โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

Ĝ

ดัชนี Ĝ

ตัวอักษร Ĝ (ตัวเล็ก: ĝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน G ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ Ĝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

27 ความสัมพันธ์: ÊÎĤŦŬĴภาษาอังกฤษภาษาทาจิกภาษาคอร์นวอลล์ภาษาตุรกีภาษาเอสเปรันโตสัทอักษรสากลอักษรละตินŽŜĈÔÇÛCDzs (สัทศาสตร์)GJQXh (ทวิอักษร)Џ

Ê

ตัวอักษร Ê (ตัวเล็ก: ê) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน E ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียง.

ใหม่!!: ĜและÊ · ดูเพิ่มเติม »

Î

ตัวอักษร Î (ตัวเล็ก: î) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน ได้ถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น.

ใหม่!!: ĜและÎ · ดูเพิ่มเติม »

Ĥ

ตัวอักษร Ĥ (ตัวเล็ก: ĥ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน H ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ ซึ่งมักจะใช้แทนเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง Ĥ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ĜและĤ · ดูเพิ่มเติม »

Ŧ

Ŧ/ŧ เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน T ที่มีแถบเส้น (bar, stroke sign) อยู่ด้านหน้า โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น ตัวอักษร Ŧ ที่ใช้ในซามิเหนือ.

ใหม่!!: ĜและŦ · ดูเพิ่มเติม »

Ŭ

ตัวอักษร Ŭ (ตัวเล็ก: ŭ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มี บรีฟ (breve) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลาย Ŭ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ĜและŬ · ดูเพิ่มเติม »

Ĵ

ตัวอักษร Ĵ (ตัวเล็ก: ĵ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน J ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์  Ĵ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ĜและĴ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: Ĝและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: Ĝและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคอร์นวอลล์

ษาคอร์นวอลล์ (Kernowek หรือ Kernewek; Cornish) เป็นภาษาเคลต์บริตตันที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาบริตตันตะวันตกเฉียงใต้ ในอดีตผู้พูดคือชาวคอร์นวอลล์ ภาษาคอร์นวอลล์ได้รับการฟื้นคืนชีพจากการที่เป็นภาษาที่สูญพันธุ์ไปแล้วมาเป็นภาษาพูดอีกครั้ง ภาษาคอร์นวอลล์มีความสำคัญต่อชาวคอร์นวอลล์มาก เป็นภาษาที่รัฐบาลสหราชอาณาจักรระบุให้ใช้เป็นหนึ่งในภาษาทางการของคอร์นวอลล์ ปกป้องโดยกฎบัตรยุโรปของภาษาชนกลุ่มน้อยหรือภาษาท้องถิ่น (European Charter for Regional or Minority Languages) โดยทำให้ภาษาคอร์นวอลล์มีผู้พูดเพิ่มขึ้นเรื่อ.

ใหม่!!: Ĝและภาษาคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: Ĝและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: Ĝและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: Ĝและสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: Ĝและอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

จ (จาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 8 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ง (งู) และก่อนหน้า ฉ (ฉิ่ง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “จ จาน” อักษร จ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.

ใหม่!!: Ĝและจ · ดูเพิ่มเติม »

Ž

right ตัวอักษร Ž (ตัวเล็ก: ž) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน Z ที่มีแครอน (caron) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ สำหรับการใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ Ž และ ž อยู่ที่ยูนิโคด U+017D และ U+017E ตามลำดับ สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ สามารถพิมพ์ได้โดยกด Alt+0142 และ Alt+0158 ตามลำดับ ส่วนใหญ่ Ž เป็นตัวอักษรสุดท้ายในพยัญชนะของภาษาที่มีการใช้ตัวอักษรนี้ โดยมีข้อยกเว้นในภาษาเอสโตเนีย และ ภาษาของชาวเติร์ก.

ใหม่!!: ĜและŽ · ดูเพิ่มเติม »

Ŝ

ตัวอักษร Ŝ (ตัวเล็ก: ŝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน S ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์  Ŝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ĜและŜ · ดูเพิ่มเติม »

Ĉ

ตัวอักษร Ĉ (ตัวเล็ก: ĉ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ Ĉ เป็นอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ĜและĈ · ดูเพิ่มเติม »

Ô

Ô เป็นอักษรละตินปัจจุบันได้นำไปใช้กับภาษาเวียดนามที่เพิ่มเติมเครื่องหมายเสริมอักษรและวรยุกต์ในเวียดนามการใส่เครื่องหมายได้นำไปใช้ด้วยกัน เช่น (Ồ/ồ, Ố/ố, Ỗ/ỗ, Ổ/ổ, Ộ/ộ) อักษร Ô จะออกเสียงเป็น /o/ โอ ที่ใช้ในภาษาเวียดนามอย่างดี และหลักจากเปรียบเทียบภาษาตังไฉ.

ใหม่!!: ĜและÔ · ดูเพิ่มเติม »

Ç

ตัวอักษร Ç (ตัวเล็ก: ç) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีซิดิลลา (cedilla) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดย (ช/ตช) Ç เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาตุรกี ภาษาเติร์กเมน ภาษาซาซากิ ภาษาแอลเบเนีย ภาษาตาตาร์ ภาษาเคิร์ด และ ภาษาอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ĜและÇ · ดูเพิ่มเติม »

Û

ตัวอักษร Û (ตัวเล็ก: û) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: ĜและÛ · ดูเพิ่มเติม »

C

C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.

ใหม่!!: ĜและC · ดูเพิ่มเติม »

Dzs (สัทศาสตร์)

ตัวอักษร Dzs (ตัวเล็ก: dzs) เป็นรูปแบบสามของอักษรละติน D Z S ที่มี Dzs Dzs เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาฮังการีและจะออกเสียงเป็น ในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: ĜและDzs (สัทศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

G

G เป็นอักษรลำดับที่ 7 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: ĜและG · ดูเพิ่มเติม »

J

J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.

ใหม่!!: ĜและJ · ดูเพิ่มเติม »

Q

Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.

ใหม่!!: ĜและQ · ดูเพิ่มเติม »

Xh (ทวิอักษร)

ตัวอักษร Xh/xh เป็นหนึ่งทวิอักษร ที่มี อักษรละติน X และ H ที่ใช้ในภาษาแอลเบเนีย จะออกเสียงเป็น /d͡ʒ/ Xh ตัวที่ 33 ของภาษาแอลเบเนี.

ใหม่!!: ĜและXh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Џ

Dzhe (Џ, џ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีใช้ในภาษาเซอร์เบียและภาษามาซิโดเนีย ใช้แทนเสียง เหมือนเสียงของ j ในภาษาอังกฤษ อักษรนี้เป็นอักษรที่ควบคู่ไปกับ ДЖ, ЧЖ, Ӂ, Җ หรือ Ӌ ในภาษาอื่นที่ใช้อักษรซีริลลิกเหล่านี้ สำหรับชื่อ Dzhe เป็นเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราว เนื่องจากอักษรของภาษาเซอร์เบียไม่มีชื่อเรียกอยู่แล้ว เมื่อต้องการสะกดทีละตัว อักษรนี้จึงจะอ่านว่า และในบางครั้งก็ใช้ชื่อว่า Dzherv ตามแบบอย่างของชื่ออักษร Cherv (Ч) หรือ Djerv (Ћ) จุดเริ่มต้นของอักษร Dzhe มาจากอักษรซีริลลิกโรมาเนียในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และชาวเซอร์เบียเริ่มนำมาใช้ในภาษาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ĜและЏ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »