โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คัง กัมชัน

ดัชนี คัง กัมชัน

ังกัมชัน (강감찬; Gang Gam-chan; ค.ศ. 948 — 1031) เป็นขุนนางผู้ซื่อสัตย์ต่อ พระพันปีชอนชู และ ราชวงศ์โครยอ เป็นอย่างมากเขาเกิดเมื่อปี ค.ศ. 948 เมื่อกองทัพเหลียวยกทัพมาเขาในฐานะเจ้ากรมกลาโหมในรัชสมัยพระเจ้ามกจงจึงยกกองทัพออกไปต่อสู้จนได้ชัยชนะแต่แล้วเมื่อกองทัพเหลียวบุกประชิดพระนครเขาจึงต้องคุ้มกันพระเจ้ามกจงหนีออกจากพระนครแต่ก็พลาดท่าถูกลีฮอนอูนและอันแพทหารใต้บังคับบัญชาทรยศปลงพระชนม์พระเจ้ามกจงเขาจึงต้องหนีเอาตัวรอดก่อนเมื่อองค์ชายวังซุนขึ้นทรงราชย์เป็นพระเจ้าฮยอนจงเขาจึงคุ้มกันพระเจ้าฮยอนจงหนีรอดไปได้และกลับมาจัดการกับกองทัพเหลียวได้สำเร็จใต้เท้าคังกัมชันได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมหาเสนาบดีในเวลาต่อมาและถึงแก่อสัญกรรมในปี..

3 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1491พระพันปีชอนชูราชวงศ์โครยอ

พ.ศ. 1491

ทธศักราช 1491 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: คัง กัมชันและพ.ศ. 1491 · ดูเพิ่มเติม »

พระพันปีชอนชู

ระนาง ชอนชู ฮวางแทฮู หรือ สมเด็จพระพันปีหลวงชอนชู เป็นพระราชธิดาองค์โตของพระเจ้าแทจงกับสมเด็จพระชายาซอนอึย มีพระนามเดิมว่า ฮวางโบซู หรือ เจ้าหญิงหญิงซู พระนางมีพระเชษฐาคือ พระเจ้าซองจงแห่งโครยอหรือ เจ้าชายวังชี และมีพระขนิษฐา คือ เจ้าหญิงซอล หรือ สมเด็จพระราชินีฮอนจอง.

ใหม่!!: คัง กัมชันและพระพันปีชอนชู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: คัง กัมชันและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คังกัมชัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »