โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คลองแปด

ดัชนี คลองแปด

ลองแปด ขุดในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม ตามโครงการทุ่งรังสิตที่มีจุดประสงค์เพื่อการพัฒนาที่ดิน และพื้นที่ทำนาเพาะปลูกข้าว รวมถึงใช้เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน ระหว่างปี..

4 ความสัมพันธ์: คลองระพีพัฒน์แยกตกคลองรังสิตคลองหกวาสายบนคลองหกวาสายล่าง

คลองระพีพัฒน์แยกตก

ลองระพีพัฒน์แยกตก เป็นคลองที่แยกมาจากคลองระพีพัฒน์ ขุดขึ้นหลังจากการสร้างเขื่อนพระรามหกในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยให้เป็นเส้นทางน้ำจากแม่น้ำป่าสักลงมาเชื่อมกับคลองระพีพัฒน์ แยกเป็น 2 สาย คือคลองระพีพัฒน์แยกตก ลงมาเชื่อมคลองหกวาสายบนตรงข้ามคลองสิบ อีกสายหนึ่งคือคลองระพีพัฒน์แยกใต้ ลงมาเชื่อมคลองหกวาสายบนตรงข้ามคลองสิบสาม คลองระพีพัฒน์แยกตกในปัจจุบัน เริ่มต้นจากประตูน้ำพระศรีศิลป์ อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี ลงมายังคลองหกวาสายบน และไหลเป็นเส้นแบ่งเขตอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับอำเภอหนองเสือ และอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ไปจดคลองหนึ่ง บริเวณประตูน้ำพระอินทร์ ที่รอยต่อเขตอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี รวมความยาว 36.6 กิโลเมตร.

ใหม่!!: คลองแปดและคลองระพีพัฒน์แยกตก · ดูเพิ่มเติม »

คลองรังสิต

แผนที่แสดงคลองรังสิต ในเขตจังหวัดปทุมธานี คลองรังสิตประยูรศักดิ์ หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า คลองรังสิต เป็นคลองสายหลักในโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นโครงการคลองชลประทานเพื่อการเกษตรแห่งแรกของไทยที่ริเริ่มขึ้นเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณทุ่งรังสิตให้เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าว รองรับการขยายตัวของการส่งออกข้าว ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกอันดับหนึ่งของไทยในขณะนั้น โครงการรังสิตนับเป็นโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น มีพื้นที่สัมปทานประมาณ 800,000 - 1,500,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด ตั้งแต่ จังหวัดปทุมธานี บริเวณอำเภอธัญบุรี อำเภอคลองหลวง อำเภอหนองเสือ และอำเภอลำลูกกา, จังหวัดนครนายก ในเขตอำเภอองครักษ์, กรุงเทพมหานคร บริเวณเขตหนองจอกและเขตบางเขน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่อำเภอวังน้อย และจังหวัดสระบุรี ที่อำเภอหนองแค การขุดคลองตามโครงการรังสิตนับเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนางานด้านชลประทานของประเทศไทย โดยเฉพาะการชลประทานเพื่อการเกษตรกรรม การขุดคลองรังสิตและคลองแยกต่าง ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2433 - พ.ศ. 2448 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทำให้พื้นที่รกร้างบริเวณทุ่งหลวงเปลี่ยนเป็นแหล่งเกษตรกรรมขนาดใหญ่ที่มีข้าวเป็นผลผลิตหลัก คลองรังสิตซึ่งเป็นคลองสายหลักจึงเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนรังสิต เป็นทั้งแหล่งน้ำสำหรับเพาะปลูก เส้นทางคมนาคม ตลอดจนใช้ในการอุปโภคและบริโภค แม้การพัฒนาอุตสาหกรรมได้ทำให้คลองรังสิตลดความสำคัญในฐานะคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรกรรมลง เป็นเพียงคลองชลประทานสำหรับระบายน้ำ.

ใหม่!!: คลองแปดและคลองรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

คลองหกวาสายบน

แผนที่แสดงคลองต่างๆ ในโครงการทุ่งรังสิต คลองหกวาสายบนเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับลำน้ำสาขาของแม่น้ำนครนายกทางด้านบน คลองหกวาสายบน เป็นคลองที่ขุดขึ้นหลังคลองแปดวา หรือคลองรังสิตประยูรศักดิ์เริ่มขุดไปได้ระยะหนึ่ง โดยบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม ในสมัยรัชกาลที่ 5 เชื่อมระหว่างคลองหนึ่ง บริเวณเขตอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี และอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับแม่น้ำใน ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำนครนายก ที่อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อโครงข่ายคลองต่าง ๆ เข้าด้วยกันตามโครงการทุ่งรังสิต ระหว่างปี..

ใหม่!!: คลองแปดและคลองหกวาสายบน · ดูเพิ่มเติม »

คลองหกวาสายล่าง

แผนที่แสดงคลองต่างๆ ในโครงการทุ่งรังสิต ระหว่างปี พ.ศ. 2433 – พ.ศ. 2447 คลองหกวาสายล่างอยู่ทางด้านล่างสุด คลองหกวาสายล่าง หรือคลองหกวา ขุดขึ้นโดยบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 ตามโครงการทุ่งรังสิต ระหว่างปี..

ใหม่!!: คลองแปดและคลองหกวาสายล่าง · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »