โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จตุรพักตร์

ดัชนี จตุรพักตร์

ตุรพักตร์ (พรหม) มีนามเดิมว่า ท่าวมหาอัชดาหรือธาดา เป็นผู้ครองกรุงลงกาองค์แรก มเหสีคือนางมลิกา โอรสเป็นยักษ์สี่มือ ชื่อ ลัสเตียน อาวุธคือตรีศูล คทา และฉัตรแก้ว มีบุษบกแก้วเป็นอากาศยานวิเศษ ท้าวจตุรพักตร์นี้เป็นน้องท้าวมาลีวัคคพรหมหรือท้าวมาลีวราช ดังนั้นในรามเกียรติ์ทศกัณฐ์จีงถือว่าตนเป็นวงศ์พรหม.

5 ความสัมพันธ์: รามเกียรติ์ทศกัณฐ์ท้าวลัสเตียนคทาตรีศูล

รามเกียรติ์

ตัวละครหลักที่ปรากฏในเรื่อง มีดังนี้ ฝ่ายพระราม.

ใหม่!!: จตุรพักตร์และรามเกียรติ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศกัณฐ์

ระยาพรหมาภิบาล (ทองใบ สุวรรณภารต) ทศกัณฐ์ทรงศร ทศกัณฐ์ทรงหอกกบิลพัท ทศกัณฐ์ (ผู้มีสิบคอ คือ มีสิบหัว) เป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ ดัดแปลงมาจากตัวละคร ราวณะ ในมหากาพย์ฮินดูเรื่อง รามายณ.

ใหม่!!: จตุรพักตร์และทศกัณฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวลัสเตียน

ท้าวลัสเตียน (อสุรพงศ์) เป็นบุตรของท้าวจตุรพักตร์กษัตริย์ผู้ครองเมืองลงกาองค์ที่ ๑ และนางมลิกา ท้าวลัสเตียนเป็นกษัตริย์ครองเมืองลงกาองค์ที่ ๒ มีมเหสี ๕ พระองค์ มีโอรสและธิดาทั้งหมด ๑๑ อง.

ใหม่!!: จตุรพักตร์และท้าวลัสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

คทา

thumb คทา (แบบบริติช: Sceptre, แบบอเมริกัน: Scepter) คือกระบองที่ทำมาจากไม้หรือโลหะ เช่น เงิน หรือ ทอง มักประดับประดาด้วยเพชรพลอย มีลักษณะสั้นบ้างยาวบ้างแล้วแต่การออกแบบและใช้งาน มีที่มาจากกระบองที่ใช้เป็นอาวุธในสงคราม จากตำนานเทพปกรณัมของกรีก แต่เดิมคทาเป็นของเทพอพอลโล คทาถูกใช้โดยกษัตริย์มาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณ ในยุคกลางคทาถูกใช้โดยกษัตริย์สื่อถึงอำนาจ เป็นหนึ่งในเครื่องทรงอันประกอบด้วย มงกุฎ คทา กระบี่ สายสะพาย เหรียญตรา เสื้อคลุมหรือผ้าคลุมนิยมปักเป็นลวดลาย คทาเป็นเครื่อประดับยศของทหารยศจอมพลด้วย และบางครั้งก็ถูกใช้โดยนักบว.

ใหม่!!: จตุรพักตร์และคทา · ดูเพิ่มเติม »

ตรีศูล

ตรีศูล หรือย่อว่า ตรี (Trishula; त्रिशूल, trishūla) เป็นประเภทของสามง่ามในวัฒนธรรมอินเดีย แต่ก็พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยเช่นกัน ตรีศูลมักใช้เป็นสัญลักษณ์ในศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา คำนี้มีความหมายว่า "หอกสามเล่ม" ในภาษาสันสกฤตและภาษาบาลี.

ใหม่!!: จตุรพักตร์และตรีศูล · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »