โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แกมมา

ดัชนี แกมมา

แกมมา (gamma) หรือ กามา (γάμμα, γάμα, ตัวใหญ่ Γ, ตัวเล็ก γ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 3 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 3.

38 ความสัมพันธ์: พลูโทเนียมกล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตันการสลายให้กัมมันตรังสีภาษาฮีบรูรายการเอกลักษณ์ตรีโกณมิติสภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้าสีอักษรฟินิเชียอักษรกรีกอักษรฮีบรูอักษรตระกูลเซมิติกจันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน พ.ศ. 2554ทาลัสซีเมียแบบแอลฟาค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนีซารอสดวงจันทร์ที่ 110ประวัติศาสตร์อักษรแกมมา (อุปราคา)แกมมา (แก้ความกำกวม)แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 110แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 111แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 112แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 113แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 115แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 116แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 117แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 118แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 119แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 120แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 121แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 122แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 123แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 124โมเลกุลส่งสัญญาณที่สองไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่นเลออนฮาร์ด ออยเลอร์เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้องГ

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: แกมมาและพลูโทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตัน หรือ กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน (Compton Gamma-ray Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ หลังจากที่ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปก่อนหน้านั้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตันตั้งชื่อตาม ดร.

ใหม่!!: แกมมาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

การสลายให้กัมมันตรังสี

การสลายให้อนุภาคแอลฟา เป็นการสลายให้กัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอมปลดปล่อย อนุภาคแอลฟา เป็นผลให้อะตอมแปลงร่าง (หรือ "สลาย") กลายเป็นอะตอมที่มีเลขมวลลดลง 4 หน่วยและเลขอะตอมลดลง 2 หน่วย การสลายให้กัมมันตรังสี (radioactive decay) หรือ การสลายของนิวเคลียส หรือ การแผ่กัมมันตรังสี (nuclear decay หรือ radioactivity) เป็นกระบวนการที่ นิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร สูญเสียพลังงานจากการปลดปล่อยรังสี.

ใหม่!!: แกมมาและการสลายให้กัมมันตรังสี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: แกมมาและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

รายการเอกลักษณ์ตรีโกณมิติ

ซน์และไซน์รอบวงกลมหนึ่งหน่วย ในวิชาคณิตศาสตร์ เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ เป็นสมการที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชันตรีโกณมิติ และเป็นจริงสำหรับทุกค่าของตัวแปรมุม เมื่อแต่ละข้างของสมการสามารถหาค่าได้ ในทางเรขาคณิต เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ คือ เอกลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชันของมุมหนึ่งมุมขึ้นไป แตกต่างจากเอกลักษณ์รูปสามเหลี่ยม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับมุมเช่นกัน แต่จะรวมถึงความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมด้วย เอกลักษณ์เหล่านี้เป็นประโยชน์ เมื่อใดที่มีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชันตรีโกณมิติ การประยุกต์ที่สำคัญ คือ การหาปริพันธ์ของฟังก์ชันที่ไม่ใช่ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ซึ่งเป็นวิธีการที่ต้องใช้การแทนค่าด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นลำดับแรกก่อน แล้วจึงหาผลลัพธ์ของปริพันธ์โดยใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิต.

ใหม่!!: แกมมาและรายการเอกลักษณ์ตรีโกณมิติ · ดูเพิ่มเติม »

สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า

ต้านทานไฟฟ้า (electrical resistivity, resistivity, specific electrical resistance, หรือ volume resistivity) คือปริมาณการวัดของการต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าในวัสดุ ค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าต่ำบ่งชี้ว่าวัสดุยินยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้ง่าย หน่วยในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศของสภาพต้านทานไฟฟ้าคือ โอห์ม เมตร (Ωm) ซึ่งจะแสดงในรูปแบบอักษรกรีกตัว ρ (โร) สภาพนำไฟฟ้า (electrical conductivity หรือ specific conductance) เป็นปริมาณที่ตรงข้ามกัน เป็นการวัดความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะแสดงในรูปแบบอักษรกรีกตัว σ (ซิกมา) แต่บางครั้งใช้ κ (เช่น ในวิศวกรรมไฟฟ้า) หรือ γ แทน หน่วยในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศคือ ซีเมนส์ ต่อ เมตร (S·m−1) และหน่วย CGSE คือส่วนกลับของวินาที (s−1).

ใหม่!!: แกมมาและสภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สี

วงล้อสี สี คือการรับรู้ความถี่ (ความกว้างคลื่นหรือความยาวคลื่น) ของแสง ในทำนองเดียวกันกับที่ระดับเสียง มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจากโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซึ่งมีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ที่ต่างกัน การรับรู้สีนั้นขึ้นกับปัจจัยทางชีวภาพ (คนบางคนตาบอดสี ซึ่งหมายถึงคนคนนั้นเห็นสีบางค่าต่างจากคนอื่นหรือไม่สามารถแยกแยะสีที่มีค่าความอิ่มตัวใกล้เคียงกันได้ หรือแม้กระทั่งไม่สามารถเห็นสีได้เลยมาแต่กำเนิด), ความทรงจำระยะยาวของบุคคลผู้นั้น, และผลกระทบระยะสั้น เช่น สีที่อยู่ข้างเคียง บางครั้งเราเรียกแขนงของวิชาที่ศึกษาเรื่องของสีว่า รงคศาสตร์ วิชานี้จะครอบคลุมเรื่องของการรับรู้ของสีโดยดวงตาของมนุษย์, แหล่งที่มาของสีในวัตถุ, ทฤษฎีสีในวิชาศิลปะ, และฟิสิกส์ของสีในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้.

ใหม่!!: แกมมาและสี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: แกมมาและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ใหม่!!: แกมมาและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: แกมมาและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตระกูลเซมิติก

อักษรตระกูลเซมิติก เป็นกลุ่มของตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ที่ได้แรงบันดาลใจจากอักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์โบราณ อักษรเหล่านี้ไม่ได้มาจากสัญลักษณ์แทนพยัญชนะของชาวอียิปต์ แต่เป็นการรวมอักษรไฮโรกลิฟฟิกอื่นๆเข้ามาด้วย ทั้งหมดมี 30 ตัว กำหนดชื่อเป็นภาษาเซมิติก เช่น ไฮโรกลิฟ per (บ้าน ในภาษาอียิปต์) กลายเป็น bayt (บ้าน ในภาษาเซมิติก) เมื่อนำมาเขียนภาษาเซมิติกจะเป็นระบบพยัญชนะล้วน โดยอักษรแต่ละตัวแทนเสียงพยัญชนะตัวแรกของชื่อ เช่น รูปบ้าน beyt ใช้แทนเสียง b หรือใช้แทนทั้งเสียง b และลำดับพยัญชนะ byt ดังที่ใช้แทนเสียง p และลำดับพยัญชนะ pr ในภาษาอียิปต์ ในยุคที่ชาวคานาอันนำอักษรนี้ไปใช้ จะใช้แทนเสียง b เท่านั้น ไม่มีหลักฐานว่าอักษรเซมิติกเริ่มต้นมีจำนวนเท่าใดและเรียงลำดับอย่างใด อักษรที่พัฒนาต่อมานั้น อักษรยูการิติคมี 27 ตัว และอักษรฟินิเชียมี 22 ตัว การเรียงลำดับของอักษรเหล่านี้มี 2 แบบ คือ ลำดับ ABGDE ของอักษรฟินิเชีย และลำดับ HMĦLQ ของอักษรทางใต้ อักษรยูการิติกใช้ทั้ง 2 แบบ ชื่อของอักษรมักใช้ตามอักษรฟินิเชีย ทั้งอักษรซามาริทัน อักษรอราเมอิก อักษรซีเรียค อักษรฮีบรูและอักษรกรีก แต่ต่างไปในอักษรอาหรับและอักษรละติน แต่ไม่มีการใช้ชื่ออักษรในอักษรพราหมีและอักษรรูนิก.

ใหม่!!: แกมมาและอักษรตระกูลเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

จันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน พ.ศ. 2554

ันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน..

ใหม่!!: แกมมาและจันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ทาลัสซีเมียแบบแอลฟา

ทาลัสซีเมียแบบแอลฟา (Alpha-thalassemia, α-thalassemia, α-thalassaemi) เป็นทาลัสซีเมียประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นกลุ่มโรคเลือดที่สืบทอดทางกรรมพันธุ์และเกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์ห่วงลูกโซ่โปรตีนของเฮโมโกลบิน โดยเฉพาะแล้ว แบบแอลฟาเกิดจากความผิดปกติของยีน HBA1 และ/หรือ HBA2 บนโครโมโซม 16 ทำให้ผลิตห่วงลูกโซ่แบบแอลฟาจากยีน globin 1,2,3, หรือทั้ง 4 ยีนอย่างผิดปกติ มีผลให้ห่วงลูกโซ่แบบแอลฟาลดลงหรือไม่มี และเกิดห่วงลูกโซ่แบบบีตามากเกินสัดส่วน ระดับความพิการที่เกิดจะขึ้นอยู่กับลักษณะทางพันธุกรรม (phenotype) ที่มี คือ มียีนกี่ตำแหน่งที่เปลี่ยนไป แต่โดยทั่วไปแล้วความไม่สมดุลของห่วงลูกโซ่แอลฟาและบีตาจะทำให้เกิดการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis) และการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ คนที่มีกรรมพันธุ์แบบพาหะเงียบ (silent carrier) และแบบลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จะไม่มีอาการ ไม่ต้องรักษา และจะมีการคาดหมายคงชีพที่อายุปกติ คนที่เป็นระดับปานกลาง (intermedia) จะมีภาวะเลือดจางเพราะการสลายเลือด และทารกที่มีระดับหนัก (major) มักจะไม่รอดชีวิต บุคคลที่มีโรคควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนมีบุตร/ก่อนแต่งงาน และบุคคลที่เป็น trait ควรตรวจบุตรที่อยู่ในครรภ์ (chorionic villus sampling).

ใหม่!!: แกมมาและทาลัสซีเมียแบบแอลฟา · ดูเพิ่มเติม »

ค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี

งตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี (Euler–Mascheroni constant) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ส่วนมากใช้ในทฤษฎีจำนวน เป็นค่าของลิมิตระหว่างอนุกรมฮาร์โมนิกและลอการิทึมธรรมชาติ \sum_^n \frac \right) - \log (n) \right.

ใหม่!!: แกมมาและค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี · ดูเพิ่มเติม »

ซารอสดวงจันทร์ที่ 110

วงรอบซารอสชุดที่ 110 ของจันทรุปราคา จุดขึ้นจากจุดโหนดขึ้นในวงโคจรของดวงจันทร์ เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุกๆ 18 ปี 11 และ 1/3 วัน มีจันทรุปราคาในชุดซารอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ประกอบด้วย เงามัว 8 ครั้ง, บางส่วน 22 ครั้ง, เต็มดวง 12 ครั้ง, บางส่วน 19 ครั้ง, เงามัว 7 ครั้ง.

ใหม่!!: แกมมาและซารอสดวงจันทร์ที่ 110 · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อักษร

ประวัติศาสตร์ของอักษร ชนิดแทนหน่วยเสียงมีจุดเริ่มต้นอยู่ในอียิปต์โบราณ อักษรแทนหน่วยเสียงชนิดแรกเป็นอักษรไร้สระ ปรากฏเมื่อ 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นผลงานของแรงงานชาวเซมิติกในอียิปต์ เพื่อใช้เขียนภาษาของตนเอง โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะซึ่งใช้คู่กับอักษรคำในอักษรไฮโรกลิฟฟิก อักษรอื่นๆ ที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่พัฒนามาจากอักษรนี้รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรกรีก และอักษรละติน.

ใหม่!!: แกมมาและประวัติศาสตร์อักษร · ดูเพิ่มเติม »

แกมมา (อุปราคา)

แกมมา (แทนความหมายด้วย γ) ของอุปราคา อธิบายว่าศูนย์กลางเงาของดวงจันทร์หรือโลกปะทะกับสิ่งอื่นเช่นไร ระยะห่าง เมื่อแกนของเงาทรงกรวยผ่านเข้าใกล้ศูนย์กลางโลกหรือดวงจันทร์มากที่สุด คือ สภาพขณะส่วนของรัศมีระนาบศูนย์สูตรของโลก สัญลักษณ์ของแกมมา หมายความว่า สำหรับสุริยุปราคา ถ้าแกนของเงาเคลื่อนผ่านทางเหนือหรือทางใต้ของจุดศูนย์กลางโลก ค่าทางบวกจะหมายถึงทางเหนือ สำหรับจันทรุปราคา มันหมายถึงแกนของเงาของโลกผ่านทางเหนือหรือทางใต้ของดวงจันทร์ ค่าทางบวกจะหมายถึงทางใต้ สำหรับสุริยุปราคา โลก ให้คำจำกัดความว่าครึ่งหนึ่งอันซึ่งมีการสัมผัสกับดวงอาทิตย์ (การเปลี่ยนแปลงนี้ร่วมกับฤดูกาล และไม่สัมพันธ์โดยตรงกับขั้วโลกหรือศูนย์สูตร ดังนั้น จุดศูนย์กลางของโลก คือ ดวงอาทิตย์อยู่ ณ กลางศรีษะโดยตรงไม่ว่าที่ไหนก็ตาม) แผนภาพที่อยู่ติดกันแสดงให้เห็นถึงแกมมาสุริยุปราคา: เส้นที่แดงแสดงถึงระยะห่างที่น้อยที่สุดจากจุดศูนย์กลางของโลก ในกรณีนี้โดยประมาณ 75% ของรัศมีของโลก เพราะว่าเงามืดผ่านทางเหนือจุดศูนย์กลางของโลก แกมมาในตัวอย่างนี้จึงเป็น +0.75 ค่าสัมบูรณ์ของแกมมาเราแบ่งตามการจำแนกความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของสุริยุปร.

ใหม่!!: แกมมาและแกมมา (อุปราคา) · ดูเพิ่มเติม »

แกมมา (แก้ความกำกวม)

แกมมา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: แกมมาและแกมมา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 110

แซรอสชุดที่ 110 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 110 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 463 - ค.ศ. 1743 กินเวลาทั้งสิ้น 1,280 ปี ชุดแซรอสนี้จะเริ่มขึ้นบริเวณขั้วโลกใต้ และจะไปสิ้นสุดบริเวณขั้วโลกเหนือ.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 110 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 111

แซรอสชุดที่ 111 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 79 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 111 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 11 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 14 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 16 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 528 - ค.ศ. 1935 กินเวลาทั้งสิ้น 1,406 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 111 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 112

แซรอสชุดที่ 112 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 112 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 24 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 14 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 5 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 539 - ค.ศ. 1819 กินเวลาทั้งสิ้น 1,280 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 112 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 113

แซรอสชุดที่ 113 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 113 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 586 - ค.ศ. 1848 กินเวลาทั้งสิ้น 1,262 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 113 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114

แซรอสชุดที่ 114 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 114 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 18 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 13 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 16 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 651 - ค.ศ. 1931 กินเวลาทั้งสิ้น 1,280 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 115

แซรอสชุดที่ 115 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 115 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 37 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 14 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 662 - ค.ศ. 1942 กินเวลาทั้งสิ้น 1,280 ปี ชุดแซรอสนี้จะเริ่มขึ้นบริเวณขั้วโลกเหนือ และจะไปสิ้นสุดบริเวณขั้วโลกใต้.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 115 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 116

แซรอสชุดที่ 116 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 116 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 53 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 727 - ค.ศ. 1971 กินเวลาทั้งสิ้น 1,244 ปี ชุดแซรอสนี้จะเริ่มขึ้นบริเวณขั้วโลกใต้ และจะไปสิ้นสุดบริเวณขั้วโลกเหนือ.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 116 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 117

แซรอสชุดที่ 117 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 117 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 23 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 5 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 28 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 792 - ค.ศ. 2054 กินเวลาทั้งสิ้น 1,262 ปี ชุดแซรอสนี้จะเริ่มขึ้นบริเวณขั้วโลกเหนือ และจะไปสิ้นสุดบริเวณขั้วโลกใต้.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 117 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 118

แซรอสชุดที่ 118 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 118 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 40 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 15 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 803 - ค.ศ. 2083 กินเวลาทั้งสิ้น 1,280 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 118 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 119

แซรอสชุดที่ 119 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 119 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 2 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 51 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 850 - ค.ศ. 2112 กินเวลาทั้งสิ้น 1,262 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 119 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 120

แซรอสชุดที่ 120 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 120 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 25 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 26 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 933 - ค.ศ. 2195 กินเวลาทั้งสิ้น 1,262 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 120 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 121

7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008จากนิวซีแลนด์เห็นเป็นบางส่วนจากปรากฏการณ์วงแหวนเป็นครั้งที่ 60 ในชุดนี้ แซรอสชุดที่ 121 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 121 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 42 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 11 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 944 - ค.ศ. 2206 กินเวลาทั้งสิ้น 1,262 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 121 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 122

แซรอสชุดที่ 122 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 122 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 3 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 37 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 991 - ค.ศ. 2235 กินเวลาทั้งสิ้น 1,244 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 122 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 123

แซรอสชุดที่ 123 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 123 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 27 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 14 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1074 - ค.ศ. 2318 กินเวลาทั้งสิ้น 1244 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 123 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 124

แซรอสชุดที่ 124 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 124 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1049 - ค.ศ. 2347 กินเวลาทั้งสิ้น 1298.17 ปี.

ใหม่!!: แกมมาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 124 · ดูเพิ่มเติม »

โมเลกุลส่งสัญญาณที่สอง

มเลกุลส่งสัญญาณที่สอง (Second messenger) เป็นโมเลกุลให้สัญญาณภายในเซลล์ (intracellular signaling molecule) ที่เซลล์หลั่งออกเพื่อเริ่มการเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพ เช่น การเพิ่มจำนวนเซลล์ (proliferation) การเปลี่ยนสภาพ (differentiation) การอพยพย้ายที่ การรอดชีวิต และอะพอพโทซิส ดังนั้น โมเลกุลส่งสัญญาณที่สองจึงเป็นองค์ประกอบเริ่มต้นองค์หนึ่งที่จุดชนวนลำดับการถ่ายโอนสัญญาณ (signal transduction) ภายในเซลล์ ตัวอย่างของโมเลกุลส่งสัญญาณที่สองรวมทั้ง cyclic adenosine monophosphate (cAMP), cyclic guanosine monophosphate (cGMP), inositol trisphosphate (IP3), ไดกลีเซอไรด์ และแคลเซียม เซลล์จะหลั่งโมเลกุลส่งสัญญาณที่สองเมื่อได้รับโมเลกุลส่งสัญญาณนอกเซลล์ ซึ่งเรียกว่า โมเลกุลส่งสัญญาณที่หนึ่ง (first messenger) และเป็นปัจจัยนอกเซลล์ บ่อยครั้งเป็นฮอร์โมนหรือสารสื่อประสาท เช่น เอพิเนฟรีน, growth hormone, และเซโรโทนิน เพราะฮอร์โมนแบบเพปไทด์และสารสื่อประสาทปกติจะเป็นโมเลกุลชอบน้ำ จึงไม่อาจผ่านข้ามเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งเป็นชั้นฟอสโฟลิพิดคู่ เพื่อเริ่มการเปลี่ยนแปลงภายในเซลล์โดยตรง นี่ไม่เหมือนฮอร์โมนแบบสเตอรอยด์ซึ่งปกติจะข้ามได้ การทำงานที่จำกัดเช่นนี้จึงทำให้เซลล์ต้องมีกลไกถ่ายโอนสัญญาณ เพื่อเปลี่ยนการส่งสัญญาณของโมเลกุลที่หนึ่งให้เป็นการส่งสัญญาณของโมเลกุลที่สอง คือให้สัญญาณนอกเซลล์แพร่กระจายไปภายในเซลล์ได้ ลักษณะสำคัญของระบบนี้ก็คือ โมเลกุลส่งสัญญาณที่สองอาจจับคู่ในลำดับต่อ ๆ ไปกับกระบวนการทำงานของ kinase แบบ multi-cyclic เพื่อขยายกำลังสัญญาณของโมเลกุลส่งสัญญาณแรกอย่างมหาศาล ยกตัวอย่างเช่น RasGTP จะเชื่อมกับลำดับการทำงานของ Mitogen Activated Protein Kinase (MAPK) เพื่อขยายการส่งสัญญาณแบบ allosteric ของปัจจัยการถอดรหัส (transcription factor) เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ เช่น Myc และ CREB นักเภสัชวิทยาและเคมีชีวภาพชาวอเมริกัน เอิร์ล วิลเบอร์ ซัทเทอร์แลนด์ จูเนียร์ (Earl Wilbur Sutherland, Jr) เป็นผู้ค้นพบโมเลกุลส่งสัญญาณที่สอง เป็นงานที่เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี..

ใหม่!!: แกมมาและโมเลกุลส่งสัญญาณที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่น

อ้แมงมุมรูปแบบต่าง ๆ(วาดโดย เดวิด ลินช์) นอกจากจะเป็นหนึ่งในหนังสือการ์ตูนกระแสหลักของสังกัดมาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) แล้ว เรื่องของไอ้แมงมุม หรือสไปเดอร์แมน (Spider-Man) ก็ยังถูกนำมาเล่าในเนื้อเรื่องอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: แกมมาและไอ้แมงมุมในรูปแบบอื่น · ดูเพิ่มเติม »

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์

องเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ วาดโดยจิตรกร เอ็มมานูเอล ฮันด์มันน์ (Emanuel Handmann) เมื่อ ค.ศ.1753 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler, 15 เมษายน พ.ศ. 2250 – 18 กันยายน พ.ศ. 2326) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส ได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของโลก เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้คำว่า "ฟังก์ชัน" ในแวดวงคณิตศาสตร์ (ตามคำนิยามของไลบ์นิซ ใน ค.ศ. 1694) ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น y.

ใหม่!!: แกมมาและเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง (voiced velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา ยกเว้นภาษาไทย สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ซึ่งเป็นรูปแปรหนึ่งของตัวอักษรกรีก γ (แกมมา) ที่ใช้เป็นพยัญชนะแทนเสียงนี้ในภาษากรีกสมัยใหม่ (เป็นสัทอักษรคนละตัวกับ ซึ่งแทนเสียงสระเออะ/เออของภาษาไทย) นอกจากนี้ บางครั้งมีการใช้สัญลักษณ์ แทนเสียงเปิด เพดานอ่อน (velar approximant) ซึ่งที่จริงหากเขียนโดยมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับอยู่ด้วยเป็น หรือ ก็จะถูกต้องกว.

ใหม่!!: แกมมาและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

Г

Ge หรือ He (Г, г) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // หรือ // ในภาษาที่แตกต่างกัน อักษรนี้มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แกมมา และ Г ทั้งตัวใหญ่และตัวเล็ก จะมีรูปร่างเหมือนแกมมาตัวใหญ่ ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ glagoli และมีค่าเท่ากับ 3 ในเลขซีริลลิก ในมาตรฐานของภาษาเซอร์เบีย ภาษาบัลแกเรีย และภาษามาซิโดเนีย อักษร Г จะออกเสียงเป็น // เหมือนกับ g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ หรือ ก ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียก็อ่านเป็น // เช่นกัน ยกเว้นเมื่อปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง (สะกดด้วย ก) หรือออกเสียงเป็น // ก่อนเสียงสระเพดานแข็ง มีอยู่น้อยคำที่อักษรนี้ปรากฏอยู่ตรงกลางแล้วออกเสียงเป็น // เช่น ураган urakan อูราคัน หมายถึง เฮอร์ริเคน ในภาษายูเครนและภาษาเบลารุส จะเรียกอักษรนี้ว่า He ใช้แทนเสียงเสียดแทรกในลำคอ // ไม่เหมือนเสียง h ของภาษาอังกฤษ สำหรับภาษายูเครนนั้น เสียง // นั้นหาที่ใช้ได้น้อย แต่เมื่อต้องการใช้จะเปลี่ยนรูปเขียนเป็น Ge with upturn (Ґ, ґ) แทน ส่วนภาษาเบลารุส แม้อักษร Г จะมีใช้บ่อย เพื่อแทนคำที่ยืมมาจากภาษาโปแลนด์และภาษารัสเซีย แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การใช้เสียงนี้ในภาษาก็ได้หมดความสำคัญไป การเพิ่มตัวอักษร Г ลงในภาษาเบลารุสยังคงได้รับการยอมรับเฉพาะนักภาษาศาสตร์บางท่าน แต่ยังไม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: แกมมาและГ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

GammaΓแกมม่า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »