โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เออแฌน เดอลาครัว

ดัชนี เออแฌน เดอลาครัว

วาดตัวเอง พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) แฟร์ดีน็อง-วิกตอร์-เออแฌน เดอลาครัว เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส เขาสามารถเรียนจากงานของยุคอื่นๆ เขานับถือการใช้สีของราฟาเอล และพลังวาดภาพอย่างเต็มที่ของแรมบรังด์และรูเบนส์ การศึกษางานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์อย่างใกล้ชิดของเขาทำให้เขาพัฒนารูปแบบภาพวาดที่ทิ้งความเข้มงวดของยุคคลาสสิก นำค่าแท้จริงของสีกลับมา เดอลาครัวมีอำนาจวาสนาจากคลาสสิก ศิลปะของเขาให้ทางเข้าตรงไปสู่สถานะทางอารมณ์ภายใน ดังนั้นมันกลายเป็นบางอย่างที่ศิลปะสมัยใหม่ (Modernism) จะเอาทิศทางมาจากมัน ศิลปะซึ่งปล่อยตัวมันเองให้เป็นอิสระอย่างเพิ่มขึ้นจากความจริงเพื่อหาค่าแท้จริงของมัน ราบเรียบ นามธรรมและเต็มไปด้วยอารมณ.

22 ความสัมพันธ์: พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์การาวัจโจกุสตาฟว์ กูร์แบภาพเหมือนของนายแพทย์กาแชภาพเหมือนตนเองมารียานรายชื่อจิตรกรวิกตอร์ อูโกวิวาลาวิดาออร์เดธแอนด์ออลฮิสเฟรนส์อัตติลาอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์จิตรกรชั้นครูจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจิตรกรรมสีน้ำคลีโอพัตรานาดาร์แมรี เคแซตเฟรเดริก ชอแป็งเฟรเดริก บาซีย์เมฟิสโตเฟเลสเด็กหญิงกำพร้าในสุสาน

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟว์ กูร์แบ

็อง เดซีเร กุสตาฟว์ กูร์แบ (Jean Désiré Gustave Courbet; 10 มิถุนายน ค.ศ. 1819 - 31 ธันวาคม ค.ศ. 1877) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสผู้นำของขบวนการสัจนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นขบวนการที่เชื่อมระหว่างขบวนการโรแมนติก (ที่พบในภาพเขียนของเตออดอร์ เฌรีโก (Théodore Géricault) และเออแฌน เดอลาครัว) กับ ตระกูลการเขียนบาร์บิซง (Barbizon School) กูร์แบมีบทบาทสำคัญในจิตรกรรมฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในฐานะที่เป็นผู้ริเริ่ม และในฐานะศิลปินผู้เต็มใจที่จะแสดงความคิดทัศนคติเกี่ยวกับสังคมในผลงานที่ทำ.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและกุสตาฟว์ กูร์แบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช

หมือนของนายแพทย์กาแช (Portret van Dr.; Portrait of Dr.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของลัทธิประทับใจยุคหลัง "ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช" ขายในราคา 82.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (75 ล้าน บวกค่านายหน้า 10 เปอร์เซ็นต์) ในปี..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

มารียาน

ปสเตอร์โฆษณาชวนเชื่อของรัสเซียในปี ค.ศ. 1914 แสดงภาพมารียาน (ตัวแทนของฝรั่งเศส, ยืนด้านซ้าย) และเทวีบริตาเนีย (ตัวแทนของบริเตนใหญ่, ยืนด้านขวา ประคองสมอ) ยอมรับการนำของมารดารัสเซีย (ตัวแทนของรัสเซีย, ยืนตรงกลาง) ในการเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 1 ''La Liberté guidant le peuple''), ฝีมือของ เออแฌน เดอลาครัวซ์ (1830), (พิพิธภัณฑ์ลูฟร์) มารียาน (Marianne) เป็นชื่อเรียกของรูปสัญลักษณ์เชิงบุคลาธิษฐาน (personification) ของประเทศฝรั่งเศส ในรูปลักษณ์ของสตรีเพศผู้เป็นตัวแทนแห่งเสรีภาพ สัญลักษณ์ดังกล่าวมักปรากฏอยู่ในเหรียญเงิน ภาพวาด ตรามหาลัญจกรประจำแผ่นดิน รูปปั้น อนุสาวรีย์ต่าง ๆ ในประเทศฝรั่งเศส และยังปรากฏอยู่ในภาพเขียน "เสรีภาพนำทางประชาชน" (La Liberté guidant le peuple) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1830.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและมารียาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจิตรกร

รายชื่อจิตรกร.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและรายชื่อจิตรกร · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอร์ อูโก

วิกตอร์-มารี อูโก (Victor-Marie Hugo; 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1802 — 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1885) เป็นกวี นักเขียนบทละคร นักประพันธ์ ศิลปิน รัฐบุรุษ และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนชาวฝรั่งเศส เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูงสำหรับการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมยุคโรแมนติกในประเทศฝรั่งเศส ชื่อเสียงของอูโกทางด้านงานวรรณกรรมในประเทศฝรั่งเศสมาจากงานกวีนิพนธ์และบทละคร ส่วนงานนวนิยายเป็นที่รู้จักรองลงมา ในบรรดางาน กวีนิพนธ์ของเขา Les Contemplations และ La Légende des siècles จัดเป็นงานที่โดดเด่นและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก บางครั้งอูโกได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะกวีผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศส ขณะที่เขาเป็นที่รู้จักภายนอกประเทศจากผลงานนวนิยาย เรื่อง Les Misérables (เหยื่ออธรรม) และ Notre-Dame de Paris (ฉบับแปลภาษาอังกฤษเรียกว่า The Hunchback of Notre Dame หรือ คนค่อมแห่งน็อทเทรอะ-ดาม).

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและวิกตอร์ อูโก · ดูเพิ่มเติม »

วิวาลาวิดาออร์เดธแอนด์ออลฮิสเฟรนส์

วิวาลาวิดาออร์เดธแอนด์ออลฮิสเฟรนส์ (Viva la Vida or Death and All His Friends) เป็นผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของวงดนตรีแนวอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากอังกฤษ โคลด์เพลย์ ออกจำหน่ายในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและวิวาลาวิดาออร์เดธแอนด์ออลฮิสเฟรนส์ · ดูเพิ่มเติม »

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ. 434 จนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 453 ที่พระองค์ได้เสด็จสวรรคตลง ในรัชสมัยของพระองค์สามารถครอบครองดินแดนตั้งแต่ ประเทศเยอรมนีไปจนถึงแม่น้ำยูรัล และจากแม่น้ำดานูบไปจนถึงทะเลบอลติก กินพื้นที่มากกว่า 4 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นการครอบครองดินแดนที่มากที่สุดอาณาจักรหนึ่งในยุคมืด ในรัชสมัยการปกครองของอัตติลาทรงเป็นประมุขผู้สร้างความหวาดหวั่นและถือเป็นศัตรูที่อันตรายที่สุดแก่จักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตก พระองค์ทรงรุกรานคาบสมุทรบอลข่านถึงสองครั้ง แต่พระองค์ไม่สามารถรุกรานกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ และจากผลพวงของการพ่ายแพ้ในเปอร์เซีย ในปี..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและอัตติลา · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ

ระมหากษัตริย์เป็นผลสำเร็จ • ล่าง: จอร์จ วอชิงตัน (George Washington) ลงชื่อในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาท่ามกลางสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์

็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ (Jean-Auguste-Dominique Ingres; 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 - 14 มกราคม ค.ศ. 1867) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูคลาสสิกชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนประวัติศาสตร์และภาพเหมือน แอ็งกร์เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 ในจังหวัดตาร์เนการอน ประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1867 ที่ปารีส แอ็งกร์ถือว่าตนเองเป็นจิตรภาพประวัติศาสตร์ตามแบบนีกอลา ปูแซ็ง และฌัก-หลุยส์ ดาวิด (Jacques-Louis David) แต่ในบั้นปลายความสามารถในการเขียนภาพเหมือนภาพเหมือนทั้งภาพเขียนและการวาดเส้นเป็นสิ่งที่ทำให้แอ็งกร์เป็นที่รู้จัก แอ็งกร์เป็นผู้ที่นับถือชื่นชมประวัติศาสตร์และเป็นผู้ที่พยายามพิทักษ์ความรู้แบบสถาบันต่อขบวนการลัทธิจินตนิยมที่กำลังคืบคลานเข้ามาที่นำโดยเออแฌน เดอลาครัว แอ็งกร์กล่าวสรรเสริญจิตรกรรมของจิตรกรสำคัญ ๆ ที่ผ่านมาเช่นราฟาเอล และประกาศตนว่าเป็นผู้รักษากฎเกณฑ์การวาดภาพที่สูงส่งเช่นนั้นและไม่ใช่เป็นผู้ “คิดค้น” วิธีใหม่ แต่อย่างไรก็ตามในความเห็นสมัยใหม่เห็นว่าแอ็งกร์และศิลปินฟื้นฟูคลาสสิกเป็นผู้ที่โอบอุ้มปรัชญาจินตนิยมของสมัยนั้น นอกจากนั้นการแสดงความบิดเบือนของรูปทรงและช่องว่างของแอ็งกร์เป็นแนวโน้มของของศิลปะสมัยใหม่ที่จะมาถึง.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรชั้นครู

วีนัสหลับ” (ราว ค.ศ. 1510) โดย จอร์โจเนที่หอจิตรกรชั้นครูแห่งเดรสเดน จิตรกรรมที่เขียน ราว ค.ศ. 1440 ที่ไม่ทราบนามจิตรกรที่ได้รับการระบุว่าเป็นงาน “ไม่ทราบนามครูบา” จิตรกรชั้นครู (Old Master) เป็นคำที่ใช้เรียกภาพเขียนที่เป็นงานเขียนของจิตรกรที่ถือกันว่าเป็นจิตรกรชั้นครู ผู้มีงานเขียนก่อราวปี..

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและจิตรกรชั้นครู · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำ

ตรกรวาดภาพสีน้ำโดยใช้พู่กัน จิตรกรรมสีน้ำ (ภาษาอังกฤษ: Watercolor painting หรือ Watercolour painting; ภาษาฝรั่งเศส: Aquarelle) เป็นวิธีการเขียนภาพวิธีหนึ่งที่ใช้สีน้ำเป็นอุปกรณ์การเขียนหรือมีผลเหมือนภาพที่เขียนด้วยสีน้ำที่เขียนด้วยสีที่ทำด้วย สารสี (pigments) ที่ละลายในของเหลวในภาชนะ สิ่งที่ใช้เขียนส่วนใหญ่จะเป็นกระดาษ แต่ก็อาจจะเป็นวัสดุอื่นเช่นกระดาษพาไพรัส, กระดาษที่ทำจากเปลือกไม้, พลาสติก, กระดาษหนังสัตว์ (Vellum) หรือ หนังสัตว์, ผ้า, ไม้ และผ้าใบ ในเอเชียตะวันออกจิตรกรรมสีน้ำเขียนด้วยหมึกที่เรียกว่าจิตรกรรมแปรง (Brush painting) หรือ จิตรกรรมม้วน (scroll painting) จิตรกรรมสีน้ำเป็นวิธีการเขียนจิตรกรรมที่นิยมกันมากที่สุดในจิตรกรรมจีน, จิตรกรรมเกาหลี หรือจิตรกรรมญี่ปุ่น ที่มักจะเป็นสีเดียวที่เป็นสีดำหรือน้ำตาล.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและจิตรกรรมสีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา

ลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลพาเธอร์ (Κλεοπάτρα θεά φιλοπάτωρ; หรือรู้จักทั่วไปในนาม คลีโอพัตรา) (มกราคม ปีที่ 69 ก่อนคริสตกาล – 30 พฤศจิกายน ปีที่ 30 ก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย บิดาของพระนางคือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระมารดาเป็นเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา" พระนามเต็มของพระนางคือ "คลีโอพัตรา เธอา ฟิโลปาตอร์" ซึ่งหมายถึง "เทพีคลีโอพัตรา ผู้เป็นที่รักของบิดา" พระนางมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงแตกฉานถึง 14 ภาษา เช่น ฮิบรู, ละติน, มาเซดอนโบราณ, เอธิโอเปียน, ซีเรีย, เปอร์เซีย, และ อียิปต์ ซึ่งแม้แต่ในราชวงศ์ น้อยคนนักที่จะแตกฉานภาษานี้ ปัจจุบัน คลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลปาตอร์ นับว่าเป็นผู้ปกครองอียิปต์โบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด นิยมเรียกพระนามสั้น ๆ ว่า คลีโอพัตรา ซึ่งทำให้ราชินีองค์ก่อน ๆ ที่ทรงพระนามคล้ายคลึงกัน ลบเลือนไปสิ้น ในความเป็นจริง พระนางไม่เคยปกครองอียิปต์เพียงลำพัง แต่ครองราชย์ร่วมกับพระบิดา, พระอนุชา, สวามีผู้เป็นอนุชาของพระองค์ หรือไม่ก็พระโอรส การครองราชย์ร่วมกันดังกล่าวมีผู้ร่วมบัลลังก์เป็นเพียงกษัตริย์ตามพระยศเท่านั้น อำนาจแท้จริงอยู่ในมือของคลีโอพัตราเองทั้งสิ้น.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและคลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

นาดาร์

Nadar (self-portrait) นาดาร์ (Nadar) หรือ กัสปาร์ด-เฟลิกซ์ ตูร์นาคง (Gaspard-Félix Tournachon) (6 เมษายน พ.ศ. 2363 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2453) ไม่ได้เป็นที่รู้จักเฉพาะงานที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพเท่านั้น เขายังเป็นที่รู้จักในความมีพรสวรรค์ของเขาในด้าน นักวารสาร, นักแต่งนวนิยาย, นักประดิษฐ์บอลลูน และนักสังคม เขาเป็นชาวฝรั่งเศสผู้ที่แม้ว่าจะเริ่มต้นอย่างต่ำต้อยแต่เขาก็ก้าวสู่ระดับของสังคมที่สูงขึ้นได้.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและนาดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก ชอแป็ง

ฟรเดริก ชอแป็ง เฟรเดริก ฟร็องซัว ชอแป็ง (Frédéric François Chopin) หรือ ฟรือแดรึก ฟรันต์ซีเชก ชอแป็ง (Fryderyk Franciszek Chopin บางครั้งสะกดว่า Szopen) เป็นคีตกวีชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2353 (ค.ศ. 1810) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) จากวัณโรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ ชื่อที่บิดามารดาของเขาตั้งให้คือ "Fryderyk Franciszek Chopin" ต่อมาได้หันมาใช้ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสเมื่อเขาได้ตัดสินใจจากประเทศบ้านเกิดเป็นการถาวรเพื่อมุ่งหน้าสู่กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและเฟรเดริก ชอแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก บาซีย์

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1865–1866) สถาบันศิลปะแห่งชิคาโก, สหรัฐอเมริกา ฌ็อง เฟรเดริก บาซีย์ (Jean Frédéric Bazille; 6 ธันวาคม ค.ศ. 1841 - 28 พฤศจิกายนน ค.ศ. 1870) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพคน.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและเฟรเดริก บาซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เมฟิสโตเฟเลส

มฟิสโตเฟเลส บินข้าม Wittenberg ปรากฏในวรรณกรรมของเออแฌน เดอลาครัว เมฟิสโตเฟเลส (Mephistopheles หรือสะกด Mephistophilus, Mephistophilis, Mephostopheles, Mephisto, Mephastophilis) เป็นปีศาจในนิทานพื้นบ้านของประเทศเยอรมนี เมฟิสโตเฟเลสปรากฏเริ่มแรกในวรรณกรรมในลักษณะของปีศาจในตำนานเฟาสต์ หลังจากนั้นเมฟิสโตเฟเลสได้ถูกนำมาใช้เป็นลักษณะของปีศาจในหลากหลายเรื่อง.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและเมฟิสโตเฟเลส · ดูเพิ่มเติม »

เด็กหญิงกำพร้าในสุสาน

็กหญิงกำพร้าในสุสาน (Orphan Girl at the Cemetery หรือ Young Orphan Girl in the Cemetery, Musée du Louvre, Louvre.fr, "c. 1824" according to this source.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเออแฌน เดอลาครัวซ์จิตรกรคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส แม้ว่าจะเชื่อกันว่าเป็นงานร่างสีน้ำมันสำหรับงาน “การสังหารหมู่ที่คิออส” แต่ “เด็กหญิงกำพร้าในสุสาน” เองก็ยังถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอก บรรยากาศในภาพเป็นบรรยากาศที่แสดงถึงความกลัวที่กำจายออกมาจากภาพ ดวงตาของสตรีอันในภาพหล่อด้วยน้ำตาขณะที่แหงนมองขึ้นไปอย่างประหวั่น ฉากหลังของภาพของบรรยากาศของความเศร้าหมอง ขณะที่ท้องฟ้าเป็นท้องฟ้ายามค่ำและลานที่ปราศจากผู้คน ภาษาร่างกายและเสื้อผ้าของเด็กสาวก่อให้ความรู้สึกของความโศรกเศร้า และความหวั่นไหว ที่รวมทั้งเสื้อที่ตกลงมาจากไหล่, มือขวาวางอย่างปล่อยๆ บนตัก เงาเหนือต้นคอ, ทางด้านขวาของร่างที่มืด และเสื้อที่มีสีเย็นและอ่อน สิ่งต่างๆ เหล่านี้รวมกันเข้าแล้วเน้นความรู้สึกสูญเสีย, ของความหวังอันไม่มีวันที่จะเป็นจริงขึ้นมาได้, ความโดดเดี่ยว และ การขาดความช่วยเหลือ ขณะที่สตรีสาวมองไปยังบุคคลที่เราไม่ทราบว่าเป็นใครทางขวาของภาพ สำหรับเดอลาครัวซ์แล้ว สีเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับการเขียนภาพ เพราะรสนิยมทางศิลปะและความเชื่อดังกล่าวเดอลาครัวซ์จึงไม่มีความอดทนที่จะสร้างรูปจำลองของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เดอลาครัวซ์มีความนับถือและชื่นชมปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และ ศิลปินเวนิส เดอลาครัวซ์ใช้สีอันมีสีสันและหัวเรื่องที่เขียนที่แปลก (exotic themes) ในการเขียนภาพ ที่มีแรงบันดาลใจมาจากสถานที่ต่างๆ ที่มีผลในงานเขียนที่วาววามและเต็มไปด้วยพลัง.

ใหม่!!: เออแฌน เดอลาครัวและเด็กหญิงกำพร้าในสุสาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

DelacroixEugene DelacroixEugène DelacroixFerdinand Victor Eugène Delacroixยูจีน เดอลาครัวซ์เออแฌน เดอลาครัวซ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »