โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก

ดัชนี แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์ก (16 เมษายน พ.ศ. 2498-) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในแกรนด์ดยุกฌ็องและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม เป็นพระภาคิไนยใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2543 อภิเษกสมรสกับมาเรีย เตเรซา เมสเตรในปี พ.ศ. 2524.

46 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2498พ.ศ. 2524พ.ศ. 2534พ.ศ. 2543พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์กรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์กรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบันสมเด็จพระราชินีนาถหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรียตราแผ่นดินของลักเซมเบิร์กประเทศลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กโอลิมปิกฤดูหนาว 2018เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายเลียมแห่งนัสเซาเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาลเจ้าหญิงมารี กาบรีแยลแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งลิกเตนสไตน์เจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะเจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซาเจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญเจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์กเทสซี อ็องตอนี16 เมษายน5 มกราคม7 ตุลาคม

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018

ีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 กำหนดจัดขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ

มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในอ็องตวน เจ้าชายที่ 13 แห่งลีญ กับเจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญเป็นพระนัดดาในแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กกับเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เป็นพระภาคิไนยใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และเป็นพระญาติชั้นที่ 1 ใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สืบพระอิสริยยศ เป็น เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ ต่อจากพระบิดาที่สิ้นพระชนม์ไป พระองค์สมรสกับ เจ้าหญิงเอเลนอราแห่งลีญ มีพระบุตร 2 พระอง.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและมีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก

ตระกูลนัสเซา-ไวล์บวร์ก (House of Nassau-Weilburg) ก่อตั้งขึ้นโดยจอห์นที่ 1 เคานท์แห่งนัสเซา-ไวล์บวร์กในปี ค.ศ. 1344 ที่ปกครองนาซอที่ในปัจจุบันเป็นรัฐในเยอรมนี นาซอรุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1344 จนถึง ค.ศ. 1806 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009).

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก

รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก รายพระนามนี้รวมถึงบุคคลทุกคนที่ได้รับการพิจารณาว่าจะได้รับมรดกสืบราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์ก หรือ แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก ไม่ว่าจะเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานนับตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งลักเซมเบิร์กในวันที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน

ตารางต่อไปนี้เป็นรายนามของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลทั่วโลกในปัจจุบัน แสดงประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีลักษณะต่างกันออกไปตามรูปแบบการปกครอง โดยส่วนใหญ่เป็นระบบรัฐสภา ในขณะที่บางรัฐนั้นประมุขจะอยู่ในระบบประธานาธิบดีหรือเผด็จการ และบางรัฐใช้การปกครองในระบบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

หลุยส์แห่งออร์เลอ็อง (พระนามเต็ม: หลุยส์ มารี เตแรซ ชาร์ล็อต อิซาแบล, ประสูติ: 3 เมษายน ค.ศ. 1812, สวรรคต: 11 ตุลาคม ค.ศ. 1850) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งออร์เลอ็อง และสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์เบลเยียม พระองค์ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ของเบลเยียมพระองค์ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป, ผู้อ้างสิทธิในบัลลังก์อิตาลี (เจ้าชายแห่งเนเปิลส์), แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าชายชาร์ล นโปเลียน ประมุของค์ปัจจุบันของราชวงศ์โบนาปาร์ต.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมาเรีย-อัสตริสแห่งออสเตรีย (เดิม:เจ้าหญิงมาเรีย-อัสตริสแห่งลักเซมเบิร์ก) ทรงเป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเบียม และ สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระมารดา พระองค์ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เสกสมรสกับ อาร์ชดยุกคาร์ล-คริสเตียนแห่งออสเตรีย มีพระบุตร 4 พระอง.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของลักเซมเบิร์ก

ตราแผ่นดินของลักเซมเบิร์ก ไม่ปรากฏปีที่ใช้ตราปัจจุบัน มีส่วนประกอบต่อไปนี้.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและตราแผ่นดินของลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและประเทศลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุก

แกรนด์ดยุก หรือแกรนด์ดุ๊ก (grand duke) ถ้าเป็นสตรีเรียกว่าแกรนด์ดัชเชส เป็นฐานันดรศักดิ์ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิกเพื่อหมายถึงประมุขในระดับมณฑล มีศักดิ์ต่ำกว่าพระราชาแต่สูงกว่าดยุก แกรนด์ดยุกยังใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เพื่อหมายถึงแกรนด์พรินซ์ เพราะภาษาเหล่านี้ใช้ศัพท์ prince หมายถึงทั้งเจ้าชายราชนิกุลและเจ้าผู้ครองนครเหมือนกัน ขณะที่ภาษาเยอรมันเรียกเจ้าชายราชนิกุลว่า Prinz และเรียกเจ้าชายผู้ครองนครว่า Fürst เขตปกครองของแกรนด์ดยุกเรียกว่าราชรัฐชั้นแกรนด์ดัชชี ซึ่งปัจจุบันเหลืออยู่เพียงแห่งเดียวในโลก คือ ราชรัฐลักเซมเบิร์กซึ่งมีแกรนด์ดยุคอ็องรีที่ 1 เป็นเจ้าผู้ครองราชรั.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดยุก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก (5 มกราคม พ.ศ. 2464 -) (พระนามเดิม: ฌอง เบอร์นอย กีโยม โรเบิร์ต แอนโตน หลุยส์ มารี อดอล์ฟ มาร์ก เดอ อาเวียโน) ทรงปกครองลักเซมเบิร์กตั้งแต..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก (พระนามเดิม มาเรีย เตเรซา เมสเตร อี บาติสตา-ฟายา: พระราชสมภพ 22 มีนาคม พ.ศ. 2499) เป็นแกรนด์ดัชเชสแห่งลักเซมเบิร์ก พระมเหสีในแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470 - 10 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และ เจ้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระชายาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเบลเยียมทั้งสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย ในฝ่ายพระราชชนนี เจ้าหญิงเป็นพระญาติใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีของพระราชชนนี สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระญาติชั้นที่สองในพระราชวงศ์สวีเดนตามลำดั.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2018

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 (2018년 동계 올림픽) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 23 (평창 동계 올림픽) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ พย็องชัง 2018 เป็นมหกรรมกีฬาฤดูหนาวที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งจัดขึ้น ณ เมืองพย็องชัง, จังหวัดคังว็อน ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 9 - 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกกีโยม ฌ็อง โฌเซฟ มารี รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524-) รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก ตั้งแต่พระบิดาทรงครองราชสมบัติในปีพ.ศ. 2543 พระองค์ทรงเป็นเชื้อสายสืบทอดจากราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บวร์ก ที่ปกครองดินแดนลักเซมเบิร์กตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เป็นพระอนุชาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระราชมารดา พระองค์เสกสมรสกับ นางสาวซิบิลลา ซานดรา วอลเลอร์ ทอรโลเนีย พระนัดดาใน เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน และเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน รับพระราชทานพระอิสริยยศ เจ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 3 พระอง.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายหลุยส์ กซาวีเย มารี กีโยม แห่งลักเซมเบิร์ก (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) เป็นพระโอรสองค์ที่ 3 ในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กกับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก นอกจากทรงเป็นเจ้าชายแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นเจ้าชายแห่งนัสเซา พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือซาเวียร์ ซานส์และเจ้าหญิงมาร์กาเรทาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายหลุยส์มีพระเชษฐา 2 พระองค์คือเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก มีพระกนิษฐาและพระอนุชารวม 2 พระองค์คือ เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์อภิเษกสมรสกับเทสซี แอนโทนี ทั้งคู่มีพระโอรส 2 พระองค์คือ เจ้าชายกาเบรียลแห่งนัสเซา และเจ้าชายโนอาห์แห่งนัสเซา พระองค์ทรงศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์กและโรงเรียนอัลปินนานาชาติโบโซริลที่สวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระโอรสในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระอนุชาในแกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเสกสมรสกับนางสาวไดอานา มารี อัมเลต เออร์นีเกล เดอ กลอเรีย (ภายหลัง เคาน์เตสแห่งนัสเซา) มีโอรส-ธิดารวม 4 อง.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายเฟลิกซ์ เลโอโปลด์ มารี กีโยม แห่งลักเซมเบิร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ในกรุงลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 2 ในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กกับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก นอกจากทรงเป็นเจ้าชายแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นเจ้าชายแห่งนัสเซา พระองค์มีพระบิดาและมารดาอุปถัมภ์คือ เจ้าชายฌองแห่งลักเซมเบิร์กและคาทาลีนา เมสตร์ พระองค์มีพระนามเดียวกับพระปัยกาคือ เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา พระองค์มีพระเชษฐา 1 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก พระอนุชาและพระกนิษฐารวม 3 พระองค์คือ เจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก,เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบาสเตียนแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สนพระทัยในกีฬาโปโล,สกีและงานช่างไม้ มักทรงเป็นตัวแทนของราชวงศ์ไปแข่งขันกีฬาต่างๆ พระองค์ทรงศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์กและโรงเรียนอัลปินนานาชาติโบโซริลที่สวิตเซอร์แลนด์ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำ ปัจจุบันพระองค์ทรงทำงานสาธารณะการบริหารคณะกรรมการเอสเอของบริษัทสวิส ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลียมแห่งนัสเซา

้าชายเลียมแห่งนัสเซา เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก กับ เจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระนัดดาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก เมื่อแรกประสูติ ทรงมีพระอิสริยยศที่ เจ้าชายแห่งนัสเซา เช่นพระภคินี คือ เจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซ.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเลียมแห่งนัสเซา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก

้าฟ้าชายเซบัสเตียง อ็องรี มารี กีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก (ประสูติ 16 เมษายน พ.ศ. 2535 ลักเซมเบิร์ก) พระบุตรองค์ที่ 5 และองค์เล็กในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก กับแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก กับอาร์คดัชเชสแอสตริดแห่งออสเตรีย-เอสต์ เจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม พระองค์มีพระเชษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก, เจ้าฟ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระเชษฐภคินี 1 พระองค์คือ เจ้าฟ้าหญิงอเล็กซันดราแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ทรงอยู่ในลำดับ 3 ของการสืบราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์ก หลังจากเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระเชษฐาทรงออกจากการสืบราชสันตติวงศ์ พระองค์ทรงเข้ารับการศึกษาที่ โรงเรียนนานาชาติเซนต์จอร์จ ลักเซมเบิร์ก และได้เข้าวิทยาลัยแอมเพิลฟอร์ธ ปัจจุบันศึกษาที่โรงเรียนนานาชาติลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าชายเซบัสเตียงแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล

้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เป็นบุตรของนาย แฮรี ซาเลม กับ นางราจิรา อารีบา ประสูติ ณ ประเทศเลบานอน ต่อมาได้เสกสมรสกับ เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด พระโอรสใน เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เจ้าหญิงแห่งฮัชไมต์จอร์แดน มีพระบุตร 3 พระอง.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี กาบรีแยลแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงมารี กาเบรียล เจ้าหญิงพระมารดาและเคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก เป็นพระธิดาใน แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก กับ เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เป็นพระขนิษฐาใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระมาตุจฉาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สมรสกับ คนุดที่ 7 เคานท์แห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระชายา และเคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก มีพระบุตร 8 พระองค์ ต่อมาพระสวามีสิ้นพระชนม์ พระธิดาพระองค์ใหญ่สืบพระอิสริยยศเป็น โมนิคที่ 8 เคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระมารดาและเคาน์เตสแห่งโอลเทน-เลนเดอร์เบิร์ก.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงมารี กาบรีแยลแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งลิกเตนสไตน์

้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งลิกเตนสไตน์ (เดิม:เจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งลักเซมเบิร์ก)ทรงเป็นพระธิดาใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระขนิษฐาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เสกสมรสกับ เจ้าชายนิโคลัสแห่งลิกเตนสไตน์ พระโอรสใน เจ้าชายฟรันซ์ โยเซฟที่ 2 แห่งลิกเตนสไตน์ และเป็นพระอนุชาใน เจ้าชายฮันส์-อาดัมที่ 2 แห่งลิกเตนสไตน์ มีพระบุตร 4 พระองค์ ภายหลังเสกสมรส ทรงรับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงแห่งลิกเตนสไตน์ และยังเป็นเจ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ใช้ฐานันดร เฮอร์รอยัลไฮนีส แต่พระสวามีของพระองค์อยู่ในฐานันดร ฮิสเซอรีนไฮเนส พระองค์ยังคงสามารถรักษาฐานันดรเมื่อแรกประสูติไว้ได้.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะ

้าหญิงสึงุโกะแห่งทะกะมะโดะ (8 มีนาคม พ.ศ. 2529) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะโดะกับเจ้าหญิงฮิซะโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงสึกูโกะแห่งทากามาโดะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซา

้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซา เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก กับ เจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระนัดดาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก เมื่อแรกประสูติ ทรงมีพระอิสริยยศที่ เจ้าหญิงแห่งนัสเซา พระองค์ทรงมีพระอนุชา 1 พระองค์ คือ เจ้าชายเลียมแห่งลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงอะมาเลียแห่งนัสเซา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญ

้าหญิงอาลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงพระมารดาแห่งลีญ เป็นพระธิดาในแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก กับเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เป็นพระขนิษฐาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระมาตุจฉาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สมรสกับ อ็องตวน เจ้าชายที่ 13 แห่งลีญ พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระชายาแห่งลีญ มีพระบุตร 7 พระองค์ ต่อมาพระสวามีสิ้นพระชนม์ พระโอรสพระองค์ใหญ่สืบพระอิสริยยศเป็นมีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ พระองค์จึงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงพระมารดาแห่งลีญ.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์ก

้าฟ้าหญิงอเล็กซันดรา โฌเซฟิน เทเรซา ชาล็อต มารี วิลเฮลมินแห่งลักเซมเบิร์ก (ประสูติ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) พระบุตรองค์ที่ 4 และพระธิดาพระองค์เดียวในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก และแกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก พระบิดามารดาอุปถัมภ์คือ มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญและเจ้าหญิงมาเรีย-แอนนา กาลิตท์ซิน อาร์คดัสเชสแห่งออสเตรีย พระองค์มีพระยศชั้นเจ้าฟ้าหญิง พระอิสริยยศ เจ้าฟ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าฟ้าหญิงแห่งนัสเซา เจ้าหญิงอเล็กซันดรามีพระเชษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกกีโยม รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก, เจ้าฟ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระอนุชา 1 พระองค์คือ เจ้าฟ้าชายเซบาสเตียนแห่งลักเซมเบิร์ก เนื่องจากพระนางทรงเป็นสตรีจึงไม่มีสิทธิในราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์กจนกว่าจะหมดรัชทายาทบุรุษ ถึงแม้ว่าพระปัยยิกาของเจ้าหญิงอเล็กซันดราจะทรงได้ครองราชย์เป็น แกรนด์ดัสเชสแห่งลักเซมเบิร์ก ซึ่งถูกต้องตามกฎบัตรซาลลิก โดยทางพระบิดาของพระนาง เจ้าหญิงอเล็กซานดรามีความเกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์ซึ่งครองราชย์ปัจจุบันในยุโรป เจ้าหญิงอเล็กซันดราเป็นพระมารดาอุปถัมภ์ในเจ้าฟ้าชายกาเบรียลแห่งนัสเซา พระโอรสพระองค์แรกในเจ้าฟ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก กับเจ้าฟ้าหญิงเทสซีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงอเล็กซานดราทรงได้รับ the Order of the Gold Lion แห่งราชวงศ์นัสเซา ในวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงอาแล็กซ็องดราแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระชายาใน เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ประสูติที่ ประเทศเยอรมนี พระองค์และพระสวามี มีพระโอรส-ธิดารวม 2 พระองค์ ซึ่งพระบุตรของพระองค์ ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าชาย/เจ้าหญิงแห่งนัสเซ.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเจ้าหญิงแคลร์แห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เทสซี อ็องตอนี

ทสซี อ็องตอนี (Tessy Antony; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นอดีตพระชายาในเจ้าชายหลุยส์แห่งลักเซมเบิร์ก พระโอรสในแกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์กองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและเทสซี อ็องตอนี · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์กและ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แกรนด์ดยุกอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุคอองรีที่ 1แกรนด์ดยุคอ็องรีที่ 1แกรนด์ดยุคอ็องรีที่ 1 แห่งลักเซมเบิร์ก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »