โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กงซุน เช่อ

ดัชนี กงซุน เช่อ

กงซุน เช่อ จาก ''เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม'' ฉบับพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2433 กงซุน เช่อ เป็นตัวละครจากวรรณกรรมจีนเรื่อง เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (Seven Heroes and Five Gallants).

10 ความสัมพันธ์: จอหงวนจอห์น เอช. วอตสันฆ่าก่อน รายงานทีหลังแมยิสเตร็ดไคเฟิงเชอร์ล็อก โฮมส์เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรมเปาบุ้นจิ้นเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)เปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: กงซุน เช่อและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอช. วอตสัน

นายแพทย์จอห์น เอ.

ใหม่!!: กงซุน เช่อและจอห์น เอช. วอตสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง

รื่องประหารของเปาบุ้นจิ้น รัฐบาลจีนได้จำลองขึ้นและจัดแสดงไว้ที่ศาลไคฟงในปัจจุบัน "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" หรือ "ประหารก่อน รายงานทีหลัง" (kill first, report later) เป็นสำนวนจีน ใช้อุปมาอุปไมยถึงการที่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ใดให้ลุล่วงไปก่อนแล้วจึงค่อยรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาทีหลัง ที่มาของสำนวนนี้ ว่ากันไว้สองทาง ทางแรกว่าในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในวันที่ขุนนางตงซวน ได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการนครลั่วหยาง เมืองหลวงของประเทศจีนในสมัยนั้น เขาพบว่ามีคดีหนึ่งค้างอยู่ในศาลซึ่งที่ผ่านมาไม่มีทางจะลุล่วงได้ โดยคดีมีว่าข้าราชบริพารคนหนึ่งของพระราชธิดาหูหยาง เป็นคนหยาบช้าและได้กระทำฆาตกรรมขึ้น แต่ไม่มีผู้ได้กล้าลงโทษเพราะเกรงพระราชหฤทัยและอิทธิพลของพระราชธิดา ขุนนางตงซวนนั้นเป็นคนใจซื่อมือสะอาด ไม่เกรงกลัวอิทธิพลของผู้ใด จึงสั่งให้ตำรวจไปจับกุมข้าราชบริพารผู้นั้นขณะที่โดยเสด็จพระราชธิดา และสั่งลงโทษประหารชีวิตทันที พระราชธิดาทรงพระพิโรธ เสด็จไปกราบบังคมทูลพระกรุณาขอให้มีรับสั่งประหารขุนนางตงซวน ขุนนางตงซวนได้เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและกราบบังคมทูลรายงานเกี่ยวกับคดี ซึ่งเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงสดับแล้วเห็นว่าการกระทำของขุนนางตงซวนมิได้เป็นผิดเป็นโทษแต่อย่างใด ก็มิได้ทรงเอาโทษ เป็นที่มาของสำนวนว่า "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" อีกทางหนึ่งเกี่ยวข้องกับเปาบุ้นจิ้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งมีที่มาจากวรรณกรรมจีนเกี่ยวกับเปาบุ้นจิ้นเรื่อง "เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม" โดยกล่าวว่าเปาบุ้นจิ้นได้รับพระราชทานชุดเครื่องประหารจากสมเด็จพระจักรพรรดิ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: กงซุน เช่อและฆ่าก่อน รายงานทีหลัง · ดูเพิ่มเติม »

แมยิสเตร็ด

แมยิสเตร็ด หรือทับศัพท์อย่างปัจจุบันได้ว่า แมจิสเตรต (magistrate) เป็นชื่อตำแหน่งข้าราชการประเภทหนึ่ง ในสมัยโบราณ เช่น ในครั้งโรมันโบราณและจักรวรรดิจีน เป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ทั้งในทางบริหารและตุลาการ ในปัจจุบัน หมายถึง ตุลาการ โดยเฉพาะตุลาการศาลแขวง (Justice of the Peace) ตามระบบกฎหมายฝ่ายซีวิลลอว์ หรือเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองซึ่งมีอำนาจหน้าที่จำกัด ตามระบบกฎหมายฝ่ายคอมมอนลอว์ และในความหมายทั่วไป เป็นไวพจน์ของคำว่า "ตุลาการ" ในภาษาอังกฤษ คำ "แมยิสเตร็ด" ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากคำ "magistrat" ในภาษาอังกฤษสมัยกลางราว..

ใหม่!!: กงซุน เช่อและแมยิสเตร็ด · ดูเพิ่มเติม »

ไคเฟิง

ไคเฟิง ตามสำเนียงกลาง หรือ คายฮอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นเมืองในมณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน อยู่ริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห (หรือแม่น้ำเหลือง) เป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ไคเฟิงแต่เดิมนั้นมีชื่อว่าเปี้ยนโจว ในสมัยราชวงศ์โฮ่วเหลียงเปลี่ยนชื่อเป็น เปี้ยนจิง ครั้งมา พอมาถึงสมัยหลังได้เปลี่ยนเป็น ไคเฟิง นครไคเฟิงเป็นที่รู้จักกันดีเพราะเคยเป็นที่ทำงานของเปาบุ้นจิ้น หมวดหมู่:เมืองในมณฑลเหอหนาน.

ใหม่!!: กงซุน เช่อและไคเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ล็อก โฮมส์

อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช. วอตสัน หรือ หมอวอตสัน ในจำนวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮมส์เป็นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี..

ใหม่!!: กงซุน เช่อและเชอร์ล็อก โฮมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม

มผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (The Three Heroes and Five Gallants) เป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์จีนแนวสืบสวนสอบสวนและกำลังภายใน ฉือ ยฺวี่คุน (Shí Yùkūn) แต่งขึ้น และได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเผยแพร่เมื่อปลายศตวรรษที่ 19 นิยายเรื่องนี้ได้รับความนิยมมาก ต่อมา หยู เยฺว่ (Yú Yuè) ปรับปรุงจนเป็นวรรณกรรมชั้นสูง เรียกชื่อเสียใหม่ว่า เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (Qī Xiá Wǔ Yì; The Seven Heroes and Five Gallants) เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี 1889.

ใหม่!!: กงซุน เช่อและเจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น

ปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (11 เมษายน ค.ศ. 999 — 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1062) วรรณกรรมเรียก เปา เหวินเจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาบุ้นจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (包文拯) เป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีที่รับราชการนั้น เปา เจิ่ง แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นกลางอย่างเสมอหน้า ในระหว่าง..

ใหม่!!: กงซุน เช่อและเปาบุ้นจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)

ปาบุ้นจิ้น (包青天; Justice Pao) เป็นละครชุดทางโทรทัศน์ จำนวน 236 ตอน ของประเทศไต้หวัน ฉายช่องทีวีหัวซื่อของไต้หวัน สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำมาฉายในประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: กงซุน เช่อและเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536) · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม

ปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม เป็นละครชุดที่ออกฉายครั้งแรกในปี 2008 ทางช่องทีวีบีของไต้หวัน ในประเทศไทยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำมาออกอากาศระหว่างวันที่ 30 กันยายน 2008 จนถึงวันที่ 11 มีนาคม 2009 (รวมถึงตอน หนูหยกขาวแผลงฤทธิ์ ในภาค 5 หนูยุทธจักร) ส่วนสิทธิจัดจำหน่ายเป็นของบริษัทโกลเดนทาวน์ฟิล์ม จำกัด (Golden Town Film) นอกจากนี้ ไทยรัฐทีวียังนำมาพากย์ใหม่ฉายซ้ำในชื่อ เปาบุ้นจิ้น ตำนานศาลไคฟง เมื่อปี 2015.

ใหม่!!: กงซุน เช่อและเปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Gongsun Ceกงซุนเช่อ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »