โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ก

ดัชนี คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ก

ร์ล เทโอดอร์ อันโทน มาเรีย ฟอน ดัลแบร์ก (Karl Theodor Anton Maria von Dalberg) (8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1744 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1817) มีตำแหน่งเป็นอาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์, อัครเสนาบดีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, เจ้าผู้ครองราชรัฐเรเกนส์บูร์ก, อัครราชมุขนายกแห่งสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์และแกรนด์ดยุกแห่งแฟรงก์เฟิร์ต.

22 ความสัมพันธ์: บิชอปแห่งเรเกนส์บูร์กพ.ศ. 2287พ.ศ. 2360กฎหมายศาสนจักรมุขมณฑลมุขนายกรองรัฐสภารัฐผู้คัดเลือกไมนซ์ราชรัฐเรเกนส์บูร์กราชอาณาจักรบาวาเรียศีลอนุกรมสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์สนธิสัญญาลูว์เนวีลจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นโปเลียนโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอเรเกินส์บวร์คเว็ทซ์ลาร์เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก10 กุมภาพันธ์8 กุมภาพันธ์

บิชอปแห่งเรเกนส์บูร์ก

อปแห่งเรเกนส์บูร์ก (Bishop of Regensburg) เป็นตำแหน่งมุขนายกประจำมุขมณฑลเรเกนส์บูร์กในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี อาสนะของบิชอปอยู่ที่มหาวิหารเรเกนส์บูร์ก.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและบิชอปแห่งเรเกนส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2287

ทธศักราช 2287 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและพ.ศ. 2287 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2360

ทธศักราช 2360 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและพ.ศ. 2360 · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายศาสนจักร

กฎหมายศาสนจักร (Canon law, from Catholic Encyclopedia) เป็นคำที่หมายถึงกฎหมายทางการปกครองภายในองค์การคริสเตียนรวมถึงบรรดาสมาชิก โดยเฉพาะในคริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และแองกลิคัน กฎที่ใช้ในการปกครองเป็นกฎที่ได้รับการอนุมัติ หรือตีความหมายเมื่อมีข้อขัดแย้งซึ่งแต่ละคริสตจักรก็จะมองกันคนละแง่ ตามปกติแล้วการอนุมัติก็จะทำโดยสภาสังคายนาสากลก่อนที่จะนำไปปฏิบัติในคริสตจักรโดยทั่วไป.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและกฎหมายศาสนจักร · ดูเพิ่มเติม »

มุขมณฑล

มุขมณฑลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 139 (diocese) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกเรียกว่า สังฆมณฑล ในประเทศไทยกรมการศาสนาเรียกว่า เขตมิสซังกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 เป็นเขตการปกครองของคริสตจักรซึ่งมีมุขนายกเป็นประมุข แต่ละมุขมณฑลจะแบ่งออกเป็นเขตแพริช ในกรณีที่เป็นมุขมณฑลขนาดใหญ่และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากกว่ามุขมณฑลอื่นที่อยู่รอบ ๆ มุขมณฑลนั้นจะถูกยกสถานะขึ้นเป็นอัครมุขมณฑล โดยมีอัครมุขนายกเป็นประมุข อัครมุขนายกมีสถานะเป็นมุขนายกมหานคร มีอำนาจสูงกว่ามุขนายกปริมุขมณฑลซึ่งเป็นมุขนายกประจำมุขมณฑลอื่น ๆ ในภาคคริสตจักรเดียวกัน โครงสร้างการปกครองคริสตจักรแบบนี้เรียกว่า การจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มุขมณฑลยังอาจหมายถึง เขตมุขนายก (bishopric) หรือ อิปิสโคปัลซี (Episcopal see) แต่คำว่าอิปิสโคปัลซีมักใช้หมายถึงอาณาเขตที่ปกครองโดยบิชอป ขณะที่ bishopric อาจหมายถึงตำแหน่งบิชอปก็ได้.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและมุขมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกรอง

มุขนายกรอง (coadjutor bishop) ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก หรือบิชอปโคแอดจูเตอร์ (bishop coadjutor) ในแองกลิคันคอมมิวเนียน เป็นตำแหน่งผู้ช่วยมุขนายกประจำมุขมณฑลในการบริหารมุขมณฑล คล้ายกับเป็นมุขนายกร่วมกันปกครองมุขมณฑลนั้น มุขนายกรองจึงมีตำแหน่งเป็นอุปมุขนายกประจำมุขมณฑลด้วย (แต่มีอำนาจหน้าที่มากกว่าอุปมุขนายกทั่วไปที่ไม่ได้เป็นมุขนายกรอง) เมื่อมุขนายกประจำมุขมณฑลพ้นจากตำแหน่งไปไม่ว่าด้วยการเกษียณอายุ ถูกถอดจากตำแหน่ง หรือถึงแก่กรรม มุขนายกรองจะสืบตำแหน่งมุขนายกประจำมุขมณฑลต่อทันที.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและมุขนายกรอง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐผู้คัดเลือกไมนซ์

ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์ (Archbishopric of Mainz, Erzbistum Mainz) หรือรัฐผู้คัดเลือกไมนซ์ (Electorate of Mainz, Kurfürstentum Mainz หรือ Kurmainz) เป็นราชรัฐอัครมุขนายกที่สำคัญในคริสตจักรและเป็นเขตปกครองทางการเมืองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและรัฐผู้คัดเลือกไมนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐเรเกนส์บูร์ก

ราชรัฐเรเกนส์บูร์ก (Fürstentum Regensburg, Principality of Regensburg) เป็นราชรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ ราชรัฐเรเกนส์บูร์กก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 และมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1810 ราชรัฐตั้งอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือบาวาเรียในประเทศเยอรมนีโดยมีเมืองหลวงอยู่ที่เรเกนส์บูร์ก ราชรัฐก่อตั้งขึ้นโดยคาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ก เจ้าชายไพรเมตแห่งจักรวรรดิและอดีตอาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ เพราะไมนซ์ถูกผนวกโดยฝรั่งเศสตามสนธิสัญญาลูเนวิลล์ ดินแดนส่วนใหญ่ของราชรัฐใหม่ประกอบด้วยดินแดนเดิมของราชรัฐมุขนายกเรเกนส์บูร์กที่ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและราชรัฐเรเกนส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบาวาเรีย

ราชอาณาจักรบาวาเรีย (Königreich Bayern; Kingdom of Bavaria) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของเยอรมนีระหว่างปี ค.ศ. 1805 ถึงปี ค.ศ. 1918 พระเจ้าแม็กซิมิเลียนที่ 1 โจเซฟแห่งบาวาเรียแห่งราชวงศ์วิตเตลสบาคเป็นกษัตริย์องค์แรกเมื่อปี..

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและราชอาณาจักรบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ศีลอนุกรม

อัครมุขนายกเกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ปกมือเหนือศีรษะผู้ขอบวชเพื่อโปรดศีลบวชเป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิก เมื่อวันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ณ เซมินารีนักบุญยอแซฟ สามพราน ศีลอนุกรม (Holy Orders) หรือศีลบวช บางตำราเรียกว่าศีลบรรพชา เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ในหลายคริสตจักร ได้แก่ โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน คริสตจักรอัสซีเรียนแห่งตะวันออก คาทอลิกเก่า อินดิเพนเดนต์คาทอลิก และบางส่วนของลูเทอแรน.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและศีลอนุกรม · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์

มาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ หรือ สมาพันธรัฐแม่น้ำไรน์ (Rheinbund; États confédérés du Rhin (ชื่ออย่างเป็นทางการ) Confédération du Rhin (ชื่อในทางพฤตินัย)) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 ก่อตั้งจากรัฐเยอรมันทั้ง 16 รัฐ โดยจักรพรรดินโปเลียนหลังจากรบชนะจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียในยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์ การลงนามในสนธิสัญญาเพรซเบิร์กได้นำไปสู่การก่อตั้งสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์ ซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 ถึงปี ค.ศ. 1813 สมาชิกของสมาพันธ์คือเจ้าผู้ครองนครรัฐเยอรมัน (Fürsten) ในความปกครองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ 16 รัฐ ซึ่งในทางเทคนิคแล้ว เจ้าเหล่านี้ล้วนมิใช่ประมุขของรัฐซึ่งตนเองปกครองอยู่ ภายหลังได้มีรัฐอื่นอีก 19 รัฐเข้าร่วมในสมาพันธรัฐ ทำให้เมื่อรวมกันแล้วทำให้มีประชากรภายใต้การปกครองมากกว่า 15 ล้านคน ก่อให้เกิดผลประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์อย่างมากต่อจักรวรรดิฝรั่งเศสในแนวรบด้านตะวันออก.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาลูว์เนวีล

นธิสัญญาลูว์เนวีล (Treaty of Lunéville) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามกันที่เมืองลูว์เนวีล ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1801 ระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสผู้ลงนามโดยโจเซฟ โบนาปาร์ต กับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ผู้ลงนามโดยเคานท์ลุดวิก ฟอน โคเบ็นเซิล กองทัพออสเตรียได้รับความพ่ายแพ้ต่อนโปเลียนในยุทธการที่มาเรงโก (Battle of Marengo) ในอิตาลีเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน..

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและสนธิสัญญาลูว์เนวีล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ. 2349 ภายหลังจากที่พระองค์ถูกรุกรานโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 อันนำไปสู่สงครามประสานมิตรครั้งที่สาม ทำให้พระองค์ต้องยุบจักรวรรดิ และเปลี่ยนจักรวรรดิรวมทั้งเปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ โดยระหว่างปีพ.ศ. 2347 - พ.ศ. 2349 พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิ 2 จักรวรรดิเลยทีเดียว โดยหลังจากเปลี่ยนจักรวรรดิแล้ว พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งออสเตรีย พระนามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย หลังจากนั้น พระองค์ได้ทรงนำกองทัพออสเตรีย ไปชำระแค้นกับจักรวรรดิฝรั่งเศส ในสงครามนโปเลียน แต่ก็ยังปราชัยอยู่ดี พระองค์จึงส่งพระราชธิดาองค์โต อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์ ให้ไปอภิเษกสมรสกับนโปเลียน เพื่อเป็นการถวายเครื่องราชบรรณาการ และเริ่มต้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างจักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิฝรั่ง.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นโปเลียน

นโปเลียน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ (Johann Wolfgang von Goethe, 28 สิงหาคม พ.ศ. 2292 — 22 มีนาคม พ.ศ. 2375) เป็นผู้รู้รอบด้านชาวเยอรมัน เขาเป็นทั้งนักเขียนนิยาย นักเขียนบทละคร นักสิทธิมนุษยชน นักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา รวมถึงดำรงตำแหน่งสมาชิกคณะบริหารของไวมาร์ในประเทศเยอรมนีอยู่ 10 ปี เกอเทอเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของวรรณคดีเยอรมัน คลาสสิกใหม่ของยุโรปและโรมัน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกอเทอและงานของเขาได้ส่งผลไปทั่วยุโรปและได้สร้างแรงบันดาลใจกับงานต่อ ๆ มาทางด้าน ดนตรี การละคร และกวี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2292 หมวดหมู่:นักเขียนชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักสิทธิมนุษยชน หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ · ดูเพิ่มเติม »

เรเกินส์บวร์ค

รเกินส์บวร์ค (Regensburg; (Castra-Regina; Řezno; Ratisbonne; older English: Ratisbon)) เป็นนครทางใต้-ตะวันออกของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมแม่น้ำดานูบ แม่น้ำนาบ และแม่น้ำเรเกิน มีประชากรมากกว่า 140,000 คน เรเกินส์บวร์คเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของรัฐบาวาเรีย ถัดจากมิวนิก เนือร์นแบร์ก เอาก์สบูร์ก เมืองเป็นศูนย์กลางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของบาวาเรียตะวันออก ศูนย์กลางของเมืองยุคกลาง ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจากยูเนสโก.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและเรเกินส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เว็ทซ์ลาร์

ว็ทซ์ลาร์ (Wetzlar) เป็นเมืองในรัฐเฮสเซิน ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ที่จุดพิกัด 8° 30′ E, 50° 34′ N บนฝั่งแม่น้ำลาน มีมหาวิหารแห่งเซนต์แมรีที่สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 12 เป็นศิลปะโรมาเนสก์ เมืองมีการผลิตอุปกรณ์ส่องมอง.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและเว็ทซ์ลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก

ระมหากษัตริย์โบฮีเมีย เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก (Princeps Elector, Kurfürst, Prince-elector หรือ Electors) คือสมาชิกของคณะผู้คัดเลือก (electoral college) แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีหน้าที่ในการเลือกพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมันพระองค์ใดพระองค์หนึ่งให้ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงของเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกเรียกว่าเจ้าผู้คัดเลือก (electoral prince) เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกถือเป็นผู้มีเกียรติรองจากพระมหากษัตริย์และพระจักรพรรดิ ตามทฤษฎีแล้วจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เป็นผู้ที่มาจากการเลือกตั้ง แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเลือกตั้งก็มักจะเป็นเพียงการทำเพียงพิธี โดยมีพระจักรพรรดิผู้สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของออสเตรีย ที่ตำแหน่งมักจะเป็นของพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิผู้เสด็จสวรรคต แต่กระนั้นตำแหน่งมิได้เป็นตำแหน่งสืบทอดในตระกูลเดียวกัน และทายาทไม่สามารถเรียกตนเองว่า "จักรพรรดิ" โดยมิได้รับเลือก การเลือกตั้งเป็นการเลือกพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน ผู้ได้รับเลือกในเยอรมนีและจะได้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็เมื่อได้รับทำพิธีบรมราชาภิเษกโดยพระสันตะปาปา จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 ทรงเป็นจักรพรรดิที่ได้รับการสวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิ ผู้เป็นจักรพรรดิต่อจากนั้นเป็นจักรพรรดิโดยการเลือกตั้งเท่านั้น.

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและ10 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กและ8 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Karl Theodor Anton Maria von DalbergKarl Theodor von DalbergKarl von Dalbergคาร์ล ธีโอดอร์ ฟอน ดัลเบิร์กคาร์ล ทีโอดอร์ อันทอน มาเรีย ฟอน ดาลแบร์กคาร์ล ทีโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กคาร์ล ทีโอดอร์ ฟอน ดัลเบิร์กคาร์ล ทีโอดอร์ ฟอน ดาลแบร์ก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »