โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดิจิทัล เลดี้

ดัชนี ดิจิทัล เลดี้

ทัล เลดี้ (Chobits) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ที่ได้รับความนิยม แต่งขึ้นโดยกลุ่มนักวาดการ์ตูน แคลมป์ มีเนื้อหา อยู่ในอนาคตในยุคที่มนุษย์มีความสามารถในการประดิษฐ์ คอมพิวเตอร์ ให้มีลักษณะเหมือนคนได้ โดยเนื้อเรื่องจะพูดถึงการตามหา "คนของฉันคนเดียว" ของคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่ชื่อว่า ชี ลิขสิทธิ์เวอร์ชันหนังสือการ์ตูนเป็นของสำนักพิมพ์ โคดันฉ.

18 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2550การ์ตูนญี่ปุ่นริเอะ ทะนะกะสำนักพิมพ์โคดันชะหน่วยประมวลผลกลางทีบีเอสคอมพิวเตอร์คิกุโกะ อิโนะอุเอะแมดเฮาส์แคลมป์โทะโมะกะซุ ซุงิตะโคบาโตะเซเน็งเนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์2 เมษายน24 กันยายน

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และการ์ตูนญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ริเอะ ทะนะกะ

ริเอะ ทะนะกะ เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เริ่มเข้าสู่วงการเมื่อปี..

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และริเอะ ทะนะกะ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพิมพ์โคดันชะ

ำนักพิมพ์โคดันชะ สำนักพิมพ์โคดันชะ เป็นสำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น ตีพิมพ์วรรณกรรม และหนังสือการ์ตูน เป็นหลัก สำนักงานใหญ่ของสำนักพิมพ์โคดันชะตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว สำนักพิมพ์โคดันชะมีหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์หลักๆ ได้แก่ นากาโยชิ อาฟเตอร์นูน และโชเน็นแม็กกาซีน.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และสำนักพิมพ์โคดันชะ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยประมวลผลกลาง

หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรือย่อว่า ซีพียู (CPU) เป็นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทำงาน หรือประมวลผล ตามชุดของคำสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คำนี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 1960s หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และหน่วยประมวลผลกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ทีบีเอส

ทีบีเอส (TBS) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และทีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คิกุโกะ อิโนะอุเอะ

กุโกะ อิโนะอุเอะ เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เริ่มเข้าสู่วงการนักพากย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 โดยผลงานเรื่องแรกเป็นบทตัวประกอบเล็กๆในเรื่อง ฮาย อักโกะเดสึ ต่อมาก็ได้แจ้งเกิดจากบทของ เท็นโด้ คาซึมิ พี่สาวที่แสนอ่อนโยนในเรื่อง รันม่า ½ และจากบทนี้นี่เองที่ทำให้เธอมีชื่อเล่นในวงการว่า "โอเน่จัง" (พี่สาว) จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 อิโนอุเอะก็ได้รับบทเป็น เบลดันดี้ ในเรื่อง โอ้! เทพธิดา ส่งผลให้ชื่อเสียงของเธอเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง แต่ถึงแม้อิโนอุเอะจะได้พากย์แต่บทสาวหวานๆ สไตล์อ่อนโยนเสียมาก แต่บางครั้งก็ได้พากย์เสียงสาวสไตล์โหดดิบ เช่น แพนเธอร์ ใน เซเบอร์มาริโอเน็ต J และ โลเบเลีย ใน ซากุระไทเซ็น 3 ด้วยเช่นกัน สัญลักษณ์ประจำตัวของเธอคือ ปลาพระอาทิตย์สีแดง.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และคิกุโกะ อิโนะอุเอะ · ดูเพิ่มเติม »

แมดเฮาส์

แมดเฮาส์ (Madhouse) เป็นบริษัทผลิตภาพยนตร์แอนิเมชันของญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1972 โดยอดีตสมาชิก 4 คนที่แยกตัวออกมาจากบริษัท มุชิโปรดักชัน ได้แก่ มารุยามะ มาซาโอะ เดซากิ โอซามุ ริน ทาโร่ และ คาวาจิริ โยชิอากิ สร้างสรรค์ผลงานแอนิเมชันมาแล้วมากมายหลายเรื่อง.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และแมดเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลมป์

กลุ่มนักวาดการ์ตูน CLAMP จากซ้ายไปขวา: เนโกอิ ซึบากิ โอกาวะ อาเกฮะ อิการะชิ ซาซึกิ และ โมโคนะ แคลมป์ (CLAMP) คือกลุ่มนักวาดการ์ตูนของญี่ปุ่น โดยเริ่มก่อตั้งเป็น Clamp ณ ปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) โดยในช่วงแรกมีนักวาดทั้งหมด 12 คน และในปีต่อมา 2533 สมาชิกลดลงเหลือ 7 คน และในปัจจุบันมีทั้งหมด 4 คน โดยมีผลงานที่เป็นที่รู้จักมากมายเช่น โตเกียวบาบิโลน, เอกซ์ พลังล้างโลก, เมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ, ซากุระ มือปราบไพ่ทาโร่, สมองกลนักสู้, ดิจิทัล เลดี้, TSUBASA-RESERVoir CHRoNiCLE-, XXXHOLiC, CODE GEASSโค้ดกีอัส ซึ่งมีผลงานทั้ง หนังสือการ์ตูน ภาพวาด แอนิเมชัน และ แม็กกาซีน.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และแคลมป์ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโมะกะซุ ซุงิตะ

ทะโมะกะซุ ซุงิตะ เป็นนักพากย์การ์ตูนชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2523 ที่จังหวัดไซตามะ สังกัดค่ายอะตอมมิกมังกี้ มีความนับถือในตัวฮิคารุ มิโดริคาว.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และโทะโมะกะซุ ซุงิตะ · ดูเพิ่มเติม »

โคบาโตะ

() เป็นการ์ตูนซึ่งเป็นผลงานของ แคลมป์ อีกชิ้นหนึ่ง เคยตีพิมพ์ลงในนิตยสารการ์ตูนในญี่ปุ่น ชื่อ ซันเดย์ Gene-X รายเดือน ในเดือน มกราคม พ.ศ. 2548 แต่ตีพิมพ์ได้ไม่นานก็หายไป จากนั้นเรื่องนี้ได้กลับมาตีพิมพ์ใหม่ในนิตยสารการ์ตูน นิวไทป์ เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และฉบับรวมเล่มเล่มแรกออกเมื่อ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2550 ส่วนแอนิเมชั่นญี่ปุ่นนั้น เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ความยาวทั้งหมด 24 ตอน.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และโคบาโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เซเน็ง

ซเน็ง เป็นแนวการ์ตูนญี่ปุ่นที่เน้นกลุ่มผู้ชายอายุ 18-25 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก มีเนื้อหาที่หลากหลาย เช่น แนวทดลอง แนวเน้นความน่ารักของตัวละครเป็นจุดขาย และแนวที่เน้นความรุนแรง ด้วยเหตุนี้การ์ตูนแนวเซเน็งหลายเรื่องจึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มโชโจะ และโชเน็น ด้วย การที่จะบอกว่าการ์ตูนเรื่องใดเป็นการ์ตูนเซเน็งคือการดูว่าตัวอักษรคันจิเป็นตัวอะไร ถ้ามีกำกับส่วนมากจะเป็นแนวเซเน็ง ถ้าไม่มีแสดงว่าการ์ตูนเรื่องนั้นมีเป้าหมายเป็นกลุ่มอื่น การดูนิตยสารที่ตีพิมพ์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง โดยนิตยสารการ์ตูนที่ขึ้นต้นชื่อด้วยคำว่า "ยัง" (young) คือ ต่ำกว่า 16 ห้ามอ่าน มักจะเป็นนิตยสารการ์ตูนเซเน็ง เช่น ยังจัมป์ ยังแอนิมอล เป็นต้น นิตยสารการ์ตูนเซเน็ง อื่น ๆ ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อุลตร้าจัมป์ อาฟเตอร์นูน และบิ๊กคอมิก.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และเซเน็ง · ดูเพิ่มเติม »

เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์

ำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ (Nation Edutainment) เป็นสำนักพิมพ์ในเครือเนชั่นกรุ๊ป โดยพิมพ์การ์ตูนญี่ปุ่นเป็นหลัก นิตยสารการ์ตูนญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักคือ บูม (BOOM) นอกจากนี้ยังมีนิตยสารการ์ตูนญี่ปุ่นอีกเล่มคือ จิโร่ (JIRO) (ซึ่งปัจจุบันนิตยสารทั้งสองเล่มนี้ได้ถูกยุติการตีพิมพ์แล้ว).

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และเนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ดิจิทัล เลดี้และ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Chobitsดิจิทัล เลดี้ (ภาคอนิเมชั่น)ดิจิตัล เลดี้

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »