โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)

ดัชนี ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)

ต้นไม้ เป็น แบบชนิดข้อมูลนามธรรม ประเภทหนึ่ง มีลักษณะการเรียงเป็นกิ่งก้านสาขาแตกแขนงออกไป จะไม่มีวงวน (loop) โยงในสมาชิกตัวต่างๆ โดยสมาชิกจะถูกเก็บไว้ในประเภทข้อมูลชนิดวัตถุ (Object) หรือโครงสร้าง (Structure) เรียกว่าปม (node) ซึ่งจะมีตัวแปรซึ่งเก็บตัวชี้ (Pointer) ไปยังปมอื่นๆได้ ต้นไม้ถูกใช้ในการจัดการข้อมูลที่เปรียบเทียบกันได้ (comparable) อย่างรวดเร็วเช่น ตัวเลข หรือ การเรียงลำดับความสำคัญของข้อมูล เช่น การคำนวณที่มีวงเล็บ เป็นอาท.

9 ความสัมพันธ์: การเรียกซ้ำสัญกรณ์โอใหญ่ฮีปต้นไม้ (ทฤษฎีกราฟ)ต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาคต้นไม้แบบทวิภาคนิพจน์แบบชนิดข้อมูลนามธรรมโครงสร้างข้อมูล

การเรียกซ้ำ

การเรียกซ้ำ (recursion) หรือ การเวียนเกิด (recurrence) เป็นปรากฏการณ์ที่มีการกลับไปอ้างอิงถึงตนเอง (self-reference) หรือมีนิยามเช่นเดียวกันในลำดับต่ำลงไป ปรากฏการณ์นี้มีปรากฏในหลายด้านเช่น คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ศิลปะ ดนตรี การสร้างปฏิทรรศน์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และการเรียกซ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สัญกรณ์โอใหญ่

ตัวอย่างของสัญกรณ์โอใหญ่ โดย ''f''(''x'') ∈ O(''g''(''x'')) ซึ่งหมายความว่ามี ''c'' > 0 (เช่น ''c''.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และสัญกรณ์โอใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ฮีป

ีป อาจหมายถึง; วิทยาการคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และฮีป · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้ (ทฤษฎีกราฟ)

กราฟที่เป็นต้นไม้ ต้นไม้ คือ กราฟที่สองจุดยอดใดๆจะมีวิถีเดินทางถึงกันได้เพียงวิถีเดียว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็นกราฟที่ไม่มีวัฏจักรแต่เป็นกราฟที่เชื่อมต่อกันหมด สำหรับกราฟที่ไม่เชื่อมต่อกันหมดเราเรียกว่า ป่า (forest).

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และต้นไม้ (ทฤษฎีกราฟ) · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาค

ต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาค (binary search tree, BST) เป็นโครงสร้างข้อมูล ซึ่งใช้โครงสร้างต้นไม้ในการทำต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาคต่างจากต้นไม้แบบทวิภาคตรงที่ส่วนของต้นไม้ด้านซ้ายของข้อมูลใดๆ จะน้อยกว่าข้อมูลนั้น และส่วนของต้นไม้ด้านขวาของข้อมูลใดๆ จะมากกว่าข้อมูลนั้นเสมอ ต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาคสร้างขึ้นมาเพื่อให้เติมลบ หรือหาได้ง่าย สำหรับข้อมูลที่เปรียบเทียบกันได้ ต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาคมักใช้ในการทำโครงสร้างข้อมูลชนิดอื่นๆต่อไป.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้แบบทวิภาค

ต้นไม้ทวิภาค (binary tree) ในศาสตร์คอมพิวเตอร์ เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ซึ่งแต่ละปมมีปมลูกได้ไม่เกิน 2 ปม โดยแยกออกเป็นปมด้านซ้าย และปมด้านขวา ปมที่มีปมลูก เรียกว่า ปมพ่อแม่ และปมลูกอาจมีรีเฟอร์เรนซ์ไปยังปมพ่อแม่ของมัน ในโครงสร้างแบบต้นไม้จะมีปม ๆ หนึ่งเป็นปมบรรพบุรุษของทุกปม เราเรียกปมนี้ว่าปมราก การเข้าถึงปมทุกปมในโครงสร้างแบบต้นไม้ทำได้โดยเริ่มต้นจากปมราก และใช้รีเฟอร์เรนซ์ของปมนั้นท่องไปตามปมลูกด้านซ้ายและด้านขวาของมัน ต้นไม้ที่มีเฉพาะปมราก เรียกว่าต้นไม้ว่าง (null tree) ในต้นไม้ทวิภาค กิ่งหรือดีกรีของทุก ๆ ปมมีค่ามากที่สุดได้ไม่เกิน 2 ต้นไม้ที่มีปมจำนวน 'n' ปมจะมีกิ่งได้ไม่เกิน 'n-1' กิ่ง ต้นไม้ทวิภาคมักใช้สำหรับต้นไม้ค้นหาทวิภาค (binary search trees) และฮีพทวิภาค (binary heaps).

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และต้นไม้แบบทวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

นิพจน์

นิพจน์ อาจหมายถึงนรคใรขรยรว.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และนิพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

แบบชนิดข้อมูลนามธรรม

แบบชนิดข้อมูลนามธรรม หมายถึงแบบชนิดข้อมูลซึ่งแสดงถึงระบบการจัดการข้อมูล โดยแสดงถึงบริการและกฎเกณฑ์ในการจัดการข้อมูลนั้น ๆ แต่ไม่ได้กล่าวถึงวิธีการสร้างบริการต่าง.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และแบบชนิดข้อมูลนามธรรม · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างข้อมูล

ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ โครงสร้างข้อมูล เป็นวิธีการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บ่อยครั้งที่การเลือกโครงสร้างข้อมูลที่เหมาะสมจะทำให้เราสามารถเลือกใช้ขั้นตอนวิธีที่มีประสิทธิภาพไปพร้อมกันได้ การเลือกโครงสร้างข้อมูลนั้นโดยส่วนใหญ่แล้วจะเริ่มต้นจากการเลือกแบบชนิดข้อมูลนามธรรม โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบเป็นอย่างดีจะสามารถรองรับการประมวลผลที่หนักหน่วงโดยใช้ทรัพยากรที่น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ทั้งในแง่ของเวลาและหน่วยความจำ โครงสร้างข้อมูลแต่ละแบบจะเหมาะสมกับงานที่แตกต่างกัน และโครงสร้างข้อมูลบางแบบก็ออกแบบมาสำหรับบางงานโดยเฉพาะ อย่างเช่น ต้นไม้แบบบีจะเหมาะสำหรับระบบงานฐานข้อมูล ในกระบวนการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโครงสร้างข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกที่ต้องคำนึงถึง ซึ่งจากการพัฒนาระบบงานใหญ่ๆได้แสดงให้เห็นว่า ความยากในการพัฒนาและประสิทธิภาพของระบบจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างข้อมูลที่เลือกใช้อย่างมาก หลังจากตัดสินใจเลือกโครงสร้างข้อมูลที่จะใช้แล้วก็มักจะทราบถึงขั้นตอนวิธีที่ต้องใช้ได้ทันที แต่ในบางครั้งก็อาจจะกลับกัน คือ การประมวลผลที่สำคัญๆของโปรแกรมได้มีการใช้ขั้นตอนวิธีที่ต้องใช้โครงสร้างข้อมูลบางแบบโดยเฉพาะ จึงจะทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ถึงอย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเลือกโครงสร้างข้อมูลด้วยวิธีการใด โครงสร้างข้อมูลที่เหมาะสมก็เป็นสิ่งที่สำคัญมากอยู่ดี แนวความคิดในเรื่องโครงสร้างข้อมูลนี้ส่งผล กับการพัฒนาวิธีการมาตรฐานต่างๆในการออกแบบและเขียนโปรแกรม หลายภาษาโปรแกรมนั้นได้พัฒนารวมเอาโครงสร้างข้อมูลนี้ไว้เป็นส่วนหนึ่งของระบบโปรแกรม เพื่อประโยชน์ในการใช้ซ้ำ.

ใหม่!!: ต้นไม้ (โครงสร้างข้อมูล)และโครงสร้างข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

โครงสร้างข้อมูลต้นไม้

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »