โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำรณ สัมบุญณานนท์

ดัชนี คำรณ สัมบุญณานนท์

ำรณ สัมบุณณานนท์ เป็นชื่อจริงนามสกุลจริง เขาเป็นชาวกรุงเทพฯโดยกำเนิด เกิดเมื่อ 7 มกราคม พ.ศ. 2463 ที่บ้านหลังวัดเกาะสัมพันธวงศ์ ถนนทรงวาด (ทรงสวัสดิ์) แต่บางคนบอกว่าเขาน่าจะเป็นชาวสุพรรณบุรี โดยวิเคราะห์เอาจากสำเนียงที่ร้องออกมา เขาจบการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย มีเพลงที่เป็นที่รู้จัก เช่น มนต์การเมือง ตาศรีกำสรวล คนบ้ากัญชา ตามนางกลับนา ชีวิตครู คนขายยา คำสั่งพ่อ คนพเนจร ชายใจพระ กรรมกรรถราง คนแก่โลก คนไม่รักดี ชีวิตช่างไฟ ชีวิตช่างตัดผม ชีวิตบ้านนา เป็นต้น แนวการร้องเพลงของคำรณ สัมบุณณานนท์ ได้รับอิทธิพลมาจากครูแสงนภา บุญญราศรี เริ่มเข้าสู่วงการจากการประกวดร้องเพลงในงานวัด ในปี..

14 ความสัมพันธ์: ชัยชนะ บุญนะโชติชาญ เย็นแขพ.ศ. 2463พ.ศ. 2512ก้าน แก้วสุพรรณสุรพล สมบัติเจริญสถาบันบำราศนราดูรจังหวัดนนทบุรีถนนทรงวาดไพบูลย์ บุตรขันเพลงเพื่อชีวิตเหม เวชกร30 กันยายน7 มกราคม

ชัยชนะ บุญนะโชติ

ัยชนะ บุญนะโชติ เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) ปี 2541 จากผลงานการนักร้องลูกทุ่งเสียงดี และสร้างสรรค์ผลงานเพลงฮิตมากมาย นอกจากนั้นก็ยังมีความสามารถในด้านศิลปะการแสดงภาคกลางเช่นลิเก ลำตัด เพลงอีแซว การแสดงตลก รวมถึงการแต่งเพลง ชัยชนะ ได้สร้างนักร้องลูกทุ่งประดับวงการไว้หลายคน โดยหนึ่งในจำนวนนั้นก็คือ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ปัจจุบันแม้จะอยู่ในวงการมานานถึงครึ่งศตวรรษ ชัยชนะ บุญนะโชติ ก็ยังคงรับงานร้องเพลงทั่วไป รวมทั้งงานทำขวัญนาค เช่นที่เคยทำมานานหลายสิบปี.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และชัยชนะ บุญนะโชติ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญ เย็นแข

ญ เย็นแข (10 กันยายน พ.ศ. 2469 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง ที่มีชื่อเสียงจากเพลง "ค่าน้ำนม" ชาญ เย็นแข เกิดที่กรุงเทพมหานคร ที่ย่านเสาชิงช้า จบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ แล้วเริ่มเป็นนักร้องประกวดตามงานวัดในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ใช้ชื่อว่า "เอี่ยวพญา" โดยเพลงที่ประกวดงานวัดครั้งแรกในชีวิตของเขาเกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และชาญ เย็นแข · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

ก้าน แก้วสุพรรณ

ก้าน แก้วสุพรรณ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี มีน้ำเสียงหวานไพเราะ และได้ชื่อว่าเป็นนักร้องผู้เปิดตำนานนักร้องจากแดนสุพรรณ เมืองที่ผลิตนักร้องลูกทุ่งระดับตำนานประดับวงการเพลงลูกทุ่งมากมาย ก้าน แก้วสุพรรณ มีผลงานเพลงดังมากมาย แต่ที่สร้างชื่อเสียงอย่างมากให้กับเขาก็คือเพลง “น้ำตาลก้นแก้ว”.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และก้าน แก้วสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล สมบัติเจริญ

รพล สมบัติเจริญ หรือ พันจ่าอากาศโทลำดวน สมบัติเจริญ เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2473 เป็นคนสุพรรณบุรีโดยกำเนิด เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของเพลงดัง "16 ปีแห่งความหลัง".

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และสุรพล สมบัติเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบำราศนราดูร

ันบำราศนราดูร เป็นโรงพยาบาลในสังกัดกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ตั้งอยู่ ณ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และสถาบันบำราศนราดูร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนทรงวาด

อาคารเก่าแก่ริมถนนทรงวาด ถนนทรงวาด (อักษรโรมัน: Thanon Song Wat) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในย่านเยาวราช ถนนทรงวาด กำเนิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วาดแนวถนนเส้นนี้ลงบนแผนที่เพื่อลดความแออัดของพื้นที่ในย่านสำเพ็งหลังจากเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ ถนนทรงวาดมีความยาวทั้งสิ้น 1,196 เมตร กินพื้นที่ตั้งแต่แขวงสัมพันธวงศ์ และแขวงตลาดน้อย การตัดถนนทรงวาดแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกเมื่อ..

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และถนนทรงวาด · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ บุตรขัน

ูลย์ บุตรขัน (4 กันยายน พ.ศ. 2459 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2515) นักแต่งเพลง และนักเขียนบทละคร ที่มีผลงานที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก จนได้รับการขนานนามให้เป็น "อัจฉริยะนักแต่งเพลงอันดับหนึ่งของไทย".

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และไพบูลย์ บุตรขัน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เหม เวชกร

หม เวชกร (17 มกราคม พ.ศ. 2446 - 16 เมษายน พ.ศ. 2512) ศิลปินจิตรกรชาวไทย ที่มีผลงานเด่นแนวเหมือนจริงเช่น ภาพวิจิตรชุดวรรณคดีไทย, นางงามในวรรณคดี, ชีวประวัติสุนทรภู่, ภาพประวัติศาสตร์ไทย, ราชาธิราชและกากี และพระลอภาพวิจิตร เป็นต้น.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และเหม เวชกร · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คำรณ สัมบุญณานนท์และ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คำรณ สัมบุญญานนท์คำรณ สัมบุณณานนท์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »