โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดนูเวบาบิซคายา

ดัชนี จังหวัดนูเวบาบิซคายา

ังหวัดนูเวบาบิซคายา (อีโลกาโน: Probinsia ti Nueva Vizcaya) เป็นจังหวัดในเขตลัมบักนางคากายันของประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือบาโยมโบง อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเบงเกตทางทิศตะวันตก, ติดกับจังหวัดอิฟูเกาทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดอีซาเบลาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ติดกับจังหวัดคีรีโนทางทิศตะวันออก, ติดกับจังหวัดเอาโรรา‎ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้, ติดกับจังหวัดนูเวบาเอซีฮาทางทิศใต้ และติดกับจังหวัดปังกาซีนันทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่เขตเทือกเขาคอร์ดิลเลรัส จังหวัดนูเวบาบิซคายามีพื้นที่ 3,975.67 ตารางกิโลเมตร และเป็นจังหวัดใต้สุดของเขตลัมบักนางคากายัน อยู่ห่างจากเมโทรมะนิลาไปทางทิศเหนือประมาณ สามารถเดินทางได้โดยถนนลัมบักนางคากายัน (ทางหลวงมาฮาร์ลิกา).

17 ความสัมพันธ์: บารังไกย์บาโยมโบงภาษาอังกฤษภาษาอีโลกาโนภาษาตากาล็อกภาษาปังกาซีนันจังหวัดบิซกายาจังหวัดอีซาเบลาจังหวัดคีรีโนจังหวัดปังกาซีนันจังหวัดนูเวบาเอซีฮาซังกูเนียงปันลาลาวีกันประเทศฟิลิปปินส์ประเทศสเปนแคว้นประเทศบาสก์เมโทรมะนิลาเขตลัมบักนางคากายัน

บารังไกย์

รังไกย์ เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นของรัฐบาลที่เล็กที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ เป็นคำที่ชาวฟิลิปปินส์พื้นเมืองสำหรับหมู่บ้านตำบลหรือวอร์ด ในการใช้งานเป็นภาษาพูดคำที่มักจะหมายถึงเขตเมืองชั้นในย่านชานเมืองหรือย่านชานเมือง คำว่าบารังไกย์คำมาจาก Balangay ชนิดของเรือที่ใช้โดยกลุ่มของประชาชนออสโตรนีเชียน เมื่อพวกเขาอพยพไปอยู่ในฟิลิปปินส์ ในเขตเทศบาลเมืองและเมืองที่มีองค์ประกอบของเกส์และพวกเขาอาจจะถูกแบ่งออกเป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่เรียกว่า Purok (ไทย:เขต) และ Sitio ซึ่งเป็นดินแดนที่อยู่ภายในวงล้อมรังเกย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชนบท ณ วันที่ 30 กันยายน 2012 จำนวนบารังไกย์มีจำนวน 42,028 บารังไกย์ทั่วฟิลิปปิน.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและบารังไกย์ · ดูเพิ่มเติม »

บาโยมโบง

ทศบาลบาโยมโบง เป็นเทศบาลหลักของจังหวัดนูเวบาบิซคายา ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดนูเวบาบิซคายา ประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและบาโยมโบง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโลกาโน

ษาอีโลกาโนเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาชาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและภาษาอีโลกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปังกาซีนัน

ษาปังกาซีนัน (ฟิลิปีโนและPangasinan) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาเลโย-พอลินีเชียน มีผู้พูดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปังกาซีนัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปังกาซีนันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและภาษาปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิซกายา

บิซกายา (Bizkaia; Vizcaya) เป็นจังหวัดทางตอนเหนือของประเทศสเปน อยู่ในแคว้นประเทศบาสก์ เมืองหลักของจังหวัดคือบิลบาโอ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 จังหวัดบิซกายาเคยเป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่สำคัญของสเปน บิซกายา หมวดหมู่:แคว้นประเทศบาสก์.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและจังหวัดบิซกายา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีซาเบลา

ังหวัดอีซาเบลา (อีโลกาโน: Probinsia ti Isabela; Lalawigan ng Isabela) เป็นจังหวัดที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะลูซอน เมืองหลักคืออีลากัน ตั้งอยู่ในเขตลัมบักนางคากายัน อยู่ติดกับจังหวัดคากายันทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดกาลิงกาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับจังหวัดเมาน์เทนทางทิศตะวันตก, ติดกับจังหวัดอีฟูเกาและนูเวบาบิซคายาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้, ติดกับจังหวัดคีรีโนและเอาโรรา‎ทางทิศใต้ และติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก ผลผลิตทางเกษตรกรรมที่สำคัญได้แก่ ข้าว และข้าวโพด ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและจังหวัดอีซาเบลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคีรีโน

ังหวัดคีรีโน (อีโลกาโน: Probinsia ti Quirino) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตลัมบักนางคากายันของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งชื่อตามเอลปิดิโอ กีริโน ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 6 เมืองหลักคือคาบาร์โรกิส จังหวัดคีรีโน มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเอาโรรา‎ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้, จังหวัดนูเวบาบิซคายาทางทิศตะวันตก และจังหวัดอีซาเบลาทางทิศเหนือ จังหวัดคีรีโนเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนูเวบาบิซคายา จนถึงปี..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและจังหวัดคีรีโน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปังกาซีนัน

ังหวัดปังกาซีนัน (ปังกาซีนัน: Luyag na Pangasinan; อีโลกาโน: Probinsia ti Pangasinan; Lalawigan ng Pangasinan) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือลิงกาเยน ตั้งอยู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะลูซอน ติดกับอ่าวลิงกาเยนและทะเลจีนใต้ จังหวัดมีพื้นที่ สำหรับในปี..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและจังหวัดปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนูเวบาเอซีฮา

ังหวัดนูเวบาเอซีฮา (ตากาล็อก: Lalawigan ng Nueva Ecija; อีโลกาโน: Probinsia ti Nueva Ecija; กาปัมปางัน: Lalawigan ning Nueva Ecija; ปังกาซีนัน: Luyag na Nueva Ecija) (034900000; '''ISO''': PH-NUE) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในเขตกิตนางลูโซน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือปาลายัน อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดบูลาคัน, ปัมปังกา, ตาร์ลัก, ปังกาซีนัน, นูเวบาบิซคายา และเอาโรรา โดยจังหวัดนูเวบาเอซีฮามีแหล่งปลูกข้าวที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ จึงได้รับสมญาว่า ชามข้าวแห่งฟิลิปปิน.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและจังหวัดนูเวบาเอซีฮา · ดูเพิ่มเติม »

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน (Sangguniang Panlalawigan; Provincial Council) หรือ โปรวินเชียลบอร์ด เป็นคำภาษาฟิลิปีโนที่ใช้เรียกแทนสภานิติบัญญัติประจำจังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์ อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัตินี้ ถูกกำหนดโดย ประมวลรัฐบาลท้องถิ่น ตั้งแต..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและซังกูเนียงปันลาลาวีกัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นประเทศบาสก์

ประเทศบาสก์ (Basque Country), ประเทศบัสโก (País Vasco) หรือ เอวส์กาดี (Euskadi) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งในภาคเหนือของราชอาณาจักรสเปน ประกอบด้วยจังหวัดกีปุซโกอา จังหวัดบิซกายา และจังหวัดอาลาบา ประเทศบาสก์หรือแคว้นประเทศบาสก์มีสถานะเป็น "ชาติ" (nationality) ภายในประเทศสเปนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน พ.ศ. 2521 แคว้นปกครองตนเองแห่งนี้มีพื้นฐานอยู่บนธรรมนูญการปกครองตนเองแห่งประเทศบาสก์ ซึ่งเป็นกฎหมายมูลฐานที่กำหนดกรอบการพัฒนาของชาวบาสก์บนแผ่นดินสเปน อย่างไรก็ดี ดินแดนนาวาร์ซึ่งมีชาวบาสก์อาศัยอยู่เช่นกันก็ได้รับการจัดตั้งเป็นแคว้นปกครองตนเองแยกต่างหาก ปัจจุบันแคว้นประเทศบาสก์ไม่มีเมืองหลักอย่างเป็นทางการ แต่เมืองที่เป็นที่ตั้งของสภานิติบัญญัติบาสก์และสำนักประธานแคว้นปกครองตนเองคือบีโตเรีย-กัสเตย์ซซึ่งอยู่ในจังหวัดอาลาบา ขณะที่บีโตเรีย-กัสเตย์ซเป็นเขตเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดในแง่เนื้อที่ (276.81 ตารางกิโลเมตรหรือ 106.88 ตารางไมล์) บิลบาโอซึ่งอยู่ในจังหวัดบิซกายาก็เป็นเขตเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดในแง่ประชากร โดยมีประชากรจำนวน 345,141 คน ภายในเขตเมืองขยายที่มีประชากรอาศัยอยู่กว่า 900,000 คน ณ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและแคว้นประเทศบาสก์ · ดูเพิ่มเติม »

เมโทรมะนิลา

มหานครมะนิลาRepublic of the Philippines.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและเมโทรมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

เขตลัมบักนางคากายัน

ลัมบักนางคากายัน (Lambak ng Cagayan; Cagayan Valley; อีโลคาโน: Tanap ti Cagayan; อีบานัก: Tana' na Cagayan; อีตาวิส: Tanap yo Cagayan) หรือ เขตที่ 2 เป็นเขตการปกครองระดับบนสุดเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน ประกอบด้วยจังหวัด 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบาตาเนส, จังหวัดคากายัน, จังหวัดอีซาเบลา, จังหวัดนูเวบาบิซคายา และจังหวัดคีรีโน และมีนคร 4 แห่ง ได้แก่ คาวายัน, อีลากัน, ซันเตียโก และตูเกกาเรา พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในหุบเขาทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ อยู่ระหว่างทิวเขาคอร์ดิลเยรา‎กับซีเยร์รามาเดร แม่น้ำสายสำคัญคือแม่น้ำคากายัน ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่สองของประเทศ ไหลจากทิวเขาคาราบัลโยทางทิศใต้ ไปสู่ช่องแคบลูซอนทางทิศเหนือ เขตนี้ยังครอบคลุมถึงหมู่เกาะบาบูยันและกลุ่มเกาะบาตาเนสทางทิศเหนืออีกด้วย ลัมบักนางคากายันเป็นเขตที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศ รองจากเขตมีมาโรป.

ใหม่!!: จังหวัดนูเวบาบิซคายาและเขตลัมบักนางคากายัน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »