โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โอโบ

ดัชนี โอโบ

โอโบ ที่ใช้ในปัจจุบันนี้มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ใช้ในการแสดงอุปรากรฝรั่งเศส เรียกว่า “Hautbois” หรือ “Hoboy” ในศตวรรษที่ 18 โอโบใช้เป็นเครื่องดนตรีหลักในวงออร์เคสตร้า เป็นเครื่องดนตรีเสียงสูงในกลุ่มเครื่องลมไม้ ซองในขณะนั้นมีรูปิดเปิดเพียง 2- 3 รูเท่านั้น ในศตวรรษที่ 19 โอโบได้พัฒนาในเรื่องระบบกลไก คีย์ กระเดื่อง สำหรับปิดเปิดรู เพื่อเปลี่ยนระดับเสียงให้เล่นสะดวกมากขึ้น จนในที่สุดโอโบคือเครื่องดนตรีหลักที่จะต้องมีในวงดุริยางค์ อ.

20 ความสัมพันธ์: บาสซูนฟลูตรายชื่อเครื่องดนตรีลิ้น (เครื่องดนตรี)วิลเลียม เฮอร์เชลวงทริโอออร์เคสตราอิงลิชฮอร์นจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิลดอน โจวันนีดนตรียุคบาโรกดนตรีคลาสสิกซิมโฟนีหมายเลข 1 (ไชคอฟสกี)ซิมโฟนีหมายเลข 2 (ไชคอฟสกี)ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)ปี่แคลริเน็ตโยธวาทิตเครื่องเป่าลมไม้The Young Person’s Guide to the Orchestra

บาสซูน

thumb บาสซูน (bassoon) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าลมผ่านลิ้นเช่นเดียวกับโอโบ เป็นปี่ขนาดใหญ่ใช้ลิ้นคู่ (double reed) รูปร่างของบาสซูน ค่อนข้างจะประหลาดกว่าปี่ชนิดอื่น ๆ เนื่องจากความใหญ่โตของท่อลม ซึ่งมีความยาวถึง 109 นิ้ว แต่เพื่อไม่ให้ยาวเกะกะ จึงใช้วิธีทบท่อลิ่มให้เหลือความยาวประมาณ 4 ฟุตเศษ บาสซูนมีน้ำหนักมากจึงต้องมีสายคล้องคอช่วยพยุงน้ำหนัก (sling) เพื่อให้มือทั้งสองของผู้เล่นขยับไปกดแป้นต่าง ๆ ได้สะดวก บาสซูนได้รับฉายาว่าเป็น "ตัวตลกของวงดุริยางค์" (The Clown of the Orchestra) ทั้งนี้เพราะเวลาบรรเลงเสียงสั้น ๆ ห้วน ๆ (staccato) อย่างเร็ว ๆ จะมีเสียงดัง ปูด…ปู๊ด… คล้ายลักษณะท่าทางของตัวตลก ที่มีอากัปกิริยากระโดดเต้นหยอง ๆ ในโรงละครสัตว์ เสียงของบาสซูนต่ำนุ่มลึก ถือเป็นแนวเบสของกลุ่มเครื่องลมไม้ นอกนั้นยังสามารถเล่นทำนองเดียวได้อย่างงดงามอีกด้วย หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา หมวดหมู่:เครื่องลมไม้.

ใหม่!!: โอโบและบาสซูน · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูต

ฟลุต ฟลูต (flute) เป็นเครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องเป่าลมไม้ ซึ่งแตกต่างจากเครื่องเป่าลมประเภทอื่น ๆ ที่กำเนิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของลิ้น ฟลูต กำเนิดเสียงจากการผิวของลม ลักษณะเสียงของฟลูตจะมีความไพเราะ นุ่มนวล อ่อนหวาน.

ใหม่!!: โอโบและฟลูต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องดนตรี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โอโบและรายชื่อเครื่องดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้น (เครื่องดนตรี)

ลิ้นของอัลโตแซกโซโฟน และเทเนอร์แซกโซโฟน ลิ้น เป็นวัสดุแผ่นบางๆ ที่สั่นสะเทือนทำให้เกิดเสียงในเครื่องดนตรีบางชนิด ลิ้นของเครื่องลมไม้นั้นนิยมทำมาจากต้นอ้อชนิดหนึ่ง (Arundo donax) หรือวัสดุสังเคราะห์ สำหรับลิ้นของฮาร์โมนิกา และแอคคอร์เดียนนั้นทำจากโลหะ หรือวัสดุสังเคราะห.

ใหม่!!: โอโบและลิ้น (เครื่องดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เฮอร์เชล

วิลเลียม เฮอร์เชล วิลเลียม เฮอร์เชล (William Herschel) (พ.ศ. 2281 - 2365) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมัน ผู้ค้นพบดาวยูเรนัสโดยบังเอิญใน พ.ศ. 2324 ขณะเขากำลังส่องกล้องโทรทรรศน์ศึกษาดาวฤกษ์ ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าดวงแรกที่ถูกค้นพบ เฮอร์เชลเป็นนักดนตรีอาชีพที่อพยพจากเมืองฮันโนเวอร์ (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี) มาตั้งหลักแหล่งอยู่ในอังกฤษ งานอดิเรกของเขาคือ การสร้างกล้องโทรทรรศน์ และมีความชำนาญมากในการศึกษาสังเกตดวงดาว การค้นพบดาวยูเรนัสทำให้เฮอร์เชลมีชื่อเสียงโด่งดังทั่วโลก น้องสาวของเขา คือ แคโรลีน เฮอร์เชล (พ.ศ. 2293 - 2391) ทำงานร่วมกับเขา และได้ค้นพบดาวหางหลายดวง.

ใหม่!!: โอโบและวิลเลียม เฮอร์เชล · ดูเพิ่มเติม »

วงทริโอ

วงทริโอ (Trio) เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยผู้เล่นดนตรี 3 คน ใช้เครื่องดนตรี 3 ชิ้น วงที่มีความนิยมสูงคือวงที่ประกอบด้วย เปียโน, ไวโอลิน และ เชลโล เรียกว่า "เปียโนทริโอ" วงทริโอนี้อาจมีการผสมผสานเครื่องดนตรีที่แตกต่างออกไปเช่น ใช้คลาริเน็ตแทนไวโอลิน (คลาริเน็ตทริโอ), ใช้เฟรนช์ฮอร์นแทนเชลโล (ฮอร์นทริโอ) หรือแม้แต่การผสมวงที่ไม่มีเปียโน เช่น ไวโอลิน, วิโอลา และ เชลโล (สตริงทริโอ), คลาริเน็ต, โอโบ และ บาสซูน (วู้ดวินด์ทริโอ) ฯลฯ วงเปียทริโอพัฒนามาจาก"แอคคอมพานีโซนาตา"ในสมัยของโมซาร์ท ซึ่งความจริงแล้วโมซาร์ทเปียโนทริโอที่เรารู้จักกันทุกทุกวันนี้ ก็คือโซนาตาสำหรับเปียโนที่มีการเล่นประกอบโดยไวโอลินและเชลโล โดยบทเด่นที่สุดและยากที่สุดจะเป็นของเปียโน ไวโอลินกับเชลโลอาจเพียงเล่นโน้ตเดียวกันกับมือซ้ายหรือมือขวาของเปียโน ต่อมาในสมัยของเบโธเฟน เครื่องสายได้มีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากเป็นที่นิยมมากในหมู่ผู้เล่นดนตรี จุดเปลี่ยนแปลงที่จะเห็นได้ชัดที่สุด คือเปียโนทริโอที่ประพันธ์โดยเบโธเฟน ซึ่งไวโอลินและเชลโลในเปียโนทริโอบางบท มีบทบาทมากกว่าเปียโนเสียอีก ซึ่งเป็นผลให้นักประพันธ์เพลงในสมัยต่อๆมา ประพันธ์เพลงด้วยความมีอิสระมากขึ้น มีการผสมผสานเครื่องดนตรีในรูปแบบที่แปลกใหม่ออกไป หมวดหมู่:กลุ่มดนตรี หมวดหมู่:วงทริโอ.

ใหม่!!: โอโบและวงทริโอ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์เคสตรา

วง '''เมลเบิร์น ซิมโฟนี ออร์เคสตรา''' ออร์เคสตรา (orchestra) หรือ วงดุริยางค์ ในภาษาไทย เป็นคำศัพท์เกี่ยวกับดนตรี มีประวัติมาช้านาน และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปตามยุคสมัย เพื่อสนองความต้องการของผู้ประพันธ์ในการถ่ายทอดความรู้สึกของดนตรีในแต่ละยุค วงออร์เคสตราเป็นวงดนตรีที่มีวิวัฒนาการเริ่มขึ้นราว..1600 ลักษณะที่สำคัญของวงออร์เคสตราคือ เป็นกลุ่มของนักดนตรี ที่เล่นเครื่องดนตรีหลักทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องกระทบ โดยบรรเลงภายใต้การควบคุมของผู้อำนวยเพลง.

ใหม่!!: โอโบและออร์เคสตรา · ดูเพิ่มเติม »

อิงลิชฮอร์น

อิงลิชฮอร์น เป็นเครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายโอโบ แต่มีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย บางครั้งก็ได้ชื่อว่าเป็น 'อัลโตโอโบ' เนื่องจากมีเสียงคล้ายโอโบ แต่เสียงมีขนาดใหญ่และต่ำกว่าโอโบเล็กน้อย นอกจากนี้ยังมีสุ้มเสียงค่อนข้างเศร้า โหยหวน มันใช้เล่นในทำนองช้าๆเนื่องจากเป็นเครื่องดนตรีที่ไม่คล่องตัวเท่าโอโบ หมวดหมู่:เครื่องดนตรี.

ใหม่!!: โอโบและอิงลิชฮอร์น · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล

อร์จ ฟริเดอริก แฮนเดิล ค.ศ. 1733 จอร์จ ฟริดริก (หรือฟริเดอริก) แฮนเดิล (George Frideric/Frederick Handel) เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โอโบและจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล · ดูเพิ่มเติม »

ดอน โจวันนี

ปอนเต้ ดอน โจวานนี (Don Giovanni, KV 527) เป็นอุปรากรตะวันตกซึ่งประพันธ์บทโดย ลอเร็นโซ ดาปอนเต้ (Lorenzo da Ponte) เป็นภาษาอิตาเลียน และประพันธ์ดนตรีโดย โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมตสาร์ต (Wolfgang Amadeus Mozart) ดอนโจวานนี เป็นอุปรากรตลกที่แฝงไปด้วยความมืดโดยมีทั้งหมดสององก์และเปิดแสดงครั้งแรกที่กรุงปรากใน..

ใหม่!!: โอโบและดอน โจวันนี · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคบาโรก

นตรียุคบาโรก หรือบางแห่งเรียกว่า ดนตรีบาโรก (Baroque music) เป็นลักษณะดนตรียุโรปคลาสสิก ราว..

ใหม่!!: โอโบและดนตรียุคบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

ใหม่!!: โอโบและดนตรีคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 1 (ไชคอฟสกี)

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี ประพันธ์ซิมโฟนีหมายเลข 1 ในบันไดเสียง จีไมเนอร์ (ความฝันในเหมันตฤดู) (Зимние грёзы, Zimniye gryozy) โอปุสที่ 13 ในปี 1866 หลังจากที่เขารับตำแหน่งอาจารย์ที่วิทยาลัยดนตรีมอสโก เป็นผลงานที่น่าจดจำที่สุดของไชคอฟสกี พี่ชายของไชคอฟสกี โมเดสต์ อิลิช ไชคอฟสกี อ้างว่าผลงานชิ้นนี้มีค่าใช้จ่ายมากขึ้น ไชคอฟสกีทำงานและทุกข์ทรมานมากขึ้นกว่าผลงานอื่น ๆ ของเขา แม้กระนั้นเขายังคงรักและเขียนข้อความไปยังผู้อุปถัมภ์ของเขา Nadezhda von Meck ในปี 1883 ว่า "although it is in many ways very immature, yet fundamentally it has more substance and is better than any of my other more mature works." เขาทุ่มเทประพันธ์ซิมโฟนีนี้แก่ นีโคไล รูบินสไตน.

ใหม่!!: โอโบและซิมโฟนีหมายเลข 1 (ไชคอฟสกี) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 2 (ไชคอฟสกี)

ซิมโฟนีหมายเลข 2 ในบันไดเสียง ซีไมเนอร์ โอปุสที่ 17 ของ ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี ประพันธ์ในปี 1872 เป็นหนึ่งในผลงานชิ้นเอกของไชคอฟสกี เป็นผลงานที่ประสบความสำเร็จจากการบรรเลงรอบปฐมทัศน์และยังได้รับการยกย่องจากกลุ่มคีตกวีชาวรัสเซียที่รู้จักกันในชื่อ "เดอะไฟฟ์" โดย Mily Balakirev เนื่องจากไชคอฟสกีใช้เพลงพื้นบ้านของยูเครน 3 เพลงสำหรับผลงานที่ดีในในงานนี้ ซิมโฟนีจึงถูกตั้งชื่อเล่นว่า "ชาวรัสเซียน้อย" (Малороссийская, Malorossiyskaya) โดย Nikolay Kashkin เพื่อนของคีตกวีเช่นเดียวกับนักวิจารณ์ดนตรีที่รู้จักกันดีของกรุงมอสโก เนื่องจากยูเครนในช่วงเวลานั้นมักถูกเรียกกันว่า "ลิตเติลรัสเซีย" อย่างไรก็ตามจากความสำเร็จครั้งแรก ไชคอฟสกีก็ยังไม่พอใจกับซิมโฟนี เขาแก้ไขงานอย่างกว้างขวางในปี 1879-1980 เขียนท่อนเปิดใหม่และเขียนท่อนสุดท้ายให้สั้นอย่างมีนัยสำคัญBrown, Tchaikovsky: The Early Years, 259-260 การแก้ไขนี้เป็นเวอร์ชันของซิมโฟนีที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุปัน แม้ว่าจะมีผู้สนับสนุนเวอร์ชันดั้งเดิม ในบรรดาผู้สนับสนุนเหล่านี้เป็นเพื่อนของนักแต่งเพลงและอดีตนักศึกษา Sergei Taneyev ผู้ซึ่งเป็นนักแต่งเพลงและนักแต่งเพลงที่เขาสังเกตเห็น.

ใหม่!!: โอโบและซิมโฟนีหมายเลข 2 (ไชคอฟสกี) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 5 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Symphony No. 5 in C Minor) ของเบโทเฟิน เป็นผลงานที่เขาประพันธ์ขึ้นในช่วง ค.ศ. 1804-1808 โอปุส 67 (Opus 67) ซิมโฟนีบทนี้นับว่าเป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกที่ได้รับความนิยมสูงสุด และรู้จักกันแพร่หลายที่สุด รวมทั้งถูกนำออกแสดงและได้รับการบันทึกเสียงมากที่สุดบทหนึ่ง ซิมโฟนีบทนี้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว หลังจากนำออกแสดงครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1808 ในเวลานั้น เอินสท์ เธโอดอร์ อมาดิอุส ฮอฟมันน์ (Ernst Theodor Amadeus Hoffmann) ได้บรรยายเอาไว้ว่า "นับเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นสำคัญที่สุดแห่งยุค" บทเพลงนี้ขึ้นต้นด้วยตัวโน้ตหลักเพียง 4 พยางค์ เนื่องจากโน้ตหลัก 4 ตัวของเพลงคล้ายกับ(คือ จุด จุด จุด ขีด) ที่ตรงกับอักษรโรมัน V โน้ตหลักนี้จึงใช้เป็นเครื่องหมายของคำว่า "victory" (ชัยชนะ) ในพิธีเปิดการออกอากาศสถานีวิทยุบีบีซี (BBC) ของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นความคิดของวิลเลียม สตีเฟนสัน (William Stephenson).

ใหม่!!: โอโบและซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ปี่

ปี่ เป็นเครื่องดนตรีไทย ทำด้วยไม้จริงเช่นไม้ชิงชันหรือไม้พยุง กลึงให้เป็นรูปบานหัวบานท้าย ตรงกลางป่อง เจาะภายในให้กลวงตลอดเลา ทางหัวของปี่เป็นช่องรูเล็กส่วนทาง ปลายของปี่ ปากรูใหญ่ใช้ชันหรือวัสดุอย่างอื่นมาหล่อเสริมขึ้นอีกราวข้างละ ครึ่งซม ส่วนหัวเรียก ทวนบน ส่วนท้ายเรียก ทวนล่าง ตอนกลางของปี่ เจาะรูนิ้วสำหรับเปลี่ยนเสียงลงมาจำนวน 6 รู แต่สามารถเป่าได้เสียงตรง 24 เสียง กับเสียงควงหรือเสียงแทนอีก 8 เสียง รวมเป็น 32 เสียง รูตอนบนเจาะเรียงลงมา 4 รู เว้นระยะห่างเล็กน้อย เจาะรูล่างอีก 2 รู ตรงกลางของเลาปี่ กลึงขวั้นเป็นเกลียวคู่ไว้เป็นจำนวน 14 คู่ เพื่อความสวยงามและกันลื่นอีกด้วย ตรงทวนบนนั้นใส่ลิ้นปี่ที่ทำด้วยใบตาลซ้อนกัน 4 ชั้น ตัดให้กลมแล้วนำไปผูกติดกับท่อลมเล็กๆที่ เรียกว่า กำพวด เรียวยาวประมาณ 5 ซม.

ใหม่!!: โอโบและปี่ · ดูเพิ่มเติม »

แคลริเน็ต

กซ้ายไปขวา คลาริเน็ต Ab Eb และ Bb คลาริเน็ต(Clarinet) เป็นเครื่องดนตรีจำพวกเครื่องเป่าลมไม้(woodwind instruments) ที่พัฒนามาจากเครื่องดนตรีในสมัยกลางเรียกว่า chalumeau แคลริเน็ตเป็นเครื่องดนตรีที่มักทำจากไม้หรือพลาสติก ทำให้เกิดเสียงโดยใช้ลิ้นเดี่ยว (single reed) ซึ่งรัดติดกับปากเป่าเช่นเดียวกับแซกโซโฟน ช่วงเสียงแคลริเน็ต (Bb) เริ่มตั้งแต่ D (เขียนว่า E แต่เล่นแล้วออกเสียง D เนื่องจากเป็นแคลริเน็ตบีแฟลต มีเสียงต่ำกว่าที่เขียนไว้ 1 tone) เรื่อยขึ้นไปประมาณ 3 ½ คู่แป.

ใหม่!!: โอโบและแคลริเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

โยธวาทิต

วาทิต (military band) หมายถึง กลุ่มผู้เล่นเครื่องดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องเป่าลมไม้ เครื่องเป่าทองเหลือง และเครื่องกระทบ โยธวาทิตแต่เดิมนั้นตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ทางทหารที่เรียกว่า "วงดุริยางค์ทหาร" ปัจจุบัน โยธวาทิตได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนสามารถบรรเลงในงานต่างๆ ได้นอกเหนือจากการบรรเลงในกองทัพ คำว่า "โยธวาทิต" ในภาษาไทยนั้นบัญญัติขึ้นโดยมนตรี ตราโมท.

ใหม่!!: โอโบและโยธวาทิต · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องเป่าลมไม้

รื่องเป่าลมไม้ (Woodwind Instruments)เป็นการจัดประเภทเครื่องดนตรีสากล โดยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าลมไม้นี้ แม้ตัวของเครื่องดนตรี อาจทำจากวัสดุต่าง ๆ มากมาย แต่ส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดเสียง คือ ลิ้น (Reed) ซึ่งทำมาจากไม้ จึงได้ชื่อว่า เครื่องเป่าลมไม้นั่นเอง.

ใหม่!!: โอโบและเครื่องเป่าลมไม้ · ดูเพิ่มเติม »

The Young Person’s Guide to the Orchestra

The Young Person’s Guide to the Orchestra - Variations and Fugue on a theme by Purcell Op.

ใหม่!!: โอโบและThe Young Person’s Guide to the Orchestra · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »