โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คาวามูระ ฮายาโตะ

ดัชนี คาวามูระ ฮายาโตะ

คาวามูระ ฮายาโตะ เป็นตัวละครจากเรื่องฮาเล็มบีท จังหวะคนจริง เป็นนักกีฬาบาสเกตบอล ตำแหน่งชู้ตติ้งการ์ด โรงเรียนอาชีวะคานาซาวะคิตะ หมวดหมู่:ตัวละครฮาเล็มบีท จังหวะคนจริง.

3 ความสัมพันธ์: ชู้ตติ้งการ์ดฮาเล็มบีท จังหวะคนจริง20 กันยายน

ชู้ตติ้งการ์ด

ู้ตติ้งการ์ด (shooting guard.) เป็นหนึ่งในตำแหน่งผู้เล่นในทีมบาสเกตบอล มักจะตัวเตี้ยกว่า ผอมกว่า และเร็วกว่าฟอร์เวิร์ด และมักรับหน้าที่ทำคะแนนและคุมผู้เล่นวงนอกที่เก่งที่สุดของของฝ่ายตรงข้าม ชื่อเรียกอื่นชู้ตติ้งการ์ดได้แก่ ทูการ์ด (2-guard), บิ๊กการ์ด (big guard) และ ออฟการ์ด (off guard) แต่บางทีมก็มอบหมายหน้าที่ในการนำลูกเข้าแดนฝ่ายตรงข้ามด้วย เรียกผู้เล่นเหล่านี้ว่า คอมโบการ์ด (combo guard) ชู้ตติ้งการ์ดหลายคนที่มีรูปร่างใหญ่สามารถเล่นตำแหน่งสมอลฟอร์เวิร์ดได้ด้วย ผู้เล่นที่สามารถเล่นสลับระหว่างชู้ตติ้งการ์ดกับสมอลฟอร์เวิร์ดเรียกว่า สวิงแมน (swingman) แม้ว่าชู้ตติ้งการ์ดหลายคนเป็นผู้ที่สามารถจัมพ์ชู้ต (jump shoot, ชู้ตลูกระหว่างการกระโดด) ระยะไกลได้ดีที่สุดในทีม ส่วนใหญ่ยังสามารถนำลูกไปทำคะแนนใกล้ห่วงได้ดีอีกด้วย ชู้ตติ้งการ์ดที่ดีควรมีทักษะการส่งลูกที่ดีพอควรแต่หน้าที่หลักของชู้ตติ้งการ์ดคือการทำคะแนน ส่วนการแจกจ่ายลูกมักปล่อยเป็นหน้าที่ของพอยท์การ์ด ชู้ตติ้งการ์ดในระดับอาชีพมักสูงระหว่าง 6 ฟุต 2 นิ้ว (1.88 เมตร) ถึง 6 ฟุต 9 นิ้ว (2.06 เมตร) ไมเคิล จอร์แดน (Michael Jordan) นักบาสเกตบอลที่มีชื่อเสียงที่สุดในประวัติศาสตร์ก็เป็นชู้ตติ้งการ์ด แต่ทักษะการเข้าไปทำคะแนนใต้แป้นทำให้มองว่าเขาเล่นเหมือนสมอลฟอร์เวิร์ดมากกว่า ในทางกลับกัน เรกจี มิลเลอร์ (Reggie Miller) เล่นในแบบฉบับของชู้ตติ้งการ์ด มีท่าจัมพ์ชู้ตที่แม่นยำ ตัวอย่างชู้ตติ้งการ์ดอื่นที่สำคัญในอดีตเช่น.

ใหม่!!: คาวามูระ ฮายาโตะและชู้ตติ้งการ์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเล็มบีท จังหวะคนจริง

ล็มบีท จังหวะคนจริง เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวโชเน็นและกีฬา เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับกีฬาบาสเกตบอลและการเรียนรู้ชีวิตของวัยรุ่น จากจุดเล็ก ๆ โดยเริ่มจากสตรีทบาสเกตบอล จนสามารถก้าวเข้าไปสู่การแข่งขันอินเตอร์ไฮระดับประเทศของญี่ปุ่น เรื่องและภาพโดย ยูริโกะ นิชิยามะ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นแม็กกาซีน ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2537 ถึง พ.ศ. 2543 ลิขสิทธิ์โดยสำนักพิมพ์โคดันฉะ โตเกียว จำกัด ส่วนฉบับรวมเล่มมีทั้งหมด 29 เล่ม ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นเกมเพลย์สเตชัน โดยใช้ชื่อว่า "ฮาเล็มบีท: ยู อาร์ เดอะ วัน" (Harlem Beat ~You're The One~) ในปี พ.ศ. 2542 ในประเทศไทย ฮาเล็มบีท จังหวะคนจริง เคยตีพิมพ์ลงใน KC Weekly เป็นตอน ๆ รวมทั้งสิ้น 247 ตอน และตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มโดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: คาวามูระ ฮายาโตะและฮาเล็มบีท จังหวะคนจริง · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คาวามูระ ฮายาโตะและ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »