โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทรงตันอาร์คิมิดีส

ดัชนี ทรงตันอาร์คิมิดีส

ทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) หมายถึงทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่เป็นทรงนูน (convex) โดยจุดยอดจุดหนึ่งจะประกอบด้วยหน้ารูปหลายเหลี่ยมปรกติ (regular polygon) ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป และเป็นชุดเดียวกันทุกจุด แตกต่างจากทรงตันเพลโต (Platonic solid) ตรงที่มีรูปหลายเหลี่ยมปรกติเพียงชนิดเดียว และแตกต่างจากทรงตันจอห์นสัน (Johnson solid) ตรงที่ไม่ได้มีรูปหลายเหลี่ยมบรรจบกันเป็นชุดเหมือนกันทุก.

22 ความสัมพันธ์: ฟูลเลอรีนรอมบิคิวบอกทาฮีดรอนรอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอนรูปสามเหลี่ยมรูปสิบเหลี่ยมรูปสี่เหลี่ยมรูปหกเหลี่ยมรูปห้าเหลี่ยมรูปแปดเหลี่ยมลูกฟุตบอลทรงยี่สิบหน้าปลายตัดทรงลูกบาศก์ปลายตัดทรงสามสิบสองหน้าทรงสามสิบสองหน้าปลายตัดทรงสิบสองหน้าปลายตัดทรงสี่หน้าปลายตัดทรงหลายหน้าทรงตันจอห์นสันทรงตันเพลโตทรงแปดหน้าปลายตัดคิวบอกทาฮีดรอนคิวบอกทาฮีดรอนปลายตัด

ฟูลเลอรีน

ฟลูเรอรีน รูปทรงสามเหลี่ยมด้านเท่า ยี่สิบหน้า (icosahedron) C540 ฟูลเลอรีน (Fullerene) เป็นอัญรูปหนึ่งของคาร์บอนที่เพิ่งค้นพบ โดยตั้งชื่อตาม บักมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ (Buckminster Fuller) ฟูลเลอรีนประกอบด้วยโมเลกุลของธาตุคาร์บอนทั้งหมด โดยมีรูปทรงเป็นทรงกลมกลวง ทรงรี หรือ ท่อ ฟูลเลอรีนทรงกลมนั้นบางครั้งก็เรียกว่า "บักกีบอล" (buckyballs) รูปC60 นั้นมักจะถูกเปรียบเทียบกับลูกฟุตบอลสีขาวดำ สำหรับฟูลเลอรีนทรงกระบอกนั้น เรียกว่า "บักกี้ทูบ" หรือ "คาร์บอนนาโนทูบ ฟูลเลอรีนนั้นมีโครงสร้างคล้ายกับแกรไฟต์ ซึ่งประกอบด้วยแผ่นวงแหวนหกเหลี่ยม แต่มีวงแหวนห้าเหลี่ยม (หรือบางครั้งก็เป็นวงแหวนเจ็ดเหลี่ยม) ซึ่งกั้นมิให้แผ่นวงแหวนนั้นกลายเป็นแผ่นเรี.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและฟูลเลอรีน · ดูเพิ่มเติม »

รอมบิคิวบอกทาฮีดรอน

รอมบิคิวบอกทาฮีดรอน รูปทรงนี้ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในหนังสือ ''Divina Proportione'' โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี รอมบิคิวบอกทาฮีดรอน (เล็ก) (อังกฤษ: (small) rhombicuboctahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 8 หน้า และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 18 หน้า รวม 26 หน้า โดยหน้ารูปสามเหลี่ยมทุกหน้าจะมีรูปสี่เหลี่ยมล้อมอยู่โดยรอบ ทรงนี้มี 24 จุดยอด 48 ขอบ และเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) รูปทรงนี้สามารถเรียกในชื่ออื่นอีกคือ ออร์โทไบคิวโพลาสี่เหลี่ยมจัตุรัสอีลองเกต (elongated square orthobicupola).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรอมบิคิวบอกทาฮีดรอน · ดูเพิ่มเติม »

รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน

รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน (เล็ก) (อังกฤษ: (small) rhombicosidodecahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 20 หน้า รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 30 หน้า และรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า 12 หน้า รวม 62 หน้า โดยหน้ารูปห้าเหลี่ยมทุกหน้าจะล้อมรอบด้วยรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมสลับกันไป ทรงนี้มี 60 จุดยอด 120 ขอบ และเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน · ดูเพิ่มเติม »

รูปสามเหลี่ยม

รูปสามเหลี่ยม (อังกฤษ: triangle) เป็นหนึ่งในร่างพื้นฐานในเรขาคณิต คือรูปหลายเหลี่ยมซึ่งมี หรือจุดยอด และมี 3 ด้านหรือขอบที่เป็นส่วนของเส้นตรง รูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอด A, B, และ C เขียนแทนด้วย ในเรขาคณิตแบบยุคลิด จุด 3 จุดใดๆ ที่ไม่อยู่ในเส้นตรงเดียวกัน จะสามารถสร้างรูปสามเหลี่ยมได้เพียงรูปเดียว และเป็นรูปที่อยู่บนระนาบเดียว (เช่นระนาบสองมิติ).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรูปสามเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปสิบเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปสิบเหลี่ยม (decagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มี 10 ด้าน และมี 10 มุม ในภาษาอังกฤษ คำว่า "decagon" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก เอนเนอา + โกนอน δεχα, เก้า + γωνον, มุม) ส่วนคำว่า nonagon นั้น มาจากภาษาละติน โนนุส (deca "ที่เก้า" + gonon "มุม") รูปสิบเหลี่ยมปกติ หรือ รูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า นั้นมีมุมภายในมุมละ 144° ส่วนพื้นที่ของรูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า มีความยาวด้าน a เท่ากั.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรูปสิบเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปสี่เหลี่ยม

ในเรขาคณิตแบบยูคลิด รูปสี่เหลี่ยม คือรูปหลายเหลี่ยมที่มีด้านสี่ด้าน (หรือขอบ) และมุมสี่มุม (หรือจุดยอด) รูปสี่เหลี่ยมมีทั้งที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมอย่างง่าย (ไม่มีด้านที่ตัดกันเอง) และรูปสี่เหลี่ยมซับซ้อน (มีด้านที่ตัดกันเอง หรือเรียกว่ารูปสี่เหลี่ยมไขว้) รูปสี่เหลี่ยมอย่างง่ายอาจเป็นรูปสี่เหลี่ยมนูน (convex) หรือรูปสี่เหลี่ยมเว้า (concave) อย่างใดอย่างหนึ่ง มุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมอย่างง่ายรวมกันได้ 360 องศา ส่วนรูปสี่เหลี่ยมซับซ้อน เนื่องจากมุมภายในที่ด้านตรงข้ามเป็นมุมกลับ ทำให้รวมกันได้ 720 องศา รูปสี่เหลี่ยมนูนทุกรูปสามารถปูเต็มปริภูมิโดยการหมุนรอบจุดกึ่งกลางที่ด้านของมัน.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรูปสี่เหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปหกเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปหกเหลี่ยม หมายถึงเป็นรูปหลายเหลี่ยมแบบหนึ่ง ที่มีด้าน 6 ด้าน และจุดยอด 6 จุด สัญลักษณ์ชเลฟลี (Schläfli symbol) คือ มุมภายในของหกเหลี่ยมปกติ หรือหกเหลี่ยมด้านเท่า (มีความยาวด้านเท่ากันทุกด้าน และขนาดมุมเท่ากันทุกมุม) เท่ากับ 120 ° รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าก็เหมือนกับรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และสามเหลี่ยมด้านเท่า ที่สามารถวางเรียงในแนวระนาบต่อกันไปโดยไม่มีช่องว่าง (รูปหกเหลี่ยม 3 รูปจะบรรจบกัน (หกเหลี่ยม 3 รูปสามบรรจบกัน 3 มุมยอด) และมีประโยชน์มากสำหรับการสร้าง เทสเซลเลชัน (การวางรูปซ้ำๆ ต่อกันจนเต็มพื้นที่ โดยไม่ซ้อนทับ หรือมีช่องว่าง) ช่องรังผึ้งช่องหนึ่งเป็นรูปหกเหลี่ยมด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ และเนื่องจากรูปทรงนี้ทำให้สามารถใช้วัสดุการสร้างและพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับ Voronoi diagram ของตาข่ายสามเหลี่ยมด้านเท่า เป็นเทสเซลเลชั่นรังผึ้งของหกเหลี่ยมนั่นเอง พื้นที่ของหกเหลี่ยมด้านเท่า ที่มีความยาวด้าน a\,\! มีค่า A.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรูปหกเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปห้าเหลี่ยม

รูปห้าเหลี่ยมปกติ รูปห้าเหลี่ยม (pentagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มีด้าน 5 ด้าน.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรูปห้าเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปแปดเหลี่ยม

รูปแปดเหลี่ยม (octagon) คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มีด้าน 8 ด้าน มุมภายในแต่ละมุมของรูปแปดเหลี่ยมปรกติ มีขนาดเท่ากับ 135° พื้นที่ของรูปแปดเหลี่ยมปกติ ที่แต่ละด้านยาว a จะมีพื้นที.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและรูปแปดเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ลูกฟุตบอล

Adidas Telstarเป็นลวดลายของลูกฟุตบอลที่นิยมกันมากที่สุด ลูกฟุตบอล เป็นลูกบอลชนิดหนึ่งที่ใช้ในการเล่นกีฬาฟุตบอล ลูกฟุตบอลที่มีมาตราฐานนั้นต้องตรงตามกติกาของฟีฟ่า ฟุตบอลในช่วงแรกนั้นได้มีการคาดการว่าน่าจะเกิดจากการนำกระเพาะฟัสสาวะหรือกระเพาะอาหารของสัตว์มาทำซึ่งเมื่อเตะกันมากเกินไปก็จะทำให้เกิดการแตกได้ จนกระทั่งในช่วงศตวรรษที่ 19 ชาร์ล กู๊ดเยียร์ (Charles Goodyear) ได้ริเริ่มใช้ยางสังเคราะห์ในการผลิตฟุตบอลขึ้น หลังจากนั้นก็ได้มีการพัฒนารูปแบบ การวิจัยด้านเทคโนโลยี และอื่นๆเพื่อให้ลูกฟุตบอลมีประสิทธิภาพดีขึ้น.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและลูกฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

ทรงยี่สิบหน้าปลายตัด

ทรงยี่สิบหน้าปลายตัด ทรงยี่สิบหน้าปลายตัด (truncated icosahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า 12 หน้า และหน้ารูปหกเหลี่ยมด้านเท่า 20 หน้า รวม 32 หน้า รูปทรงนี้เกิดจากการนำทรงยี่สิบหน้าปรกติ (regular icosahedron) ไปตัดปลายออกทั้ง 12 มุม ให้หน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่ากลายเป็นรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า รูปทรงนี้มี 60 จุดยอด 90 ขอบ และเป็นทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงยี่สิบหน้าปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

ทรงลูกบาศก์ปลายตัด

ทรงลูกบาศก์ปลายตัด ทรงลูกบาศก์ปลายตัด หรือ ทรงหกหน้าปลายตัด (truncated cube/hexahedron) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปแปดเหลี่ยมปรกติ 6 หน้า และหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 8 หน้า รวม 14 หน้า มี 24 จุดยอด 36 ขอบ และเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) รูปทรงนี้เกิดจากการนำทรงลูกบาศก์ (cube) มาตัดปลายที่จุดยอดทั้ง 8 จุด ให้หน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสกลายเป็นรูปแปดเหลี่ยม และหน้าที่ตัดนั้นก็จะเป็นรูปสามเหลี่ยม.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงลูกบาศก์ปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

ทรงสามสิบสองหน้า

ทรงสามสิบสองหน้า ทรงสามสิบสองหน้า (icosidodecahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 20 หน้า และรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า 12 หน้า รวม 32 หน้า โดยหน้าทั้งสองประเภทจะสลับกันทุกทิศทางไม่ว่าจะมองจากมุมใด มี 30 จุดยอด 60 ขอบ ทรงสามสิบสองหน้าเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) รูปทรงนี้สามารถเรียกได้ในชื่ออื่นอีกคือ ไจโรไบโรทันดาห้าเหลี่ยม (pentagonal gyrobirotunda).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงสามสิบสองหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ทรงสามสิบสองหน้าปลายตัด

ทรงสามสิบสองหน้าปลายตัด ทรงสามสิบสองหน้าปลายตัด (truncated icosidodecahedron) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 30 หน้า หน้ารูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 20 หน้า และหน้ารูปสิบเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 12 หน้า รวม 62 หน้า แต่หน้าเรียงตัวโดยไม่มีหน้าชนิดเดียวกันอยู่ติดกัน ทรงนี้มี 120 จุดยอด 180 ขอบ และเป็นทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงสามสิบสองหน้าปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

ทรงสิบสองหน้าปลายตัด

ทรงสิบสองหน้าปลายตัด ทรงสิบสองหน้าปลายตัด (truncated dodecahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสิบเหลี่ยมด้านเท่า 12 หน้า และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 20 หน้า รวม 32 หน้า มี 60 จุดยอด 90 ขอบ และเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) รูปทรงนี้เกิดจากการตัดปลายทั้ง 20 มุมบนทรงสิบสองหน้าปรกติ (regular dodecahedron) โดยทำให้หน้ารูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า กลายเป็นรูปสิบเหลี่ยมด้านเท.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงสิบสองหน้าปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

ทรงสี่หน้าปลายตัด

ทรงสี่หน้าปลายตัด ทรงสี่หน้าปลายตัด (truncated tetrahedron) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงสี่หน้าปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

ทรงหลายหน้า

ทรงหลายหน้า (polyhedron, พหูพจน์: polyhedra) หมายถึง วัตถุทางเรขาคณิตที่ประกอบด้วยหน้าเรียบและขอบตรง ทรงหลายหน้าเป็นที่น่าหลงใหลของมนุษยชาติมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งได้ศึกษาอย่างเป็นกิจลักษณะโดยชาวกรีกโบราณ ต่อเนื่องมาจนถึงนักเรียน นักคณิตศาสตร์ และศิลปินทุกวันนี้ คำว่า polyhedron มาจากภาษากรีก πολυεδρον โดยที่ poly- มาจาก πολυς แปลว่า "มากมาย" และ -edron มาจาก εδρον แปลว่า "ฐาน, ที่นั่ง, หน้า".

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงหลายหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ทรงตันจอห์นสัน

The elongated square gyrobicupola (''J''37), a Johnson solid 24 equilateral triangle example is not a Johnson solid because it is not convex. (This is actually a stellation, the only one possible for the octahedron.) This 24-square example is not a Johnson solid because it is not strictly convex (has 180° dihedral angles.) ในทางเรขาคณิต ทรงตันจอห์นสัน หมายถึงทรงหลายหน้าที่เป็นทรงนูน และแต่ละหน้าเป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่า ที่ไม่ใช่ทรงตันเพลโต ทรงตันอาร์คิมิดีส ปริซึม และแอนติปริซึม ทรงตันจอห์นสันได้ตั้งชื่อตาม นอร์แมน จอห์นสัน นักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกัน ในปี พ.ศ. 2509 นอร์แมน จอห์นสัน ได้ค้นพบรูปทรงดังกล่าวจำนวน 92 รูป และได้ตั้งชื่อและให้หมายเลขรูปทรงต่างๆเหล่านั้น และเขาได้ตั้งข้อคาดเดาว่า รูปทรงจอห์นสันมีเพียง 92 รูปเท่านั้น ต่อมา ในปี พ.ศ. 2512 วิกเตอร์ ซาลแกลเลอร์ ได้พิสูจน์ข้อคาดเดาของจอห์นสันได้สำเร็.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงตันจอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

ทรงตันเพลโต

ทรงตันเพลโต (Platonic solid) หมายถึงทรงหลายหน้าปรกติ (regular polyhedron) ที่เป็นทรงนูน (convex) โดยจุดยอดจุดหนึ่งจะประกอบด้วยหน้ารูปหลายเหลี่ยมปรกติ (regular polygon) ชนิดเดียวกันทุกจุด โดยได้ตั้งชื่อตามชื่อของเพลโต นักปรัชญาชาวกรีก ทรงตันเพลโตมีทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงตันเพลโต · ดูเพิ่มเติม »

ทรงแปดหน้าปลายตัด

ทรงแปดหน้าปลายตัด ทรงแปดหน้าปลายตัด (truncated octahedron) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 8 หน้า และหน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 6 หน้า รวม 14 หน้า โดยหน้ารูปสี่เหลี่ยมทุกหน้าจะล้อมรอบด้วยหน้าหกเหลี่ยม 4 หน้า มี 24 จุดยอด 36 ขอบ และเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) รูปทรงนี้เกิดจากการนำทรงแปดหน้าปรกติ (regular octahedron) มาตัดปลายที่จุดยอดทั้ง 6 จุด เพื่อทำให้หน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่ากลายเป็นรูปหกเหลี่ยม และมุมที่ตัดนั้นก็จะกลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรั.

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและทรงแปดหน้าปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

คิวบอกทาฮีดรอน

วบอกทาฮีดรอน (cuboctahedron, พหูพจน์: -dra) คือทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 8 หน้า และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 6 หน้า รวม 14 หน้า โดยหน้าทั้งสองประเภทจะสลับกันทุกทิศทางไม่ว่าจะมองจากมุมใด มี 12 จุดยอด 24 ขอบ คิวบอกทาฮีดรอนเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid) รูปทรงนี้มีชื่อเรียกอื่นอีกคือ ไจโรไบคิวโพลาสามเหลี่ยม (triangular gyrobicupola).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและคิวบอกทาฮีดรอน · ดูเพิ่มเติม »

คิวบอกทาฮีดรอนปลายตัด

วบอกทาฮีดรอนปลายตัด (truncated cuboctahedron) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 12 หน้า หน้ารูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 8 หน้า และหน้ารูปแปดเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 6 หน้า รวม 26 หน้า แต่หน้าเรียงตัวโดยไม่มีหน้าชนิดเดียวกันอยู่ติดกัน ทรงนี้มี 48 จุดยอด 72 ขอบ และเป็นทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid).

ใหม่!!: ทรงตันอาร์คิมิดีสและคิวบอกทาฮีดรอนปลายตัด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Archimedean solidทรงอาร์คิมิดีสทรงอาร์คิมิเดียน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »