20 ความสัมพันธ์: ชรินทร์ นันทนาครพยงค์ มุกดามนัส ปิติสานต์ละครเร่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสมชาย กรุสวนสมบัติสุเทพ วงศ์กำแหงอำเภอเมืองสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสาครจงรัก จันทร์คณาธานินทร์ อินทรเทพฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมินริศ อารีย์แมนรัตน์ ศรีกรานนท์แผ่นเสียงไทยรัฐเพลงลูกกรุงเพลงลูกทุ่งเยาวเรศ นิสากรเป็ดน้อย

ชรินทร์ นันทนาคร

รินทร์ นันทนาคร หรือชื่อเดิม ชรินทร์ งามเมืองเดิมชรินทร์ นามสกุล งามเมือง ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็น "นันทนาคร" ในปี 2503 (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดเชียงใหม่) ศิลปินนักร้อง นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและชรินทร์ นันทนาคร · ดูเพิ่มเติม »

พยงค์ มุกดา

นาวาตรีพยงค์ มุกดาพันธ์ หรือ ครูพยงค์ มุกดา (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2469—12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) นักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแต่งเพลงเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและพยงค์ มุกดา · ดูเพิ่มเติม »

มนัส ปิติสานต์

มนัส ปิติสานต์ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 -) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียง เกิดที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายมูล และนางจำเริญ ปิติสานต์ บิดารับราชการจึงติดตามบิดามาเรียนหนังสือที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ แล้วย้ายมาเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนเนติศึกษา ย่านราชวัตร จนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ย้ายไปเรียนที่กองดุริยางค์ทหารอากาศ เป็นลูกศิษย์ของพระเจนดุริยางค์ รุ่นเดียวกับสง่า อารัมภีร ปรีชา เมตไตรย์ และชลหมู่ ชลานุเคราะห์ และเข้ารับราชการ เป็นนักดนตรีของกองดุริยางค์ทหารอากาศ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและมนัส ปิติสานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ละครเร่

ละครเร่ ภาพยนตร์ไทยประกอบเพลง แนวดราม่า ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอิสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ บทพระนิพนธ์และกำกับโดย ภาณุพันธ์ หรือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล บทภาพยนตร์โดย เวตาล ฉายที่โรงภาพยนตร์เฉลิมเขตร์ เมื่อ..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและละครเร่ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ทความนี้เกี่ยวข้องกับสถานที่แสดงมหรสพ สำหรับสถานีรถไฟฟ้ามหานคร ดูที่ สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (Thailand Cultural Centre) เป็นสถานที่จัดแสดงนิทรรศการและจัดการแสดงต่างๆ อาทิ คอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่จัดการประชุมต่างๆ ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 14 ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยผู้อำนวยการศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย คนปัจจุบัน คือ นางดาวลดา พันธ์วร.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย กรุสวนสมบัติ

นายสมชาย กรุสวนสมบัติ เกิดวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2484 ที่จังหวัดนครสวรรค์ คอลัมนิสต์ชื่อดัง เจ้าของนามปากกา “ซูม” และ “จ่าแฉ่ง” ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ นักจัดรายการวิทยุ สปอร์ต เรดิโอ อดีตประธานสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ สมัยที่ 2.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและสมชาย กรุสวนสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ วงศ์กำแหง

รืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดนครราชสีมา ท่านได้รับการศึกษาตั้งแต่เบื้องต้นจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่จังหวัดบ้านเกิด ความมีแววของการเป็นนักร้องเริ่มมีขึ้นตั้งแต่สมัยที่เป็นนักเรียน โดยมักจะได้รับมอบหมายให้เป็นต้นเสียงร้องเพลงชาติที่โรงเรียนเสมอ ๆ ครั้นเรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้ว คุณสุเทพก็ได้ย้ายเข้ามาอาศัยอยู่กับญาติที่กรุงเทพมหานคร และด้วยนิสัยรักการวาดเขียนและงานศิลปะเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ท่านจึงได้สมัครเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ซึ่งระหว่างที่เรียนอยู่นั้นนอกจากท่านจะแสดงฝีมืออย่างโดดเด่นในทางศิลปะแล้ว ท่านยังเป็นนักร้องเสียงดีประจำห้องเรียนอีกด้วย ในยามว่างท่านมักจะฝึกซ้อมร้องเพลงเสมอตามแบบอย่างของนักร้องที่ท่านชื่นชอบ เช่น วินัย จุลละบุษปะ สถาพร มุกดาประกร ปรีชา บุณยเกียรติ ฯลฯ คุณสุเทพได้มีโอกาสรู้จักและคุ้นเคยกับครูไศล ไกรเลิศ นักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงเนื่องจากบ้านอยู่ใกล้กัน เมื่อครูไศลมองเห็นแววความสามารถของคุณสุเทพก็คิดจะช่วยสนับสนุนส่งเสริมจึงชักชวนให้มาช่วยงาน เช่น ช่วยเขียนโน้ตเพลง เขียนตัวหนังสือ ตลอดจนติดตามไปช่วยงานในธุรกิจบันเทิงต่าง ๆ เสมอ ทำให้คุณสุเทพเริ่มคุ้นเคยกับบุคคลในวงการเพลงมากหน้าหลายตา ทั้งยังได้รับโอกาสให้ร้องเพลงสลับฉากละคร ร้องเพลงตามงานบันเทิงต่าง ๆ รวมไปถึงการทดลองเสียงแทนนักร้องตัวจริงก่อนที่จะทำการอัดเสียงเสมอ จากการที่ร้องเพลงได้อย่างดีเด่น ทำให้คุณสุเทพได้ร้องเพลงบ่อยขึ้นเรื่อย ๆ จนได้รับคัดเลือกให้ร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียงของตนเองบ้าง ต่อมาท่านได้รับการสนับสนุนจาก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชอบการร้องเพลงของท่านโดยช่วยส่งเสริมท่านในทางต่าง ๆ ครั้นคุณสุเทพมีอายุครบกำหนดกฎเกณฑ์ทหาร พลอากาศเอกทวีจึงได้ชักชวนให้ท่านเข้ารับราชการในกองทัพอากาศ โดยได้ประจำอยู่ที่วงดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งมี ครู ปรีชา เมตไตรย์ เป็นผู้ควบคุมวง ระหว่างนั้น คุณสุเทพได้บันทึกแผ่นเสียงมากขึ้นอีก และสถานีวิทยุต่าง ๆ ก็ได้นำเพลงที่ท่านร้องบันทึกแผ่นเสียงนี้ไปเปิดจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากออกจากกองทัพอากาศแล้ว คุณสุเทพก็ได้ร้องเพลงเป็นอาชีพหลักอย่างเต็มตัว ท่านได้เข้าร่วมกับคณะชื่นชุมนุมศิลปิน และได้มีโอกาสร้องเพลงทั้งในรายการวิทยุและโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ ทำให้ชื่อเสียงของท่านเริ่มเพิ่มขึ้น งานต่าง ๆ จึงหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย และยิ่งในช่วงนั้น วงการภาพยนตร์ไทยกำลังเฟื่องฟู ท่านจึงได้งานร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ร่วมแสดงภาพยนตร์บางเรื่องด้วย ท่านได้มีโอกาสร้องเพลงคู่กับนักร้องรุ่นพี่ท่านหนึ่งคือ คุณสวลี ผกาพันธุ์ อยู่เสมอ ในเวลานั้น คุณสวลีเป็นนักร้องยอดนิยมแห่งยุคที่มีแฟนเพลงชื่นชอบมากมาย ดังนั้นเมื่อใครซื้อแผ่นเสียงของคุณสวลีไป ก็มักจะมีเสียงคุณสุเทพติดไปด้วย ชื่อเสียงของคุณสุเทพจึงโด่งดังขึ้นเป็นอย่างมาก ดังนั้น คุณสุเทพจึงถือว่าความสำเร็จในเบื้องต้นส่วนหนึ่งของท่านนั้น ได้รับอานิสงส์มาจากการที่ได้ร้องเพลงคู่กับคุณสวลี ผกาพันธุ์ด้วย จุดเด่นของคุณสุเทพก็คือการที่ท่านมีน้ำเสียงที่ดีเป็นเลิศ มีลีลาในการร้องเพลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนุ่มนวลชวนฟัง อีกทั้งอารมณ์ที่แสดงออกมาทางน้ำเสียงและสีหน้านั้นก็สามารถสะกดใจผู้ฟังให้คล้อยตามและเข้าถึงอารมณ์ของเพลงนั้นได้อย่างพิเศษ ประกอบกับการที่ท่านเป็นผู้ที่เอาใจใส่อย่างจริงจังในการทำงาน ทำให้ท่านเป็นนักร้องที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงภายในระยะเวลารวดเร็ว จนได้รับฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า "นักร้องเสียงขยี้แพรบนฟองเบียร์" มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี ในช่วงก่อนปีพุทธศักราช 2500 คุณสุเทพได้ร่วมเดินทางไปฮ่องกง และสาธารณรัฐประชาชนจีนกับศิลปินแขนงต่าง ๆ กลุ่มใหญ่ จากนั้น ท่านก็ได้เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่นเพื่อศึกษาทางด้านการวาดรูปที่ท่านเคยรักมาก่อนในอดีต ระหว่างนั้นท่านก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนเพลงคนไทยที่นั่น ท่านได้เรียนวาดรูปตามความประสงค์และร้องเพลงขับกล่อมคนไทยที่ไปพำนักยังแดนอาทิตย์อุทัยประมาณ 3 ปี จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย งานร้องเพลงของ สุเทพ วงศ์กำแหง สามารถแบ่งออก 3 ช่วง ตามช่วงเวลาดังนี้.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและสุเทพ วงศ์กำแหง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรสาคร

อำเภอเมืองสมุทรสาคร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและอำเภอเมืองสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จงรัก จันทร์คณา

รูจงรัก จันทร์คณา เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและจงรัก จันทร์คณา · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและธานินทร์ อินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

นริศ อารีย์

นริศ อารีย์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2473 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ ที่ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสามขุนพลเพลงลูกกรุง ร่วมกับ สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร นริศ อารีย์ เป็นน้องชายแท้ๆของ วรนุช อารีย์ นักร้องนำวงสุนทราภรณ์ ชอบร้องเพลงประกวดตามงานวัด หลังจากชนะเลิศการประกวดร้องเพลงที่วิทยาลัยบพิตรพิมุขจึงได้เข้าสู่วงการ แสดงละครวิทยุและร้องเพลงกับคณะละครพันตรีศิลปะ และร้องเพลงสลับฉากที่ศาลาเฉลิมไทย และศาลาเฉลิมกรุง รุ่นเดียวกับสุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร เพลงของนริศ อารีย์ ที่มีชื่อเสียง คือเพลง "ชัวนิจนิรันดร" (พยงค์ มุกดา) "คอย" และ "สักวันหนึ่ง" (ป. ชื่นประโยชน์) "ผู้ครองรัก" และ "ผู้แพ้" (รัก รักษ์พงษ์ หรือ สมณะโพธิรักษ์) "เปียจ๋า" และ "ม่วยจ๋า" (สุรพล โทณะวณิก) "กลิ่นเกล้า" และ "แม้พี่นี้จะขี้เมา" (ไพบูลย์ บุตรขัน) นริศ อารีย์ เสียชีวิตในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ด้วยโรคพาร์กินสัน และโรคเบาหวาน ซึ่งตรงกับช่วงที่ กาเหว่า เสียงทอง ผู้เป็นนักร้องชาวไทย ได้เสียชีวิตในช่วงเดียวกัน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและนริศ อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

แมนรัตน์ ศรีกรานนท์

รืออากาศตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นเสียง

แผ่นเสียง คือวัสดุที่ก่อให้เกิดเสียง ทำจากวัสดุหลายชนิดและขน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและแผ่นเสียง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2523 ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ปัจจุบันมี บริษัท วัชรพล จำกัด เป็นเจ้าของ, ยิ่งลักษณ์ วัชรพล เป็นผู้อำนวยการ และสราวุธ วัชรพล เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ มีจำนวนพิมพ์ปัจจุบันที่ 1,000,000 ฉบับ ราคาจำหน่าย 10.00 บาท.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและไทยรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ นิสากร

วเรศ นิศากร (มักเขียนเป็น นิสากร) เป็นนักแสดงชาวไทย เจ้าของฉายา "เพชรา 2 " ในอดีต (เนื่องจากมีส่วนคล้ายนางเอก เพชรา เชาวราษฎร์) เจ้าของรางวัลเมขลา (มัสยา,แหวนทองเหลือง และ อีสา) และ เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ (ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529).

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเยาวเรศ นิสากร · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดน้อย

ป็ดน้อย เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2511 แนวรักชวนหัว เสียดสีสังคมชนชั้น ประกอบเพลง ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอีสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ เรื่องและบทภาพยนตร์โดย เวตาล กำกับโดย ภาณุพันธุ์ (ทั้งสองชื่อเป็นพระนามแฝงของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล) ฉายที่ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: ธานินทร์ อินทรเทพและเป็ดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ธานินทร์ อินทรแจ้ง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »