โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เหรียญรัตนาภรณ์

ดัชนี เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

482 ความสัมพันธ์: ชวลิต ยงใจยุทธชาญ อังศุโชติชาติชาย ชุณหะวัณชำนาญ ยุวบูรณ์ชิต สิงหเสนีบุญชัย บำรุงพงศ์บุญเรือน ชุณหะวัณบุศย์ ปัทมศรินชูชาติ พิทักษากรพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาพิพัฒนธนากร (ฉิม โปษยานนท์)พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา)พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์)พระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์...พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณีพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนาพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณรายพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระนางเธอลักษมีลาวัณพระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผันพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภัศรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพศรีสอาดพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดาพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิมพับสรสร้อยพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดีพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวงจันทร์พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉมพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวิไลยลักษณาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคลพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติพิชัย กุลละวณิชย์พิจิตร กุลละวณิชย์พูนพิศ อมาตยกุลพูนศุข พนมยงค์พงษ์เทพ เทศประทีปกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์กระแส ชนะวงศ์กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยากฤษณพงศ์ กีรติกรกฤษณ์ สีวะรากลิ่น บุนนาคกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์กัลยา โสภณพนิชกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยากำธน สินธวานนท์กิมไล้ สุธรรมมนตรีกิตติ สีหนนทน์ภรณี มหานนท์มังกร พรหมโยธีมีชัย ฤชุพันธุ์มงคล อัมพรพิสิฏฐ์มนัสนิตย์ วณิกกุลมนตรี ตราโมทยุทธศักดิ์ ศศิประภารวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อพระเกียรติยศในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยละเอียด พิบูลสงครามวรพงษ์ สง่าเนตรวสิษฐ เดชกุญชรวัฒนชัย วุฒิศิริวิมล วงศ์วานิชวิระยา ชวกุลวิวัฒน์ ศัลยกำธรวิษณุ เครืองามวิโรจน์ แสงสนิทวิไล อมาตยกุลวีระยุทธ ดิษยะศรินศรีรัศมิ์ สุวะดีศักรินทร์ ภูมิรัตนสมบุญ ระหงษ์สมพร ยกตรีสมัคร สุนทรเวชสมิทธ ธรรมสโรชสมทัต อัตตะนันทน์สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมาสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสฤษดิ์ ธนะรัชต์สวัสดิ์ วัฒนายากรสัญญา ธรรมศักดิ์สุชาดา ถิระวัฒน์สุบิน ปิ่นขยันสุพิทย์ วรอุทัยสุกิจ นิมมานเหมินท์สุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิตสุภา คชเสนีสุริยนันทนา สุจริตกุลสุรเทิน บุนนาคสุจินดา คราประยูรสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยาสุนทร หงส์ลดารมภ์สุนทร คงสมพงษ์สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์สุเมธ ตันติเวชกุลสถิตย์พงษ์ สุขวิมลสง่า กิตติขจรสง่า สรรพศรีสง่า อิงคุลานนท์สนธิ บุณยะชัยหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะหม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยาหม่อมหลวงบัว กิติยากรหม่อมหลวงชูชาติ กำภูหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรีหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาคหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณหม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยาหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลกหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยาหม่อมเอลีซาเบท รังสิต ณ อยุธยาหม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากรหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุลหม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุลหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคลหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลหม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุลหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากรหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากรหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัยหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนีหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคลหม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตรหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์)หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)หลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์)อภัย จันทวิมลอภิรดี ยิ่งเจริญอรรถ วิสูตรโยธาภิบาลอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทรอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยาอารีย์ วงศ์อารยะอาษา เมฆสวรรค์อาณันย์ วัชโรทัยอานันท์ ปันยารชุนอำพล เสนาณรงค์อิสระพงศ์ หนุนภักดีอุกฤษ มงคลนาวินอดุล อดุลเดชจรัสอนันต์ อนันตกูลผิน ชุณหะวัณจรุงจิตต์ ทีขะระจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์จารุพงศ์ เรืองสุวรรณจำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์จำนงค์ โพธิสาโรจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยาจิตติ สุจริตกุลจิตติ ติงศภัทิย์จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาจงกล กิตติขจรธงทอง จันทรางศุธนะศักดิ์ ปฏิมาประกรธนิต อยู่โพธิ์ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถวิล รายนานนท์ถนอม กิตติขจรทวี บุณยเกตุทัศนาวลัย ศรสงครามทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น ในรัชกาลที่ 4)ขวัญแก้ว วัชโรทัยณรงค์ มหานนท์ณรงค์ ยุทธวงศ์ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดชดิเรก ชัยนามดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยาควง อภัยวงศ์คุณพลอยไพลิน เจนเซนคุณพุ่ม เจนเซนคุณสิริกิติยา เจนเซนคงศักดิ์ วันทนาประกอบ หุตะสิงห์ประภาส จารุเสถียรประมณฑ์ ผลาสินธุ์ประสิทธิ์ ณรงค์เดชประดิษฐ์ เจริญไทยทวีประเวศ วะสีปราโมทย์ ไม้กลัดปริม บุนนาคปลอดประสพ สุรัสวดีปาน พึ่งสุจริตปานเทพ กล้าณรงค์ราญนายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์)นิวัตต์ ดารานันทน์นิตย์ พิบูลสงครามนที รักษ์พลเมืองแก้วขวัญ วัชโรทัยแสง เหตระกูลแปลก พิบูลสงครามไพฑูรย์ อิงคสุวรรณเชษฐา ฐานะจาโรเชาวน์ ณศีลวันต์เฟื้อ หริพิทักษ์เพ็ชรา เตชะกัมพุชเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษม วัฒนชัยเกษม ศรีพยัคฆ์เกษตร โรจนนิลเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยาเสม พริ้งพวงแก้วเสริม วินิจฉัยกุลเสริม ณ นครเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญลูกเสือสดุดีเอื้อ สุนทรสนานเผ่า ศรียานนท์เจือทอง อุรัสยะนันทน์เจ้าชายวงศ์สว่าง มกุฎราชกุมารแห่งลาวเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค)เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่เจ้ามหาพรหมสุรธาดาเจ้าหญิงเบเนดิกเทอแห่งเดนมาร์กเจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาบัว ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาจีนเจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5เจ้าทิพเนตรเจ้าดารารัศมี พระราชชายาเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)เจ้าแก้วนวรัฐเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)เจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่เทอด เทศประทีปเทียนชัย ศิริสัมพันธ์เดชา สุขารมณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์เฉลิม ม่วงแพรศรีเฉลียว ปทุมรสเปรม ติณสูลานนท์เปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ขยายดัชนี (432 มากกว่า) »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญ อังศุโชติ

ลโท ชาญ อังศุโชติ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมัย เคยมีประสบการในการรับราชการ การทูต เป็นผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ และเป็นนายทหารที่ได้รับความไว้วางใจของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และชาญ อังศุโชติ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ชำนาญ ยุวบูรณ์

นายชำนาญ ยุวบูรณ์ เกิดวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และชำนาญ ยุวบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิต สิงหเสนี

ต สิงหเสนี เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และชิต สิงหเสนี · ดูเพิ่มเติม »

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 - 30 กันยายน 2519 เป็นบุตรนายยัง และนางแพ บำรุงพงศ์ สมรสกับคุณหญิงจรัสลักษณ์ บำรุงพงศ์ บุญชัยสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และบุญชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเรือน ชุณหะวัณ

ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม: โสพจน์; เกิดราว พ.ศ. 2462) เป็นภริยาของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของประเทศไทย และเป็นพระญาติฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และบุญเรือน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

บุศย์ ปัทมศริน

มจำเลยผู้ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2489 (จากซ้าย) นายชิต สิงหเสนี '''นายบุศย์ ปัทมศริน''' และนายเฉลียว ปทุมรส บุศย์ ปัทมศริน เป็นอดีตมหาดเล็กห้องบรรทมในรัชกาลที่ 8 ผู้ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องในการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อ พ.ศ. 2489 ต่อมาได้ตกเป็นผู้ต้องหาในคดีดังกล่าวและได้รับการตัดสินโทษประหารชีวิตในปี พ.ศ. 2498 นายบุศย์ ปัทมศริน เป็นบุตรของขุนวิสูตรเสนีย์กับนางปุก ปัทมศริน เกิดเมื่อ พ.ศ. 2443 จบการศึกษาระดับมัธยมศีกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เข้ารับราชการครั้งแรกในกรมปลัดบัญชี ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จนิวัติพระนครใน พ.ศ. 2488 จึงได้เลื่อนเป็นมหาดเล็กตั้งเครื่อง และมหาดเล็กห้องบรรทมตามลำดับ เมื่อเกิดเหตุการณ์การสวรรคตของรัชกาลที่ 8 นายบุศย์ได้ขึ้นให้การต่อคณะกรรมการสอบสวนพฤตติการณ์ในการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต หรือ "ศาลกลางเมือง" ในฐานะพยานสำคัญ เนื่องจากนายบุศย์เป็น 1 ใน 2 คนที่อยู่ใกล้ชิดกับห้องพระบรรทมของรัชกาลที่ 8 มากที่สุด แต่ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 นายบุศย์พร้อมด้วยบุคคลอื่นอีก 4 คน ได้ถูกจับกุมด้วยข้อหามีส่วนร่วมในการวางแผนลอบปลงพระชนม์รัชกาลที่ 8 ซึ่งต่อมาอัยการได้สั่งฟ้องนายบุศย์พร้อมกับผู้ต้องหาอีก 2 คน คือ นายเฉลียว ปทุมรส และนายชิต สิงหเสนี ในการพิจารณาคดีชั้นศาล ศาลอาญาได้พิพากษาให้ปล่อยตัวนายบุศย์ แต่ในชั้นศาลอุทธรณ์ได้กลับคำพิพากษาให้ประหารชีวิตนายบุศย์พร้อมกับนายชิต ที่สุดแล้วเมื่อมีการพิจารณาในชั้นศาลฎีกา ได้มีการพิพากษาให้ประหารชีวิตจำเลยในคดีนี้ทั้ง 3 คนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2497ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ศาลยุติธรรม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และบุศย์ ปัทมศริน · ดูเพิ่มเติม »

ชูชาติ พิทักษากร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกพิเศษ ชูชาติ พิทักษากร (19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 —) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงด้านดนตรีสากล โดยเป็นผู้มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ และเป็นผู้ถ่ายทอดวิชาดนตรีให้แก่ศาสตราจารย์ ดร. ณัชชา พันธุ์เจริญ, ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นรอรรถ จันทร์กล่ำ, อาจารย์สิทธิชัย เพ็งเจริญ, อาจารย์ทัศนา นาควัชระ, อาจารย์ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ และอาจารย์พิศุทธิ์ สายโอบเอื้อ ทั้งนี้ เขายังเป็นผู้เรียนวิชามวยไทยเลิศฤทธิ์ กับอาจารย์วิสิทธิ์ เลิศฤทธิ์ เป็นเวลาหลายปี เมื่อครั้งรับราชการทหารบก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และชูชาติ พิทักษากร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)

thumb พระยาบริรักษ์เวชชการ หรือนามเดิม ไล่ฮวด ติตติรานนท์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2435 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตสภานายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2476) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย และอดีตนายกสมาคมโหรแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์คนที่ 3 (พ.ศ. 2493 - 2510) ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงละมูล บริรักษ์เวชชการ มีบุตรธิดา 12 คน มีหญิง 2 คน ชาย 10 คน พระยาบริรักษ์เวชชการ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เป็นองคมนตรี เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 อยู่ในตำแหน่งจนถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2511 งานพระราชทานเพลิงศพวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)

ลเรือโท พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ) หรือ กัปตัน ริเชอลิเออ (André du Plessis de Richelieu, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2395 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารเรือของกองทัพเรือสยาม เป็นรองผู้บัญชาการการรบของไทยในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 และเป็นผู้ออกแบบป้อมพระจุลจอมเกล้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิพัฒนธนากร (ฉิม โปษยานนท์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาพิพัฒนธนากร (ฉิม โปษยานนท์) (7 กันยายน พ.ศ. 2426 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2497) อดีตเจ้ากรมฝิ่น (กรมสรรพสามิต).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาพิพัฒนธนากร (ฉิม โปษยานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)

ระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) (Francis Bowes Sayre; 30 เมษายน พ.ศ. 2428 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2515) เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเป็นบุตรเขยของวูดโรว์ วิลสัน อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ฟรานซิสเป็นนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา เดินทางมายังประเทศสยาม (ต่อมาคือประเทศไทย) ในฐานะเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำสยาม เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค)

ระยามนตรีสุริยวงศ์ มีนามเดิมว่า ชุ่ม เป็นบุตรคนที่ 9 ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) กับท่านผู้หญิงจันทร์ และเป็นน้องชายแท้ๆ ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ได้เป็นราชทูตไปยังราชสำนักอังกฤษเพื่อถวายพระราชสาส์นของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแก่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในปี พ.ศ. 2400 และในการเดินทางครั้งนี้ หม่อมราโชทัยล่ามของคณะทูตได้ประพันธ์ "นิราศลอนดอน" ขึ้นด้วย พระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค) มีบุตรชาย 18 คน และบุตรหญิง 10 คน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)

มหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2460) นามเดิม กมล สาลักษณ สมุหพระอาลักษณ์ เลขานุการรัฐมนตรีสภา ปลัดทูลฉลองกระทรวงเกษตราธิการ ปลัดทูลฉลองกระทรวงมุรธาธร ผู้ช่วยราชเลขาธิการ ราชเลขานุการ องคมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)

มหาเสวกตรี พระยาศรีสุนทรโวหาร (24 มิถุนายน พ.ศ. 2424 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2466) นามเดิม ผัน สาลักษณ เจ้ากรมพระอาลักษณ์ องคมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)

ระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) (? — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศญี่ปุ่น และองคมนตรีไทย พระยาศรีเสนา มีนามเดิมว่า ฮะ สมบัติศิริ ได้ศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ก่อนที่จะเป็นคนไทยกลุ่มแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านการปกครอง ที่ London School of Economics ประเทศอังกฤษ เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)

ระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นบุตรพลโท เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับคุณใหญ่ (สกุลเดิม โอสถานนท์) เริ่มรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2476-2477) จากนั้นไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)

ลตำรวจโท พระยาอธิกรณประกาศ เป็นอธิบดีกรมตำรวจคนที่ 2 ของประเทศไทย และต้นสกุลจาติกวณิช พระยาอธิกรณ์ประกาศ มีชื่อจริงว่าว่า หลุย จาติกวณิช (ชื่อเดิม: ซอ เทียนหลุย) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)

มหาเสวกเอก พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) อดีตผู้บัญชาการกรมมหรสพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

ระตำรวจเอก นายพลตรี พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี รัฐมนตรีและสมุหพระตำรวจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา)

ระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) กับคุณหญิงกลิ่น ธิดาพระยารามัญวงศ์ (มะโดด) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2391 บิดานำเข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กตั้งแต่อายุ 18 ปี เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กเวรศักดิ์ มียศเป็นนายฉลองไนยนารถ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านย้ายมาเป็นขุนนางกรมท่าขวา และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงราชเศรษฐี ระหว่างนี้ก็ศึกษากฎหมายด้วย ครั้นถึงรชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระราชเศรษฐี และเมื่อบิดาถึงแก่กรรมจึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระยาจุฬาราชมนตรี เจ้ากรมท่าขวา เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 นอกจากนั้นยังเป็นผู้พิพากษาศาลคดีต่างประเทศในกระทรวงยุติธรรมอีกตำแหน่งหนึ่ง ท่านเป็นข้าราชการที่สนิทชิดเชิ้อกับรัชกาลที่ 5 เป็นพิเศษ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และพานทองเทียบชั้นเจ้าพระยาพานทอง เมื่อท่านเจ็บป่วยก็โปรดเกล้าฯ ให้แพทย์หลวงมาดูแลรักษา พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน) ถึงแก่กรรมเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2453 รวมอายุ 65 ปี รัชกาลที่ 5 โปรดให้มีการแห่ศพทางน้ำอย่างสมเกียรติ พระราชทานไม้นิซ่านปักที่หลุมศพของท่านและทรงเป็นประธานในพิธีฝังศพด้วยพระองค์เอง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์)

มหาเสวกตรี พระพระยานรรัตนราชมานิต (ฉายาเมื่อบวชเป็นพระภิกษุ: ธมฺมวิตกฺโก ภิกฺขุ) เป็นอดีตมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ จำพรรษา ณ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ตราบจนมรณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค)

ระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค) อำมาตย์เอก พระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2423 เป็นบุตรของพระยาประภากรวงศ์วรวุฒิภักดี (ชาย) กับ มารดาชื่อ ชื่น มีพี่น้องร่วมบิดามารดาคือ หลวงประสิทธิราชศักดิ์ (ไชย บุนนาค) นายร้อยเอก กรมจเร ทหารม้า ทางด้านชีวิตครอบครัวมีบุตรธิดา 7 คน โดยบุตรที่เกิดกับคุณหญิงเปลื้อง ได้แก่ ชับ โชน และหม่อมปริม บุนนาค หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล และ มีบุตรธิดาที่เกิดกับคุณหญิงเทียบ (ธิดานายจ่าง บุนนาค) ได้แก่ ชินเล็ก และกุลพันธ์ ด้านการศึกษาเข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดพิชยญาติการาม และโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบและโรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นนักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงคนที่ 2 ของโรงเรียนต่อจากนายพุ่ม สาคร เมื่อปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)

มหาอำมาตย์เอก พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) (16 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร (7 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 11 สิงหาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ เป็นพระธิดาใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช ที่ประสูติแต่หม่อมชุ่ม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้า เมื่อพระชันษาได้ 3 ชันษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระนาม ว่า “มนัศสวาสดิ์” พ.ศ. 2430 เมื่อพระชนมายุครบเกณฑ์เกศากันต์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จเข้าในพระราชพิธีโสกันต์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงภัทรายุวดี มีขบวนแห่รอบใน และได้ทรงสวมพระชฎาพระราชทานเป็นเกียรติยศในวันสมโภช เมื่อเกศากันต์แล้ว ได้เข้ารับราชการในพระราชสำนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2436 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายใน โดยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถทรงดำรงตำแหน่งมหาสวามินีแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าว จึงโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์เข้าเป็นพนักงานสำหรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ด้วยพระองค์หนึ่ง พ.ศ. 2443 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการเป็นพระอภิบาล ใน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ฯ โดยได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวจนสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอฯ ทรงเจริญวัย สำเร็จการศึกษากลับจากต่างประเทศ ดำรงพระอิสริยยศ เป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เสด็จออกวังประทับนอกพระบรมมหาราชวัง หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์ก็ตามเสด็จไปประทับอยู่ด้วย เพื่อถวายงานดูแลกิจการในวัง แม้เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมนเทียรเป็น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้ว หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์ก็ยังทรงอยู่ถวายงานมิได้ขาด โดยเฉพาะการควบคุมห้องเครื่องต้น ซึ่งเป็นหน้าที่ที่ทรงทำตลอดรัชกาล พ.ศ. 2472 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ที่จะทรงทดแทนคุณูปการซึ่งได้มีมาแต่พระองค์ในหนหลัง กับทั้งให้เป็นที่เชิดชูพระเกียรติยศแด่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระบรมราชโองการฯ ดำรัสสั่งให้สถาปนาหม่อมเจ้ามนัศสวาสดิ์ ศุขสวัสดิ ขึ้นเป็นพระองค์เจ้า มีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎ ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ วรรคอุตสาห ทรงศักดินา 3,000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นั้น โดยที่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ มีพระหฤทัยมั่นคงที่จะปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณโดยมิได้คลาดคลาย มุ่งหมายเพื่อให้ทรงพระเกษมสุขสถาพรเป็นที่ตั้ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระเมตตารับอุปการะโดยประการต่าง ๆ อาทิ ให้สร้างวังพระราชทานบนที่ดินของกรมพระคลังข้างที่ ที่ถนนพระอาทิตย์ ซึ่งปัจจุบันคือ ที่ทำการของ พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ทรงให้จ่ายเงินพระคลังข้างที่สมทบบัญชีเงินพระราชานุเคราะห์ เพื่อจ่ายผลประโยชน์พระราชทานเป็นรายเดือนให้จนตลอดพระชนมายุ และอื่น ๆ เป็นต้น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ ประชวรด้วยพระโรคชรา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 สิริพระชนมายุได้ 76 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทานในสัตตมวารแรก และมีพิธีออกเมรุพระศพเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา เป็นพระธิดาใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ยงใจยุทธ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 ปีมะแม พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวรานนท์ธวัช จุฑาธุช พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ที่ประสูติแต่หม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา (ไกยานนท์) ประสูติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2465 มีพระเชษฐภคินีต่างมารดา 1 พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธสิริโสภา (16 ธันวาคม 2463-2541) ทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย พระนามเดิม หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยันต์ (29 เมษายนพ.ศ. 2442 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย กับหม่อมส้วน ไชยันต์ ณ อยุธยา เป็นผู้ว่าการคนแรกของธนาคารแห่งประเทศไทยและเป็นประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์คนแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์

ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 - 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าสาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าสุทธสิริโสภา จุฑาธุช; ประสูติ: 16 ธันวาคม พ.ศ. 2464 — สิ้นพระชนม์: 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ที่ประสูติแต่หม่อมลออ จุฑาธุช ณ อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าสุขุมาภินันท์ บริพัตร (29 มิถุนายน 2466 - 10 เมษายน 2546) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (ธิดาของพระยาวทัญญูวินิจฉัย (หม่อมหลวงชุ่ม ปาลกะวงศ์) ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลที่ 7 และเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ ทรงเสกสมรสกับหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) มีโอรส 2 คน คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ประสูติเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2452 (พระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอาภัสสรวงศ์ ภาณุพันธุ์) ทรงเป็นโอรสใน สมเด็จฯ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2378 - 16 กันยายน พ.ศ. 2457) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าปรีดา ปราโมช) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ กับหม่อมพลับ ปราโมช ณ อยุธยา พระองค์เจ้าปรีดา ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2378 ได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เจ้าปรีดาทรงปรีชาสามารถในด้านการช่าง จนได้ตำแหน่งบังคับการกรมช่างกระจก ต่อจากพระบิดา และทรงสะสมเครื่องโต๊ะ เครื่องลายคราม จนทรงเชี่ยวชาญ ในสมัยนิยมเล่นเครื่องโต๊ะ ทรงได้รับการนับถือว่าเป็นอาจารย์ เรียกกันในหมู่ผู้นิยมว่า มหามุนี เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้เล่นเครื่องโต๊ะทั่วไป พระองค์เจ้าปรีดาสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2457 พระชันษา 80 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ฌ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับ หม่อมเล็ก ยงใจยุทธ เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าชาย ประชวรด้วยพระโรคเกี่ยวกับสมองตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ในรัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าแก้วกัลยา สุประดิษฐ์; พ.ศ. 2392 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2456) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร กับหม่อมจิ๋ม สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี · ดูเพิ่มเติม »

พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา

ระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์; ประสูติ: 4 กันยายน พ.ศ. 2405 — สิ้นพระชนม์: 24 มิถุนายน พ.ศ. 2472) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีและเจ้าจอมมารดาจีน ทรงเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกับพระเชษฐภคินีร่วมพระบิดามารดาคือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา · ดูเพิ่มเติม »

พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา

ันเอก มหาอำมาตย์ตรี พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา (ประสูติในรัชกาลที่ 3 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2391 - วันที่ 9 กันยายน ปีมะเมีย พ.ศ. 2461) เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ เดิมทรงพระยศเป็นหม่อมเจ้า และได้รับสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าเมื่อเสด็จไปเป็นเทศาภิบาล ณ มณฑลอุดร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย

ระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2381 — 22 มิถุนายน พ.ศ. 2457) มีพระนามเดิม หม่อมเจ้าแฉ่ ศิริวงศ์ เป็นพระธิดาในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ประสูติแต่หม่อมกิ่ม ศิริวงศ์ ณ อยุธยา ต่อมาได้รับพระราชทานพระนาม พรรณราย จากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา หม่อมเจ้าพรรณราย ขึ้นเป็น พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย ด้วยเป็นพระมาตุจฉาที่ทรงสนิทสนมคุ้นเคยมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณรายสิ้นพระชนม์ ณ ตำหนักที่ประทับในวังท่าพระ ซึ่งเป็นวังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์พระโอรส ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์

ระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าชายขาว เป็นพระโอรสในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ กับหม่อมเชย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า หม่อมเจ้าชายขาว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานนามใหม่ว่า "ฉายเฉิด" ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับสถาปนา เลื่อนพระยศเป็น พระประพันธวงษ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)

ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์

ระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ พระมเหสีในรัชกาลที่ 5 หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์รองในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๗ หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมีกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)

ลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระนางเธอลักษมีลาวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)

ันเอก พระเพชรคีรีศรีราชสงคราม (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) อดีตผู้นำสกุล ณ ลำปาง อดีตเจ้าเมืองสงขลา อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมทหารบกจังหวัดนครลำปาง และเป็นเจ้านายที่ข้าราชการเคารพนับถือเป็นอย่างมาก เป็นราชบุตรองค์โตของพลตำรวจตรี เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง) ท..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน

ระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน เมื่อวัยชรา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน (15 ตุลาคม พ.ศ. 2406 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2482) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาห่วง เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๑๑ ขึ้น ๓ ค่ำ ปีกุน ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา (17 มิถุนายน พ.ศ. 2371 — 1 ธันวาคม พ.ศ. 2450) พระราชธิดาลำดับสุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ (30 กันยายน พ.ศ. 2409 — 23 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับองค์ที่ 10 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ ประสูติวันพุธ เดือน 12 ขึ้น 5 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1216 ตรงกับวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2397 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวลำดับที่ 2 ใน เจ้าจอมมารดาแพ ธรรมสโรช สิ้นพระชนม์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะเมีย อัฐศก จุลศักราช 1268 ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2449 พระชันษา 52 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ประสูติวันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาเรือน (สุนทรศารทูล) สิ้นพระชนม์วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 (พระชันษา 55 ปี) พระองค์ท่านโปรดประทับในพระบรมมหาราชวัง จะเสด็จไปประทับในสวนสุนันทาก็เป็นครั้งคราว เมื่อมีพระประสงค์จะไปเยี่ยมเยียนพระเชษฐภคินีหรือพระชนิษฐภคินีที่ประทับอยู่ในสวนสุนันทาเท่านั้น บำเพ็ญพระราชกุศล 7 วัน ที่หอนิเพธพิทยา ในพระบรมมหาราชวัง โดยคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2479 และ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2479 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิริทราวาส วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2481 โดยประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 27 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 12 ขึ้น 6 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์

มหาเสวกเอก จางวางเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร

ฉายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 ที่วังบางขุนพรหม พระองค์เจ้ากาญจนากร อยู่แถวกลาง พระองค์ที่ 6 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร พระนามเดิม พระองค์เจ้าหญิงกาญจนากร ประสูติเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2406 เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 64 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) เป็นพระน้องนางเธอในกรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม (พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่) และ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ (พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์) สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 พระชันษา 69 ปี พระองค์ทรงเชี่ยวชาญเรื่องยา สมุนไพร ใครเจ็บป่วยก็มารักษาที่ตำหนัก "เสด็จหมอ" เสมอ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี หรือ พระองค์เจ้าหญิงบีเอตริศภัทรายุวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 3 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2419 พระนาม บีเอตริศภัทรายุวดี นั้น ทรงตั้งตามพระนามพระราชธิดาพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย คือ เจ้าฟ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์เจ้าหญิงภัทรายุวดี มีพระเชษฐา พระขนิษฐา ร่วมเจ้าจอมมารดา ได้แก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี

ระองค์เจ้าวรลักษณาวดีเมื่อเจริญพระชันษา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุด สุกุมลจันทร์ (ธิดาพระยาสุรินทรราชเสนี (จั่น) กับคุณหญิงกลิ่น) เมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค้ำ เดือน 8 ปฐมาษาฒ ปีวอก ตรงกับวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2415 พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2469 ปีขาล พระชันษา 55 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์

มหาอำมาตย์โท พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ อดีตผู้บังคับการกรมทหารรักษาพระองค์ อัครราชทูตพิเศษประจำกรุงปารีส และข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า และต้นราชสกุลวัฒนวง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา (27 มกราคม พ.ศ. 2400 — 25 มกราคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแก้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ เจ้าจอมมารดาพร้อม ประสูติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 ลำดับพระองค์ที่ 68 เป็นพระขนิษฐาของพระองค์หญิงแฝดพระองค์ที่ 50, 51 และ 59 ในสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ) เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น "ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก" พระองค์ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรมชนกนาถให้ทำหน้าที่ดูแลพระเจ้าน้องที่ยังทรงพระเยาว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ได้รับพระราชทานเกียรติให้เป็นผู้สั่งพระกนิษฐาให้เป็นสาว เนื่องจากตามธรรมเนียมการเป็นสาวของสตรีในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ก่อน นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงดำรงตำแหน่งอุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง (สภากาชาดไทย) ร่วมกับเจ้านายฝ่ายในอีกหลายพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 พระองค์แรกและเป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าต่างกรมที่ "กรมขุนสุพรรณภาควดี" ซึ่งภายหลังจากการทรงกรมเพียง 1 ปี พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ลง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติ โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่พระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ

้าราชการพลเรือนชั้น 1 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ พระนามเดิม พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย เป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ อธิบดีศาลฎีกา และราชเลขานุการฝ่ายกฎหมาย ทรงเป็นต้นราชสกุล '''ศรีธวัช'''.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2398 — 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456) พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2424 — สิ้นพระชนม์: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 31 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ) ประสูติวันอังคาร เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีมะเส็ง ตรีศก จุลศักราช 1243 ตรงกับวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ตราประจำพระองค์ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เมื่อประสูติมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายศุขสวัสดี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 23 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2403 เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น) พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ทรงรับราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2473) ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก จุลศักราช 1235 ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2433 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2461) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ แรม 13 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี ประสูติเมื่อ 13 มกราคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ

ระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) และ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ ประสูติวันอังคารที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค มีพระน้องนางคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา ทรงเป็นราชนารีที่โปรดการผจญป่าดงพงไพรและทรงม้าได้ดีเยี่ยม ปัจจุบัน ตำหนักของพระองค์ได้รื้อไปแล้ว กำลังก่อสร้างเป็นอาคารใหม่ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 พระชันษา 48 ปีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๕๐, ตอน ๐ ง, ๔ มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา (Her Royal Highness Princess Oradaya Debkan ya) (18 กันยายน พ.ศ. 2402 - 4 เมษายน พ.ศ. 2449) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบัว ธิดาเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในจำนวนพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมเจ้าจอมมารดาอีก 4 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ (เป็นธิดาของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ) และขรัวยายบาง) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาตลับ มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เวลา 2 นาฬิกา พระชันษา 38 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา (21 เมษายน พ.ศ. 2432 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2501) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาชุ่ม (สกุลเดิม: ไกรฤกษ์).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 — 27 มกราคม พ.ศ. 2506) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอ่อน (สกุลเดิม: บุนนาค).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ หรือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่อง (19 ธันวาคม พ.ศ. 2410 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2485) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นพระพี่เลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร ทรงเป็นต้นราชสกุลจันทรทัต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี ประสูติวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2415 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดามรกฎ เพ็ญกุล พระองค์ประชวรพระโรคพระอันตะ (ลำไส้ใหญ่) และพระวักกะ (ไต) สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 พระชันษา 58 พรรษาราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๔๗, ตอน ง, ๘ มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 8 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2398 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2411 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล รับหน้าที่เป็นนายด่าน ทำการก่อสร้างหอพระคันธารราฐ ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งก่อสร้างค้างมาตั้งแต่รัชกาลก่อน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสังเกตเห็นว่าพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์นี้ มีพระอัธยาศัยนิยมศึกษาตัวบทกฎหมายและอรรถคดี จึงโปรดฯ ให้ไปศึกษากฎหมายและการพิจารณาความกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ซึ่งทรงบัญชาการศาลรับสั่ง อยู่ในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2417 โปรดให้ตั้งองคมนตรีสภา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นองคมนตรีในครั้งนั้นด้วย และแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรี พิจารณาความรับสั่งบางเรื่อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ตั้งศาลฎีกา ขึ้นในปี พ.ศ. 2419 พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล ทรงเป็นอธิบดีศาลฎีกา พระองค์แรก และทรงได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็นกรมหมื่นพิชิตปรีชากร และเป็นอธิบดีศาลแพ่งกลาง และศาลแพ่งเกษม อีก 2 ศาล ในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2427 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพิชิตปรีชากร เป็นข้าหลวงขึ้นไปรักษาเมืองเชียงใหม่พระองค์ได้ทรงจัดการศาลต่างประเทศ และจัดการระเบียบการปกครองภาคเหนือใหม่ ต่อมาเมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2428 ทรงได้รับสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ในปี พ.ศ. 2434 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงเป็นข้าหลวงใหญ่ เสด็จขึ้นไปว่าราชการอยู่ที่มณฑลอีสาน จังหวัดอุบลราชธานี ทรงปรับปรุงการปกครองหัวเมืองทางภาคอีสาน ซึ่งในขณะนั้นเป็นเพียงหัวเมืองชั้นนอก ประมาณ 20 หัวเมืองขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร ยังมิได้รวมเป็นมณฑล ในการเสด็จออกตรวจราชการตามท้องที่ต่าง ๆ ทำให้พระองค์ทรงมีความรู้เกี่ยวกับชายแดนลาว และเขมร เป็นอย่างดี เมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงพิชิตปรีชากร เป็นผู้พิพากษาฝ่ายไทยร่วมกันพิจารณาคดีความร่วมกับฝรั่งเศส ในกรณีพระยอดเมืองขวาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2437 ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ที่สอง สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัตน์วิศิษฎ์ ซึ่งถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง เพื่อเสด็จไปราชการ ณ ประเทศยุโรป และได้เป็นรัฐมนตรีในสภารัฐมนตรีอีกด้วย http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/013/102.PDF พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงมีความรู้ด้านการแพทย์ ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่คิดประดิษฐ์ปรุงยาไทยผสมกับยาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีพระอัจฉริยภาพในด้านการพระนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรองมากมายหลายเรื่อง เช่น ท้ายกาสีหา นางปทุมสังกา พระองค์ยังได้ร่วมกับพระเจ้าพี่ยาเธอ และพระเจ้าน้องยาเธอจัดตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นในปี พ.ศ. 2423 เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงศึกษาภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เองจนกระทั่งอ่านสามารถ fiction และ novel ภาษาอังกฤษได้คล่อง ทรงนิพนธ์เรื่องสนุกนึก ซึ่งเป็นเรื่องสั้นเรื่องแรก ที่เรียกว่าเป็นบันเทิงคดี ตามแบบอย่างนิยายฝรั่งถือเป็นนิยายเรื่องแรกของไทย ในปี พ.ศ. 2439 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ได้ถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม เพราะทรงพระประชวร และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2452 พระชันษาได้ 53 ปี ทรงเป็นต้นราชสกุลคัคณาง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภัศร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภัศร ประสูติวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2397 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับ เจ้าจอมมารดาเกษ สิ้นพระชนม์วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2469 พระชันษา 72 ปี เมื่อครั้งยังทรงพระชนม์ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สอนหนังสือไทยแด่ หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล พระธิดาองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (สุจริตกุล) อดีตอาจารย์ใหญ่และผู้จัดการของโรงเรียนราชินี และ โรงเรียนราชินีบน ผู้ทรงมีคุณูปการอย่างยิ่งแก่วงการการศึกษาของสตรีไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภัศร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระเชษฐภคินีแฝดของพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 — 18 มีนาคม พ.ศ. 2505) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ พระราชนัดดาในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชนมายุสูงสุดในราชวงศ์จักรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพศรีสอาด

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพศรีสอาด (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2410 — 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) ประสูติวันศุกร์ที่ วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพศรีสอาด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย ประสูติ วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2422 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาทับทิม สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 พระชันษา 65 ปี มีพระเชษฐาและพระอนุชาคือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2407 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) หรือที่ถวายเรียกกันว่า เสด็จอธิบดี อธิบดีหญิงคนแรกของประเทศไทย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2404 สิ้นพระชนม์เมื่อวันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2468 พระชันษา 65 ปี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ ซึ่งเป็นหลานปู่ของ เจ้าอนุวงศ์ ผู้ครองนครเวียงจันทน์ แต่เป็นหลานตาของ เจ้าอุปราชด้วย เมื่อเจ้าอนุฯ ก่อการวุ่นวายขึ้นในรัชกาลที่ 3 เจ้าอุปราชไม่ได้ร่วมด้วย ได้พาครอบครัวเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ เจ้าจอมมารดาดวงคำจึงเกิดที่กรุงเทพฯ พระองค์เจ้านารีรัตนา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน (15 ธันวาคม พ.ศ. 2366 — 28 กันยายน พ.ศ. 2456) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก สตรีเชื้อสายเจ้าจากหลวงพระบาง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง (11 มกราคม พ.ศ. 2406 — 19 สิงหาคม พ.ศ. 2472) พระราชธิดาพระองค์ที่ 67 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 8 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2395 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2474) พระราชธิดาพระองค์ที่ 7 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์แรกในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 62 ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด) ซึ่งท้าววรจันทร์(เจ้าจอมมารดาวาด)เป็นธิดานายสมบุญ งามสมบัติ กับท้าวปฏิบัติบิณฑทาน (ถ้วย) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาประสูตรเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 13 ค่ำ ปีกุนเบญจศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย

นายพันเอก มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยันตมงคล เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาห่วง ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 3 ขึ้น 14 ค่ำ ปีฉลูสัปตศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2425 เสด็จไปศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์จากประเทศอังกฤษ สำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็ง นพศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2399 พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระเจ้าน้องยาเธอที่มีบทบาทในงานวรรณกรรมในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นเจ้าของและบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ดรุโณวาท ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกที่เผยแพร่แก่ประชาชน และดำเนินการโดยคนไทย เริ่มออกฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2417 ชื่อหนังสือมีความหมายว่า "โอวาทหรือคำสอนของคนหนุ่ม" มีทั้งสารคดีและบันเทิงคดี มีสาระทันสมัย แสดงความสามารถและสติปัญญาของคนหนุ่มรุ่นใหม่ในยุคนั้น พระองค์เจ้าเกษมสันตโสภาคย์ รับราชการในโรงพิมพ์และการเสื้อหมวก เป็นพนักงานจารึกอักษรในแผ่นศิลาประดับวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2467 สิริพระชันษาได้ 67 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท

ระองค์เจ้าเยาวภาพงษ์สนิท และพระองค์เจ้ารังสิตประยุรศักดิ์ พระอนุชา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระราชธิดาองค์ที่ 47 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ (ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์) ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก ตรงกับวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2427 เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี

แถวล่างพระองค์ที่3 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี (ประสูติ: 12 มกราคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 17 ตุลาคม พ.ศ. 2515) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเหม (สกุลเดิม: อมาตยกุล).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ หรือ พระองค์เจ้าหญิงเจริญศรีชนมายุ เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 4 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2421 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2459 พระองค์เจ้าหญิงเจริญศรีชนมายุ มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี ร่วมเจ้าจอมมารดา ได้แก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 — 31 สิงหาคม พ.ศ. 2432) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิมพับสรสร้อย

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิมพับสรสร้อย ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2399 พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาวันดี มีพระน้องนาง คือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสอางองค์ (พ.ศ. 2403-2465) พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิมพับสรสร้อย สิ้นพระชนม์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อเวลา 6.20 นาฬิกา ของวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2468 ณ พระตำหนักในพระบรมมหาราชวัง ด้วยพระวัณโรคภายใน สิริพระชนมายุได้ 70 พรรษ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิมพับสรสร้อย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดี

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดี ประสูติเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2398 พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพลอยเพียงพระองค์เดียว พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดี สิ้นพระชนม์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2483 พระชันษา 85 ปี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่สิ้นพระชนม์เป็นลำดับท้าย ๆ มีพระชนม์ยาวนานถึง 5 แผ่นดิน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ (พ.ศ. 2384 - พ.ศ. 2449) พระราชโอรสพระองค์ที่ 12 ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเกต ขณะประสูติ พระราชบิดายังไม่ได้ทรงบวรราชาภิเษก ในราชสำนักนิยมออกพระนามว่า พระองค์โตใหญ่ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ มีพระนามว่า พระองค์เจ้าวรรัตน์ ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นพิศาลบวรศักดิในรัชกาลที่ 5 เมื่อ.ศ 2424 ทรงเป็นต้นสกุล วรรัตน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวงจันทร์

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวงจันทร์ (18 มิถุนายน พ.ศ. 2393 — 29 เมษายน พ.ศ. 2459) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าคุณจอมมารดาเอม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ มีพระนามเดิมว่าพระเจ้าบวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี ทรงเป็นต้นสกุล "จรูญโรจน์" ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 4 แรม 14 ค่ำ ปีมะโรง อัฐศก จุลศักราช 1218 ตรงกับวันที่ 24 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม (12 เมษายน พ.ศ. 2399 — 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ. 2494) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมอินทร์ วรวรรณ ณ อยุธยา เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นอดีตพระคู่หมั้นในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับการสถาปนาเป็น พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ทั้งนี้พระองค์เป็นเสือป่าหญิงคนแรกของประเทศไทยครูตุ๊เจ้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวิไลยลักษณา

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวิไลยลักษณา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธวิไลยลักษณา (9 มิถุนายน พ.ศ. 2425 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระธิดาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับ หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อวันศุกร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2425 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธวิไลยลักษณา มีพระอิสสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็น หม่อมเจ้า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวิไลยลักษณา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ (30 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 — 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2473) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับ หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี หรือพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอาภาพรรณี สวัสดิวัตน์ (ราชสกุลเดิม: คัคณางค์; ประสูติ: 28 มีนาคม พ.ศ. 2417 — สิ้นพระชนม์: 6 สิงหาคม พ.ศ. 2481) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร กับหม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา ต่อมาได้เป็นพระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ครั้นในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ประสูติแต่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ

ตราจารย์พิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ และหม่อมจำรัส จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ทรงสำเร็จการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ และเริ่มเข้ารับราชการที่กระทรวงเกษตร และเป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากนี้ พระองค์ยังมีความสามารถพิเศษทางด้านการประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงอีกด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริประชวรด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและถุงลมโป่งพองสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี (24 กันยายน พ.ศ. 2455 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2520) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต (5 ธันวาคม พ.ศ. 2447 - 15 กันยายน พ.ศ. 2502) อดีตอุปนายก ผู้อำนวยการสภากาชาดไทย และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน (21 ธันวาคม พ.ศ. 2452 — 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล

ระองค์และพระสวามี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล (11 มิถุนายน พ.ศ. 2428 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เป็นพระธิดาพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ กับหม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ และเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ (พระนามเดิม: หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร; ประสูติ: 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) และอดีตพระวรชายาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เป็นธิดาคนโตของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร กับท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร พระองค์เป็นทั้งพระภาติยะและอดีตพระสุณิสาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องจากอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรซึ่งขณะนั้นดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์มีพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาฯ ถือเป็นเจ้านายที่ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระวรชายา พระองค์แรก มีพระราชธิดา คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา แต่หลังการหย่าในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง (29 เมษายน พ.ศ. 2456 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2534) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล มีพระเชษฐา คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล และ พระอนุชา คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (10 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 23 มกราคม พ.ศ. 2500) พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และพระองค์เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช อันประสูติแต่หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

ลตรีหญิง ดร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ (ประสูติ: 8 ตุลาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กับนาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์

ันโทหญิง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ (ประสูติ: 8 มกราคม พ.ศ. 2530) เป็นนักกีฬาขี่ม้า, นักออกแบบเสื้อ และอดีตนักกีฬาแบตมินตันทีมชาติชาวไทย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติแต่สุจาริณี วิวัชรวงศ์ (หรือยุวธิดา ผลประเสริฐ) อดีตนักแสดง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (ประสูติ 29 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร กับท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี ถือเป็นพระรัชทายาทโดยสันนิษฐานตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย กุลละวณิชย์

ลตำรวจเอก พิชัย กุลละวณิชย์ (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 — 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ มีศักดิ์เป็นตาของนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพิชัย กุลละวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตร กุลละวณิชย์

ลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 —) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 นายกสภาวิทยาลัยสันตพล, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกและรองผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพิจิตร กุลละวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

พูนพิศ อมาตยกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล (4 มิถุนายน พ.ศ. 2480 - ปัจจุบัน) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา และเป็นที่ปรึกษาวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล พูนพิศ อมาตยกุล หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 4 ของร้อยโทพิศ และนางประเทือง เจริญเติบโตอยู่ในวัง และเป็นมหาดเล็กของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี เป็นเวลากว่า 30 ปี ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระราชวงศ์และเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีไทยมาจากในวัง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพูนพิศ อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

พูนศุข พนมยงค์

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร; เกิด: 2 มกราคม พ.ศ. 2455 - อนิจกรรม: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นภริยาของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เคยกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ไว้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพูนศุข พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์เทพ เทศประทีป

ลเอก พงษ์เทพ เทศประทีป อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์) และอดีตเสนาธิการทหารบก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และพงษ์เทพ เทศประทีป · ดูเพิ่มเติม »

กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์

กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ (อักษรย่อ: ร.๑๑ รอ.) หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า ราบ ๑๑ เป็นหน่วยทหารสืบเนื่องมาแต่โบราณ เดิมคือผู้มีหน้าที่รักษาการณ์ในวัง รัชกาลที่ ๔ ให้ฝึกวิชาทหารเพื่อที่จะทำหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น และตั้งเป็นกองทหารรักษาพระบรมมหาราชวัง หรือกองทหารล้อมวัง เครื่องแบบเต็มยศสีน้ำเงินก็น่าจะมาจากสีของเครื่องแบบกรมวัง, ฝ่ายรักษาวัง รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าให้ รัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งสถาปนาเป็นสยามมกุฏราชกุมาร เป็นพันเอกพิเศษ ของกรมทหารล้อมวังนี้ ซึ่งทำให้หน่วย ร.๑๑ รอ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

อาคารใหม่สวนอัมพร อาคารศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (ฟาสาดเดิม) อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 12 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นสถาปนิกชาวไทย นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัทคาซ่า อดีตคณะบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คนที่ 4 พ.ศ. 2517-2521),นักแสดง, นักบินสมัครเล่น, อดีตนักกีฬายิงปืนทีมชาติในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณพงศ์ กีรติกร

กฤษณพงศ์ กีรติกร (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489-) ประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อดีตที่ปรึกษาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) กรรมการกฤษฎีกา กรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกฤษณพงศ์ กีรติกร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกฤษณ์ สีวะรา · ดูเพิ่มเติม »

กลิ่น บุนนาค

ท่านผู้หญิงกลิ่น บุนนาค เป็นภรรยาเอกของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ท่านผู้หญิงกลิ่น เป็นธิดาของหลวงแก้วอายัติ (จาด บุนนาค) ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)กับท่านกอง สมรสกับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ในขณะที่ท่านยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสิทธิ์นายเวร ได้มีบุตร-ธิดา ด้วยกัน 4 คน ได้แก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกลิ่น บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ มีต้นกำเนิดจากกองทหารอินยิเนียใน พ.ศ. 2418 โดยขึ้นตรงต่อกรมทหารมหาดเล็ก ผ่านการแปรสภาพหน่วยมาหลายครั้ง จนมาใช่ชื่อหน่วยในปัจจุบัน นับตั้งแต่ พ.ศ. 2496 เป็นต้นมา และจัดให้อยู่ในสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน หน่วยทหารหน่วยนี้เคยเข้าร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา เคยเข้าร่วมการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในยุทธการภูขวางใน พ.ศ. 2515 และมีบทบาทในภารกิจด้านการบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ หลายครั้ง ปัจจุบันนี้มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ เลขที่ 471 หมู่ 3 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กัลยา โสภณพนิช

ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกัลยา โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กำธน สินธวานนท์

ลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกำธน สินธวานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กิมไล้ สุธรรมมนตรี

ท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เป็นภริยาเอกของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) มีบุตรธิดาด้วยกันหลายท่าน อาทิ สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกิมไล้ สุธรรมมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภรณี มหานนท์

ร.ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ มีชื่อเดิมว่าภรณี กีร์ติบุตร รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถสำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เป็นบุตรีของพล.ต.ท.ประจวบ กีร์ติบุตร และ คุณหญิงกระจ่างศรี กีร์ติบุตร เกิดเมื่อปีพ.ศ. 2488 เป็นบุตรสาวคนโต ในจำนวนพี่น้อง 4 คน คือ ท่านผู้หญิงภรณี มหานนท์,สุวิสาส์ กีรติบุตร,สุรพิทย์ กีรติบุตร,จิตตระเสน กีรติบุตร และต่อมาสมรสกับพล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ จบการศึกษาจาก โรงเรียนมาแตร์เดอีจนจบมัธยมปีที่ 8 เมื่อ 2504 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ รุ่นที่ 14 (เรียน 3 เดือนก็สอบชิงทุน) ปริญญาตรีทางสังคมวิทยา ที่คอลเลจ ออฟนิวโรเชล นิวยอร์ก และ ปริญญาโทและเอก ทางรัฐประศาสนศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เริ่มเข้าทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กรมวิเทศสหการ,2512 กรรมการบริหารสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย,2513 อาจารย์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2518 ผู้เชี่ยวชาญทางรัฐประศาสนศาสตร์ อีสเวสเซนเตอร์ ฮาวาย,2518 รองเลขาธิการสภาสังคมสงเคราะห์,2523 รองคณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2525 คณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), 1 ตุลาคม 2526 นายกสมาคมแม่บ้านตำรวจ คนที่ 1 (ปี 2526-2530),เลขาธิการสหพันธ์สตรีนักธุรกิจ และวิชาชีพ กรรมการสมาคมไทย-อเมริกัน,2531 ที่ปรึกษาสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย และ นายกสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย ต่อมาท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้เข้ารับราชการที่สำนักราชเลขาธิการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2528 เป็นวิทยากรพิเศษ กองราชเลขานุการ,1 ตุลาคม 2529 รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ฝ่ายศิลปาชีพ (เทียบเท่าผู้ช่วยราชเลขาธิการ)และเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เป็นรองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (เทียบเท่ารองราชเลขาธิการ)ในปัจจุบัน ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท่านผู้หญิง) 5 พฤษภาคม 2541,ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) 5 พฤษภาคม 2539,มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2538 และมหาวชิรมงกุฎ 5 ธันวาคม 2534 และได้รับรางวัลสุภาพสตรีผู้มีบุคคลิกดีเด่นสาขาข้าราชการของสมาคมส่งเสริมบุคคลิกสตรี เมื่อ พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และภรณี มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และมังกร พรหมโยธี · ดูเพิ่มเติม »

มีชัย ฤชุพันธุ์

มีชัย ฤชุพันธุ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติคนเดียวที่เป็นพลเรือน (ไม่ได้เป็นทหารหรือตำรวจ) รักษาการนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ อดีตประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา และ รองนายกรัฐมนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายมีชัย ฤชุพันธุ์ สมรสกับคุณหญิงอัมพร (เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) ฤชุพันธุ์ (ถึงแก่อนิจกรรม) มีบุตรี 2 คน คือ นางมยุระ ช่วงโชติ และ นางมธุรส โลจายะ หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พลเอกสุจินดา คราประยูร ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ได้รับการคัดเลือกจากคณะรัฐมนตรีให้เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรี จึงทำให้ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งประมุขของทั้งฝ่ายบริหาร (รักษาการนายกรัฐมนตรี) และฝ่ายนิติบัญญัติ (ประธานรัฐสภา).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และมีชัย ฤชุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อัมพรพิสิฏฐ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพไทย ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญหลังเกษียณอายุราชการ คือ อดีตประธานกรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ และอดีตประธานกรรมการธนาคารกรุงไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และมงคล อัมพรพิสิฏฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

มนัสนิตย์ วณิกกุล

ท่านผู้หญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล (สกุลเดิม: ศรีวิสารวาจา; 27 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 เมษายน พ.ศ. 2558) อดีตราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และอดีตเลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ โดยได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานานกว่า 60 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และมนัสนิตย์ วณิกกุล · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และยุทธศักดิ์ ศศิประภา · ดูเพิ่มเติม »

รวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

ลโท รวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์ (23 เมษายน พ.ศ. 2469 - 4 มกราคม พ.ศ. 2556) อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 ที่ปรึกษาทางด้านประวัติศาสตร์แก่กองทัพบก เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์การศึกสงครามไทย จนได้รับฉายาว่านายพลนักประวัติศาสตร์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) เมื่อปี พ.ศ. 2531.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระเกียรติยศในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัลและพระเกียรติยศ ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และรายชื่อพระเกียรติยศในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้เปลี่ยนมาเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์มีรายชื่อและลำดับเกียรติ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และรายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ละเอียด พิบูลสงคราม

ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามเป็นบุตรคนโตในจำนวน 9 คนของเจริญ กับแช่ม พันธุ์กระวี เกิดที่ตำบลดอนพุทรา จังหวัดนครปฐม ศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนสตรีวิทยา ต่อมาย้ายไปอาศัยที่จังหวัดพิษณุโลก เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลพิษณุโลก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม) ซึ่งเป็นโรงเรียนชายประจำจังหวัด แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนผดุงนารี ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม พบรักกับร้อยตรีแปลก ขีตตะสังคะ เมื่ออายุได้ 14 ปี และได้สมรสกันที่จังหวัดพิษณุโลก และได้ย้ายติดตามสามีเรื่อยมา มีบุตรธิดาด้วยกัน 6 คน คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และละเอียด พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

วรพงษ์ สง่าเนตร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ดร.วรพงษ์ สง่าเนตร (เกิด 15 กุมภาพันธ์ 2498) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานกรรมการ คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ นายทหารพิเศษประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557 อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อดีตเสนาธิการทหาร อดีตเจ้ากรมยุทธการทหาร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวรพงษ์ สง่าเนตร · ดูเพิ่มเติม »

วสิษฐ เดชกุญชร

ลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561)) อดีตนายตำรวจราชสำนักประจำ และเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้วางพระราชหฤทัย จนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้านายตำรวจราชสำนักประจำ ก่อนที่จะออกมาดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมตำรวจ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ที่เป็นนักเขียนนวนิยายเกี่ยวกับวงการตำรวจ และอาชญากรรม โดยนำมาจากประสบการณ์จริง จนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2541 ได้รับยกย่องว่าเป็นตำรวจตงฉินแห่งกรมตำรวจไทย ยุคปราบปรามคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวสิษฐ เดชกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนชัย วุฒิศิริ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวัฒนชัย วุฒิศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิมล วงศ์วานิช

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิมล วงศ์วานิช (1 มีนาคม 2477 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 28 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535 - 30 กันยายน 2538 เป็นบุตร นายศิริ และ นางเอื้อน วงศ์วานิช ภริยาชื่อ พันตรีหญิง คุณหญิง มาลี วงศ์วาน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวิมล วงศ์วานิช · ดูเพิ่มเติม »

วิระยา ชวกุล

ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล (ชื่อเล่น: น้อย; เกิด: 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นกรรมการของมูลนิธิในพระราชินูปถัมภ์หลายแห่ง และปรากฏบทบาททางการเมือง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวิระยา ชวกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒน์ ศัลยกำธร

นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร เกิดวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497 เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ วิวัฒน์เป็นหนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวลงสู่การปฏิบัติโดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนามนุษย์ ในขณะเดียวกันภารกิจสำคัญอีกประการได้แก่การขับเคลื่อน “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ผ่านการบ่มเพาะหลักคิดและหลักปฏิบัติผ่าน “ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง” จังหวัดชลบุรี ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของการนำศาสตร์พระราชาด้านการจัดการดิน น้ำ ป่า มาฟื้นฟูระบบนิเวศจนสามารถพลิกฟื้นดินดานสร้างระบบนิเวศที่สมดุลต่อระบบการผลิตภาคการเกษตร พัฒนาสู่ชุมชนที่ดำเนินวิถีชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลสู่การสร้างแบบอย่างใหม่ของการศึกษาวิถีไทยในอนาคตด้วยการนำ “บวร-บ้าน วัด โรงเรียน” กลับสู่การบ่มเพาะเด็กและเยาวชนให้มีคุณธรรมนำความรู้ ในนาม “ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย” ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิของบุคคลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวิวัฒน์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนวัดสนามจันทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา, มัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร, ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และได้รับปริญญาดุษฎีกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นายวิวัฒน์ ดำรงตำแหน่งสุดท้ายก่อนลาออกจากราชการ คือ ผู้อำนวยการกองประเมินผลงาน สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักนายกรัฐมนตรี ลาออกมาเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชให้เป็นจริง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็น ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ในขณะเดียวกับได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาให้กับหลายหน่วยงาน/องค์กร เพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมนอกเหนือจากด้านการเกษตร อาทิ ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรม ด้านธุรกิจการบริการ ฯลฯ ในปี พ.ศ. 2543 นายวิวัฒน์เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในนาม "กลุ่มกรุงเทพสามัคคี" แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวิวัฒน์ ศัลยกำธร · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ แสงสนิท

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิโรจน์ แสงสนิท เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวิโรจน์ แสงสนิท · ดูเพิ่มเติม »

วิไล อมาตยกุล

ณวิไล อมาตยกุล คุณพยาบาลผู้ใหญ่ประจำพระองค์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวิไล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วีระยุทธ ดิษยะศริน

นาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2498) เป็นอดีตพระสวามี ในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เป็นอดีตพระชามาดาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นอดีตพระพระขนิษฐภรรดา (น้องเขย) ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และเป็นผู้อนุรักษ์และฟื้นฟู นางสาวสยาม เครื่องบินพลเรือนลำแรกของไทยให้กลับมาใช้งานได้ ปัจจุบันนาวาอากาศเอกวีระยุทธ ดำรงตำแหน่งเป็นอุปนายกสมาคมกีฬาทางอากาศ และการบินแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และประธานมูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และวีระยุทธ ดิษยะศริน · ดูเพิ่มเติม »

ศรีรัศมิ์ สุวะดี

ลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514) หรือเดิม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และศรีรัศมิ์ สุวะดี · ดูเพิ่มเติม »

ศักรินทร์ ภูมิรัตน

รองศาสตราจารย์ ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านไบโอแก๊ส, Transport Properties of Food Materials และ Algal Technology Research ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นบุตรของศาสตราจารย์ อมร ภูมิรัตน และคุณหญิง ระเบียบ ภูมิรัตน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และศักรินทร์ ภูมิรัตน · ดูเพิ่มเติม »

สมบุญ ระหงษ์

ลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 — 23 กันยายน พ.ศ. 2556) อดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีต..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมบุญ ระหงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมพร ยกตรี

อาจารย์สมพร ยกตรี (6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ในปัจจุบัน ร่วมกับรองศาสตราจารย์ศิริชัย หงษ์วิทยากร และอาจารย์โสภณ มงคลวัจน์ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมพร ยกตรี · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมิทธ ธรรมสโรช

มิทธ ธรรมสโรช เป็นทั้งอดีตผู้ช่วยรัฐมนตรี อดีตประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ อดีตอธิบดีกรมอุตุนิยมวิท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมิทธ ธรรมสโรช · ดูเพิ่มเติม »

สมทัต อัตตะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมทัต อัตตะนันทน์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก และแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมทัต อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (10 มกราคม 2456 - 5 มีนาคม 2550) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องในเพลงพระราชนิพนธ์ ค่ำแล้ว, มหาจุฬาลงกรณ์, เมื่อโสมส่อง, ลมหนาว, พณิชยการพระนคร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ

มเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ (กรีก: Άννα-Μαρία Βασίλισσα των Ελλήνων อันนา มาเรีย, พระราชสมภพ: 30 สิงหาคม พ.ศ. 2489-) พระนามเมื่อแรกประสูติ เจ้าหญิงอันเนอ-มารี ดักมาร์ อิงกริดแห่งเดนมาร์ก (เดนมาร์ก: Princess Anne-Marie Dagmar Ingrid of Denmark) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (หรือ สมเด็จพระราชินีแห่งเฮลเลนส์) ในช่วง 6 มีนาคม ค.ศ. 1964 – 1 มิถุนายน ค.ศ. 1973 ภายหลังได้มีการลงประชามติล้มเลิกการปกครองระบอบกษัตริย์และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐในมาตราที่ 4, ข้อที่ 7 ของรัฐธรรมนูญแห่งรัฐระบุไว้ว่า "Titles of nobility or distinction are neither conferred upon nor recognized in Greek citizens พระอิสริยยศนำหน้าพระนามจะไม่ได้รับเกียรติอย่างเป็นทางการของประชาชนกรีซ" ดูเพิ่มได้ที.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 43 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ. 2405 — 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา(เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) เป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 60 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ โดยรับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของไทย เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอัยยิกาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระปัยยิกาเจ้าในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรณรงค์ เสถียรวงศ์ กรมสารนิเทศ นอกจากนี้พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งองค์สภาชนนีสภาอุณาโลมแดง อันเป็นชื่อของสภากาชาดไทยเมื่อครั้งแรกตั้งในต้นรัชกาลที่ 5 เป็นพระองค์แรกและพระองค์เดียว และองค์สภานายิกา สภากาชาดไทย พระองค์ที่ 2 และทรงสร้างสถานพยาบาลขึ้น ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสภากาชาดไทย ในวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

ลเรือเอก สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2432.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

มเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี หรือที่ชาวบ้านเรียกพระนามว่า สมเด็จพระนางเรือล่ม (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423) มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์” เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ันโทหญิง สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (พระนามเดิม: ประไพ สุจริตกุล; ประสูติ: 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — สิ้นพระชนม์: 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เข้ารับราชการฝ่ายในในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับการสถาปนาพระราชอิสริยยศสูงสุดที่ "สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินี" ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการให้ออกพระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาแทน พระองค์สิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

้าฟ้ามาลินีนพดารา(ซ้าย) และ เจ้าฟ้านิภานภดล(ขวา) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา พระราชธิดาองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติ ณ วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2425 พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ การปกครองและสาขาวิชาประวัติศาสตร์ เคยทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอภิรัฐมนตรี ในรัชกาลที่ 7 พระองค์สิ้นพระชนม์วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2475 และทรงเป็นต้นราชสกุลยุคล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี เมื่อวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2429 พระองค์ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการในหน้าที่ราชเลขานุการิณีในพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ เมื่อสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสยุโรปเมื่อปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (11 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 14 มกราคม พ.ศ. 2515) มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้าชายเฟรเดอริกแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระราชบิดาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2490 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของ สมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก กับ สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรีนแห่งเดนมาร์ก เป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์กพระองค์ที่สี่ที่อยู่ในราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ วัฒนายากร

นายสวัสดิ์ วัฒนายากร (8 ตุลาคม พ.ศ. 2477 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นอดีตองคมนตรี อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด และอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสวัสดิ์ วัฒนายากร · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา ถิระวัฒน์

ณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2467 —) อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ท่านที่ ๕ อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการท่านแรก และผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุชาดา ถิระวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุบิน ปิ่นขยัน

น ปิ่นขยัน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานกรรมการบริหารของ บม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุบิน ปิ่นขยัน · ดูเพิ่มเติม »

สุพิทย์ วรอุทัย

ลเอก สุพิทย์ วรอุทัย อดีตจเรทหารทั่วไป.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุพิทย์ วรอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุกิจ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต

ท่านผู้หญิงสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต หรือชื่อเดิม สุภรเพ็ญ หลวงเทพ (สกุลเดิม ณ พัทลุง) รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และผู้รับผิดชอบโรงฝึกศิลปาชีพฯ สวนจิตรลดา ท่านผู้หญิงสุภรภ์เพ็ญสมรสกับพันเอก ศิรช์ณรงค์ หลวงเทพนิมิต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต · ดูเพิ่มเติม »

สุภา คชเสนี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุภา คชเสนี (12 ตุลาคม พ.ศ. 2469 —) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดคนที่ 12 และสมาชิกวุฒิสภาไทยชุดที่ 5.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุภา คชเสนี · ดูเพิ่มเติม »

สุริยนันทนา สุจริตกุล

ท่านผู้หญิงสุริยนันทนา สุจริตกุล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสุริยนันทนา สุริยง; 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456 — 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส ประสูติแต่หม่อมเรณี สุริยง ณ อยุธยา ต่อมาได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับจิตติ สุจริตกุล ซึ่งเป็นอดีตเอกอัครราชทูต และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุริยนันทนา สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรเทิน บุนนาค

นายสุรเทิน บุนนาค (11 ตุลาคม 2459 - 7 มิถุนายน 2511) อดีตผู้ช่วยหัวหน้าข่าวสาร ในสำนักงานสาขาองค์การอาหารและเกษตรแห่งภาคพื้นเอเซียตะวันออกไกล (FAO Regional Office for Asia and the Far East) ผู้ใกล้ชิดใต้เบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สนองพระเดชพระคุณด้านการพัฒนาที่ดิน และการเกษตรสมัยใหม่ และเป็นหนึ่งใน "พระสหจร ในพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุรเทิน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุจินดา คราประยูร · ดูเพิ่มเติม »

สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา

ลเอกหญิง ท่านผู้หญิง สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2519) มีนามเดิมว่า สุทิดา ติดใจ เป็นนายทหารบกหญิงชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรองผู้บัญชาการ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ (อัตรา พลเอกพิเศษ) และยังได้รับพระกรุณาให้เป็นราชองครักษ์เวรในพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ ท่านผู้หญิงสุทิดา สำเร็จการศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต จากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร หงส์ลดารมภ์

นทร หงส์ลดารมภ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 16 กันยายน พ.ศ. 2548) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุนทร หงส์ลดารมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 มีชื่อเรียกในสื่อสารมวลชนว่า บิ๊กจ๊อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุนทร คงสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์

กียรติพงศ์ กาญจนภี (22 กันยายน พ.ศ. 2469 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557) เป็นชื่อจริงของ สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล - ผู้ประพันธ์)..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ ตันติเวชกุล

ร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา สุเมธ ตันติเวชกุล หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2482 ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของนาย อารีย์ ตันติเวชกุล อดีต ส.ส.จังหวัดนครราชสีมา 5 สมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ท่านผู้หญิง ประสานสุข ตันติเวชกุล ต้นเครื่องพระกระยาหารไทยในพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สมรสกับคุณหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสุเมธ ตันติเวชกุล · ดูเพิ่มเติม »

สถิตย์พงษ์ สุขวิมล

ลอากาศเอก สถิตย์พงษ์ สุขวิมล เลขาธิการพระราชวัง เล่ม ๑๓๕ ตอน ๕๕ ง พิเศษ หน้า ๒ ๑๒ มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสถิตย์พงษ์ สุขวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สง่า กิตติขจร

ลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสง่า กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

สง่า สรรพศรี

ตราจารย์ สง่า สรรพศรี (วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 29 มกราคม พ.ศ. 2542) เกิดที่ จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรของนายมุ่ง และนางอุสา สรรพศรี สมรสกับ ร.วชิรา สรรพศรี มีบุตร 1 คน คือ ร.ดร.ชโยดม สรรพศรี คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.ดร.สง่า สรรพศรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งทางวิชาการอื่นๆ หลายตำแหน่ง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสง่า สรรพศรี · ดูเพิ่มเติม »

สง่า อิงคุลานนท์

ท่านผู้หญิงสง่า อิงคุลานนท์ คุณข้าหลวงและพระอภิบาลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสง่า อิงคุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุณยะชัย

ลเรือเอกสนธิ บุณยะชัย (20 มิถุนายน พ.ศ. 2460 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตรองผู้บัญชาการทหารเรือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และสนธิ บุณยะชัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา

ันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป..(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์

ท่านผู้หญิงบุษบา ในอดีต ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร; 2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ

ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร

หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ท..ว. หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต และนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร

ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 - 15 พฤษภาคม 2530) พระเชษฐาองค์โตในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีชื่อเล่นว่า คุณชายกร๋อย เป็นบุตรคนโตของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร มีพี่น้อง 4 คน คือ หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี, โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นไปศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษ ที่ Guy's Hospital Medical School ได้รับประกาศนียบัตร MRCS.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์

หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ (22 เมษายน พ.ศ. 2400 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2473) เป็นหม่อมห้ามสะใภ้หลวงในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร

หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) เป็นอดีตรองประธานศาลฎีกา และหนึ่งในสมาชิกคณะองคมนตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระบิดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์

หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ หรือ หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ ป..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา

หม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา (13 สิงหาคม พ.ศ. 2402 - 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2492) เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร หม่อมสุ่น เกิดเมื่อปีมะแม วันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงบัว กิติยากร

หม่อมหลวงบัว กิติยากร นามเดิม หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 − 19 กันยายน พ.ศ. 2542) หรือชื่อในการแสดงว่า ประทุม ชิดเชื้อ เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และเป็นที่รู้จักในฐานะพระราชมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้งยังทรงเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงบัว กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงชูชาติ กำภู · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์

ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ป.ม., ท..ว.,.ป.ร.1(28 ธันวาคม พ.ศ. 2457 — 17 สิงหาคม พ.ศ. 2543) หรือนามเดิม หม่อมหลวงพวงร้อย สนิทวงศ์ เป็นสตรีไทยคนแรกที่เป็นนักประพันธ์เพลง เมื่อ พ.ศ. 2480 ท่านผู้หญิง พวงร้อยได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อปี 2529.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี

หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี (24 กันยายน พ.ศ. 2475 - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543) อดีตเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียว และกรุงวอชิงตัน และอดีตราชเลขาธิการ ซึ่งได้ล้มป่วยด้วยโรคมะเร็งหลอดอาหาร และถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจล้มเหลว เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 ด้วยวัย 65 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค มีนามเดิมว่า หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์ ป.., ท..ว.,.ป.ร. 1 (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465-23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของหม่อมหลวงบัว กิติยากร พระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยในเพลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เพลินภูพิงค์ เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย แผ่นดินของเรา เตือนใจ ไร้เดือน เกาะในฝัน มาร์ชราชนาวิกโยธิน หม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค และพันโทสุรธัช บุนนาค หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ จึงใช้คำนำหน้าท่านผู้หญิง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์

หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ (26 มกราคม พ.ศ. 2466 - 7 เมษายน พ.ศ. 2549) อดีตราชเลขาธิการ และองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการไตวาย และหัวใจวาย เมื่อเวลา 01.53 น. วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สิริอายุ 83 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ

หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ (พ.ศ. 2452 - พ.ศ. 2538) สูตินรีแพทย์ชาวไทย, อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิง วงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์ ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา

หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หรือนามเดิม เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่ (13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) นางข้าหลวงในเจ้าดารารัศมี พระราชชายา และอดีตหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี (Catherine Desnitski) มีชื่อเต็มว่า เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา (Катерина Іванівна Десницька; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 — 3 มกราคม พ.ศ. 2503) เป็นอดีตหม่อมชาวรัสเซีย (ปัจจุบันส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน) ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานนามสกุล ณ พิศณุโลก อันเป็นนามสกุลพิเศษเนื่องจากไม่มีเลขลำดับที่พระราชทาน และมีผู้ใช้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทริน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2479) เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเอลีซาเบท รังสิต ณ อยุธยา

หม่อมเอลีซาเบท รังสิต ณ อยุธยา (นามเดิม: เอลีซาเบท ชาร์นแบร์เกอร์; Elisabeth Scharnberger, 15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 29 กันยายน พ.ศ. 2516) สตรีชาวเยอรมัน ที่ต่อมาเป็นหม่อมในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ทั้งสองเสกสมรส ณ ที่ทำการอำเภอเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเอลีซาเบท รังสิต ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา (ท.จ.) (4 ธันวาคม พ.ศ. 2422-20 ตุลาคม พ.ศ. 2481) มีนามเดิมว่า อัญญานางเจียงคำ สกุลเดิม บุตโรบล เป็นเจ้านายสตรีของเมืองอุบลราชธานีซึ่งเป็นเมืองประเทศราชของราชอาณาสยามมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ที่ถวายตัวเป็นหม่อมใน พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) และองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาพึ่ง เพื่อเป็นการกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างราชสำนักสยาม กับเจ้านายพื้นถิ่นเมืองอุบลราชธานีให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ในช่วงที่มีนโยบายปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร

ลโท หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำญี่ปุ่น และเอกอัครราชทูตไทยประจำเอธิโอเปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ เป็นราชบัณฑิตและอดีตพระราชาคณะชั้นธรรมเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2543) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับ หม่อมหลวงใหญ่ หรือ ลำดวน อิศรเสน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล

หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล ท..,.ป.ร 5, ว.ป.ร 2, ป.ป.ร 4 (25 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) อดีตอาจารย์ใหญ่และผู้จัดการของโรงเรียนราชินี และ โรงเรียนราชินีบน ผู้ทรงมีคุณูปการอย่างยิ่งแก่วงการการศึกษาของสตรีไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล

หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2438 — 11 สิงหาคมพ.ศ. 2533) ทรงเป็นพระธิดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเฉื่อย ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ยมาภัย).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล

รืออากาศโท หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล หรือท่านเป๋อ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477 - 20 เมษายน พ.ศ. 2557) เป็นพระโอรสใน พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับ หม่อมบุญล้อม ยุคล ณ อยุธยา ทรงมีหม่อมเจ้าพี่น้องร่วมพระบิดาเดียวกันกั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) เป็นพระโอรสในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ รัชนี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 18 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล

หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล (17 กันยายน พ.ศ. 2447 - 3 เมษายน พ.ศ. 2534) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ราชเลขาธิการ และองคมนตรีไทย หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่หม่อมจันทน์ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2447 สมรสกับ หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ กิติยากร มีบุตรคือ หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช หม่อมเจ้าวงศานุวัตร รับราชการเป็นนักการทูต เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุล

หม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุล (19 เมษายน พ.ศ. 2444 -5 มิถุนายน พ.ศ. 2539) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ต้นราชสกุลเทวกุล อดีตเสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ประสูติแต่ หม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา เมื่อวันศุกร์ที่ 19 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร

หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร (10 เมษายน พ.ศ. 2426 — 22 มิถุนายน พ.ศ. 2514) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่ หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา ทรงได้รับการยกย่องเป็น บิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่ หม่อมเจ้าสิทธิพร เสด็จไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ที่กรุงลอนดอน เริ่มรับราชการที่กระทรวงพระคลัง เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์

หม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ (พ.ศ. 2400 - 23 เมษายน พ.ศ. 2460) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2400 เมื่อท่านเจริญพระชันษาก็ได้เข้ารับราชการ ทรงสมัครเข้าเป็นนายเสือป่าตั้งแต่แรกตั้งกองเสือป่าใน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์

ลโท หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ (15 มกราคม พ.ศ. 2454 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2512) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นพระอนุชาร่วมพระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ เสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร

หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร (ราชสกุลเดิม: เทวกุล; ประสูติ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2420 — สิ้นชีพิตักษัย: 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล (สุจริตกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย

นาวาโท หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2457 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2501) ผู้บังคับการเรือหลวงประแส (ลำที่ 1) ในสงครามเกาหลี เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร ประสูติแต่หม่อมเจ้าหญิงพร้อมเพราพรรณ ดิศกุล มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 6 องค์ หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย เสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล มีบุตรและธิดา คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า ". ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล

ลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ

ันตรี หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร

หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร (ราชสกุลเดิม: ไชยันต์; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2429 — สิ้นชีพิตักษัย: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2499) ชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ (6 มกราคม พ.ศ. 2433 — 29 ธันวาคม พ.ศ. 2459) หรือเรียกอย่างลำลองว่า ท่านหญิงเอื้อย เป็นพระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์ปลื้ม จิตรพงศ์ (ราชสกุลเดิม: ศิริวงศ์) พระธิดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์ แต่เดิมสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชประสงค์ให้หม่อมเจ้าปลื้มจิตรเสกสมรสกับสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา แต่สมเด็จเจ้าฟ้ากลับเลือกนางละครส่วนพระองค์คือ หม่อมแผ้ว นครราชสีมา (ต่อมาคือ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี) เป็นหม่อมแต่เพียงผู้เดียว หม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)

หลวงลิขิตปรีชา (พ.ศ. 23?? - พ.ศ. 2418) เดิมชื่อ ปลอบ เป็นข้าหลวงปลัดกรมกองรายงานหนังสือไปมา ตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ายวังหน้า (เทียบเท่ากับออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ วังหลวง) และราชเลขานุการในพระองค์ และเป็นนักกวีในสมัยรัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 3 ถือศักดินา 1,500 (บางตำราก็ว่าถือศักดินา 1,800) ปรากฏในทำเนียบตำแหน่งข้าราชการ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นทำเนียบในสมัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว บิดาชื่อนายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล) ถือศักดินา 2000 สืบสกุล "โรจนกุล" ต้นสกุลคือ เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)

100px พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานรัฐสภา อดีตประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)

ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์)

ลตรี หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2439 ตำบลวังไม้ขอน อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย อดีตอธิบดีกรมการแพทย์ (คนแรก) เป็นผู้ให้กำเนิดของสมาคมวิทยาลัยศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2523 รวมสิริอายุ 84ปี อดีตอธิบดีกรมการแพทย์คนแรก หนึ่งในนายแพทย์ผู้ร่วมชันสูตรพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 มีการจัดงานเพื่อรำลึกถึงท่านในโอกาสครบ 120 ปีชาตกาล พันโทนายแพทย์หลวงนิตย์ เวชชวิศิษฎ์ ้เมื่อ 29 กันยายน 2559 ที่ผ่านมาด้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์)

หลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์) พลเอก หลวงเสนาณรงค์ (นามเดิม ศักดิ์ เสนาณรงค์) (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2498) อดีตผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 6 ค่ายวชิราวุธ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารในภาคใต้ ซึ่งต่อต้านการรุกรานจากกองทัพญี่ปุ่นในสงครามมหาเอเชียบูรพา ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารบก และปลัดกระทรวงกลาโหม หลวงเสนาณรงค์ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ระหว่างวันที่ 14-19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และหลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์) · ดูเพิ่มเติม »

อภัย จันทวิมล

อภัย จันทวิมล เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 ที่อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมคณะลูกเสือแห่งชาติ ในคณะกรรมการลูกเสือโลก ขององค์การลูกเสือโลก ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอภัย จันทวิมล · ดูเพิ่มเติม »

อภิรดี ยิ่งเจริญ

ลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 -) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระบรมวงศานุวงศ์ ท่านผู้หญิงอภิรดีเคยเป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เคยเป็นคุณข้าหลวงผู้ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และนายทหารราชองครักษ์พิเศษ มียศเป็นพลเอกหญิง ในประเทศไทยมีสามัญชนเพียงสองคนที่ดำรงตำแหน่ง "พลเอกหญิง" คือ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ และ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอภิรดี ยิ่งเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อรรถ วิสูตรโยธาภิบาล

นายอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 2 และอดีตอธิบดีกรมที่ดิน คนที่ 19 กระทรวงมหาดไทย รวมถึงอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย เป็นผู้คิดวิธีออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3ก.) โดยใช้รูปถ่ายทางอากาศเป็นระวาง และยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการร่างกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกาถึง 5 ครั้ง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร

ลตำรวจตรีอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร พลตำรวจตรี นายกองใหญ่ อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (หลวงอรรถสิทธิ์สิทธิสุนทร) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และองคมนตรีไทย พลตำรวจตรี อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (11 ธันวาคม พ.ศ. 2445 - 16 กันยายน พ.ศ. 2541) เคยดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการ จังหวัดจันทบุรี (พ.ศ. 2484-2485) จังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ. 2485-2487) จังหวัดยะลา (พ.ศ. 2487) จังหวัดสุพรรณบุรี (พ.ศ. 2487-2488) จังหวัดอุบลราชธานี (พ.ศ. 2490-2492) อธิบดีกรมศุลกากร อธิบดีกรมราชทัณฑ์ พลตำรวจตรี อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ระหว่างเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

อรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทองเนื้อดี) นางสนองพระโอษฐ์และผู้อำนวยการฝ่ายจัดจำหน่าย มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นภริยานายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา จบการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และ FRANCES KING SECRETARIAL COLLEGE ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมาสมรสกับจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เลขาธิการพระราชวัง สำนักพระราชวัง และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ มีบุตร 2 คน คือ จิรุตม์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ชื่อเล่น เอ้ และจิรัตถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ชื่อเล่น โอ๊ต ท่านผู้หญิงอรนุช ได้ทำงานในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เลขาของผู้เชี่ยวชาญด้านคมนาคม สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ,แผนกโฆษณา หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์,เลขาของกรรมการผู้จัดการ,ผู้ช่วยหัวหน้า เอ.อี.ทำโฆษณาให้ลูกค้า บริษัทกล๊าสแอ๊ดเวอร์ไทซิ่ง,เลขาฯ ทำงานทางศูนย์วิจัยทางทหาร ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญ อเมริกันมาสำรวจข้อมูลลุ่มแม่น้ำโขง,บริษัทอุตสาหกรรมพรมไทย และ เลขาฯ องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ ต่อมาท่านผู้หญิงอรนุชได้ถวายงานเป็นนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นผู้อำนวยการฝ่ายจัดจำหน่าย มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยาได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายในเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอารีย์ วงศ์อารยะ · ดูเพิ่มเติม »

อาษา เมฆสวรรค์

อาษา เมฆสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (จากการแต่งตั้ง).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอาษา เมฆสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณันย์ วัชโรทัย

ันตรี อาณันย์ วัชโรทัย (ชื่อเดิม วัชรทิพย์ วัชโรทัย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นหลานของนายแก้วขวัญ-นายขวัญแก้ว วัชโรทั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอาณันย์ วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ เขายังได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจำปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอานันท์ ปันยารชุน · ดูเพิ่มเติม »

อำพล เสนาณรงค์

อำพล เสนาณรงค์ อดีตองคมนตรี, นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอำพล เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อิสระพงศ์ หนุนภักดี

ลเอก พลตำรวจเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กตุ๋ย (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560) อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

อุกฤษ มงคลนาวิน

ตราจารย์พิเศษ อุกฤษ มงคลนาวิน อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา ผู้ก่อตั้งสำนักงานทนายความอุกฤษ มงคลนาวิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอิสระเพื่ออำนวยความยุติธรรม และเสริมสร้างสิทธิเสรีภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กอ.ยส.จชต.) และกรรมการสภากาชาดไทยนอกจากนั้นยังดำรงตำแหน่งประธานพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอุกฤษ มงคลนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ อนันตกูล

นายอนันต์ อนันตกูล ราชบัณฑิต กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ที่จังหวัดชลบุรี เคยดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นเวลายาวนานถึง 4 ปี และดำรงตำแหน่ง ปลัดกระทรวงมหาดไทยอีก 2 สมัยรวมเวลาเกือบ 4 ปี นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่ง เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และอนันต์ อนันตกูล · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จรุงจิตต์ ทีขะระ

ท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ เป็นนางสนองพระโอษฐ์ และ ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจรุงจิตต์ ทีขะระ · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

รุพงศ์ เรืองสุวรรณ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยรับราชการในตำแหน่งปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายอำเภอหลายอำเภอ ปัจจุบันเป็นเลขาธิการองค์กรเสรีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์

ลตำรวจเอก จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำนงค์ โพธิสาโร

ำนงค์ โพธิสาโร เป็นอดีตนักการเมือง โดยเป็น..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจำนงค์ โพธิสาโร · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

รองศาสตราจารย์ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี และประธานกรรมการมูลนิธิสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตเลขาธิการพระราชวัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์อดีตเลขาธิการและกรรมการมูลนิธิโครงการหลวง นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ สุจริตกุล

ตติ สุจริตกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจิตติ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ ติงศภัทิย์

ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจิตติ ติงศภัทิย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จงกล กิตติขจร

ท่านผู้หญิงจงกล กิตติขจร (สกุลเดิม ถนัดรบ; 14 มกราคม พ.ศ. 2457 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) เป็นภริยาของจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และจงกล กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร

นะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฝ่ายความมั่นคง กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ประธานกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์แห่งชาติ และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ซึ่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งสืบต่อจาก พล.อ. ทรงกิตติ จักกาบาตร์ ที่เกษียณอายุราชการไปก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร · ดูเพิ่มเติม »

ธนิต อยู่โพธิ์

นายธนิต อยู่โพธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และธนิต อยู่โพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล รายนานนท์

ลเรือเอกถวิล รายนานนท์ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2526) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายสัญญา ธรรมศักดิ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และถวิล รายนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ทวี บุณยเกตุ

นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และทวี บุณยเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนาวลัย ศรสงคราม

ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (สกุลเดิม: รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) เป็นพระธิดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กับพันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ เป็นพระภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และทัศนาวลัย ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าววรจันทร บรมธรรมิกภักดี นารีวรคณานุรักษา (เจ้าจอมมารดาวาด) (11 มกราคม พ.ศ. 2384 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เจ้าจอมมารดาวาด มีนามเดิมว่า "แมว" เป็นบุตรของสมบุญ งามสมบัติ (มหาดเล็กในรัชกาลที่ 3) กับถ้วย งามสมบัติ (ท้าวปฏิบัติบิณฑทาน)กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม มาลากุล) เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์แป้ม เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2419 เมื่ออายุได้ 17 ปี พระบิดานำขึ้นถวายตัวสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี โปรดให้ฝึกหัดราชการแผนกรักษาพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ต่อมาเป็นผู้บัญชาการแผนกรักษาพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ โดยที่ท่านมีหน้าที่รักษากุญแจห้องเก็บพระราชทรัพย์อันมหาศาลซึ่งโดยมากเป็นเครื่องเพชรทองของประดับอันลำค่าของสมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ จนคนทั้งหลายเรียกขานนามท่านว่า "คุณห้องทอง" ต่อมาได้ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ไม่มีประสูติกาลพระราชโอรสธิดา นอกจากนั้นท่านมีหน้าที่สอนและควบคุมการทำดอกไม้สดในงานพระราชพิธีต่างๆ มีเจ้านายและข้าราชการนำบุตรหลาน มาถวายตัวในราชสำนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ รวมทั้งงานเย็บปักถักร้อยต่าง ๆ ต่อมาวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) มีนามเดิมว่า แก้ว อภัยวงศ์ (เกิด: 5 มกราคม พ.ศ. 2396 — ถึงแก่อนิจกรรม: 15 กันยายน พ.ศ. 2473) บุตรีของพระสุพรรณพิศาล (กอง อภัยวงศ์) บุตรชายของเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน อภัยวงศ์) ผู้ว่าราชการจังหวัดพระตะบองคนแรก อนึ่งท้าวศรีสุนทรนาฏเป็นน้องสาวของเจ้าจอมมารดาเอี่ยมบุษบา พระชายาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (ซึ่งเจ้าจอมมารดาเอี่ยมบุษบาเป็นทวดในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ) ทั้งนี้ท้าวศรีสุนทรนาฏยังเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวสมศักดิ์ นามเดิม เหม (พ.ศ. 2382 — 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติการพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ต้นราชสกุลโศภางค์ ณ อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) ท้าวอินทรสุริยา นามเดิม เนื่อง จินตดุล (10 ธันวาคม พ.ศ. 2428 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2517) เป็นพระพี่เลี้ยงผู้ถวายการอภิบาลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น) (เกิด: พ.ศ. 2383 — อนิจกรรม: 16 มีนาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ให้ประสูติพระราชโอรสพระองค์เดียว คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ ต้นราชสกุลสวัสดิกุล ณ อ.พลายน้อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น ในรัชกาลที่ 4) · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญแก้ว วัชโรทัย

นายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) และนายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) ขวัญแก้ว วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 28 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นอดีตรองเลขาธิการพระราชวัง เป็นคู่แฝดกับแก้วขวัญ วัชโรทัย อดีตเลขาธิการพระราชวัง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และขวัญแก้ว วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ มหานนท์

ล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ เป็นอดีตอธิบดีกรมตำรวจ 2525-2530 อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานที่ปรึกษาบริษัท ช.การช่าง จำกั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และณรงค์ มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ ยุทธวงศ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ณรงค์ ยุทธวงศ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ต.ค.44 - ก.ย.45) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2484 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอกสรรค์ และนางระเบียบ ยุทธวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบียล และโรงเรียนนายเรือ เข้ารับราชการครั้งแรกเป็นนายทหารประจำเรือและใช้ชีวิตรับราชการในตำ แหน่งต่างๆในเรือร่วม 20 ปี ซี่งได้รับการเลื่อนชั้นยศและตำแหน่งตามลำดับ ตำแหน่งสำคัญของการรับราชการ อาทิ ผู้บังคับการเรือหลวงภูเก็ต(ลำเก่า), ผู้บังคับการเรือหลวงประแส, ผู้บังคับการเรือหลวงมกุฎราชกุมาร, ผู้บัญชาการกองเรือฟริเกตที่ 2, ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ, รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยได้รับพระราชทานยศในอัตราจอมพล ชั้นยศ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิกุลโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นองครักษ์เวร และตุลาการศาลทหารสูงสุด ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญที่เคยดำรงตำแหน่งหลังเกษียณอายุราชการ คือ ประธานกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)และสมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และณรงค์ ยุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช

ันโท ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช (8 สิงหาคม พ.ศ. 2490 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2528) เป็นอดีตผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ผู้ก่อตั้งหลักสูตรทหารเสือราชินี และเคยดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโครงการพัฒนาตามพระราชดำร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และดิเรก ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ไกรฤกษ์, เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2447 — ถึงแก่อนิจกรรม 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) เป็นธิดาของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) กับท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม บางยี่ขัน) ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา ได้บันทึกในหนังสือเรื่องของคนห้าแผ่นดินถึงชื่อของท่านว่า "เมื่อคุณพ่อกลับจากสิงคโปร์แล้วจึงตั้งชื่อให้ฉันว่า ดุษฎีมาลา ตามชื่อเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา ซึ่งท่านได้รับพระราชทานเป็นบำเหน็จ เมื่อสอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตชั้นที่ ๑ คนแรกของประเทศไทย" ชื่อของท่านผู้หญิงที่ถูกต้องจึงเป็น ดุษฎีมาลา แต่ในประกาศหลายฉบับหรือบันทึกต่างๆ ได้เรียกชื่อท่านผู้หญิงอย่างลำลองว่า ท่านผู้หญิงดุษฎี ต่อมาได้สมรสกับหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน นอกจากนี้ท่านผู้หญิงยังเคยเป็นผู้ถวายงานรับใช้ในตำแหน่งนางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลาเป็นผู้ประพันธ์คำไหว้ครูที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่ว่า ข้าขอประณตน้อมสักการ บูรพคณาจารย์ ผู้กอปรเกิดประโยชน์ศึกษา ทั้งท่านผู้ประสาทวิชา อบรมจริยา แก่ข้าในกาลปัจจุบัน ข้าขอเคารพอภิวันทน์ ระลึกคุณอนันต์ ด้วยใจนิยมบูชา ขอเดชกตเวทิตา อีกวิริยะพา ปัญญาให้เกิดแตกฉาน ศึกษาสำเร็จทุกประการ อายุยืนนาน อยู่ในศีลธรรมอันดี ให้ได้เป็นเกียรติเป็นศรี ประโยชน์ทวี แก่ชาติและประเทศไทยเทอญ ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 สิริรวมอายุได้ 92 ปี 10 เดือน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระมหากรุณาธิคุณ เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส สิริอายุได้ 93 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คุณพลอยไพลิน เจนเซน

ณพลอยไพลิน เจนเซน หรือ คุณพลอยไพลิน มหิดล เจนเซน (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) พระธิดาคนโตในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซน เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และคุณพลอยไพลิน เจนเซน · ดูเพิ่มเติม »

คุณพุ่ม เจนเซน

ว่าที่นายหมวดตรี ร้อยตำรวจตรี คุณพุ่ม เจนเซน (นามเดิม: ภูมิ เจนเซน; 16 สิงหาคม พ.ศ. 2526 — 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระโอรสคนเดียวในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับปีเตอร์ เจนเซนและยังเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพี่น้องคือคุณพลอยไพลิน และคุณสิริกิติยา เจนเซน คุณพุ่ม เจนเซนถึงแก่อนิจกรรมจากกรณีพิบัติภัยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และคุณพุ่ม เจนเซน · ดูเพิ่มเติม »

คุณสิริกิติยา เจนเซน

ณสิริกิติยา เจนเซน หรือ คุณสิริกิตติยา ใหม่ เจนเสน (นามเดิม: ใหม่ เจนเซน; 18 มีนาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระธิดาคนเล็กในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซน เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "สิริกิติยา" โดยนำมาจากพระนามของสมเด็จยาย คือ "สิริกิติ์".

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และคุณสิริกิติยา เจนเซน · ดูเพิ่มเติม »

คงศักดิ์ วันทนา

ลอากาศเอก นายกองใหญ่ คงศักดิ์ วันทนา (เกิด 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2488- ชื่อเล่น บิ๊ก) ครองตัวเป็นโสดหลังจากภรรยาเสียชีวิตนานหลายปี หลังจากดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารอากาศไม่นาน ก็สมรสกับ นางสาวสลิลลาวัลย์ ศิริวงศ์ ณ อยุธยา เพื่อนสนิทของ คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ก่อนรับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และคงศักดิ์ วันทนา · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ หุตะสิงห์

144x144px ศาสตราจารย์ ประกอบ หุตะสิงห์ (พ.ศ. 2455 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) อดีตประธานศาลฎีกา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองนายกรัฐมนตรี นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และองคมนตรีไทย ประกอบ หุตะสิงห์ เป็นบุตรของพระยาสรรพกิจเกษตรการ กับคุณหญิง ศวง สรรพกิจ เขาเข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และ เป็นนักเรียนไทยรุ่นแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านนิติศาสตร์ จากประเทศเยอรมัน เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และประกอบ หุตะสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประมณฑ์ ผลาสินธุ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ประมณฑ์ ผลาสินธุ์ (8 ตุลาคม 2478 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 29 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2538 - 30 กันยายน 2539 เป็นบุตรนายกมลกับนางวรรณะ ผลาสินธุ์ ภริยาชื่อพลตรีหญิง คุณหญิงพวงเพ็ญ ผลาสิน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และประมณฑ์ ผลาสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ณรงค์เดช

นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช อดีตนักธุรกิจและนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งสูงสุดเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และประสิทธิ์ ณรงค์เดช · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี

ตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี หรือมักเรียกกันว่า หมอหลวง (5 ตุลาคม พ.ศ. 2475 - 20 กันยายน พ.ศ. 2553) ซึ่งเป็นแพทย์ที่เคยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มีส่วนร่วมในการก่อตั้งสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว และวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ กับทั้งเคยดำรงตำแหน่งกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ และสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และประดิษฐ์ เจริญไทยทวี · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ วะสี

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และประเวศ วะสี · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ ไม้กลัด

ปราโมทย์ ไม้กลัด ที่ปรึกษาประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมชลประทาน อดีตผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และปราโมทย์ ไม้กลัด · ดูเพิ่มเติม »

ปริม บุนนาค

ปริม บุนนาค หรือ หม่อมปริม ยุคล ณ อยุธยา เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และอดีตนักแสดง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และปริม บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

ปลอดประสพ สุรัสวดี

ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และปลอดประสพ สุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ปาน พึ่งสุจริต

นายปาน พึ่งสุจริต อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน และอดีตรองเลขาธิการพรรคมาตุภูม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และปาน พึ่งสุจริต · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และปานเทพ กล้าณรงค์ราญ · ดูเพิ่มเติม »

นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์)

นายจำนงราชกิจ (จรัญ บุณยรัตพันธุ์) ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ยูงทอง อดีตรองราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และนายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

นิวัตต์ ดารานันทน์

ตราจารย์ นิวัตต์ ดารานันทน์ (7 กันยายน 2470 - 11 มิถุนายน 2554) อดีตกรรมการบริหารผู้ทรงคุณวุฒิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน อดีตหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสำคัญคือ เป็นกรรมการบริหาร และกรรมการบริหาร โครงการธนาคาสมองของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีน.ดร.นิวัตต์ ดารานันทน์ เป็นอาจารย์ผู้สอน นิสิต และนักศึกษา วิศวกรรม ทั้งปริญญาตรี โท และเอก ทั้งชาวไทยและชาวเอเชีย อื่น ๆ นับเป็นปูชนียบุคคลที่สำคัญของชาวไทย ซึ่งประสิทธิประสาทวิชาการ แก่วิศวกร เพื่อให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติในปัจจุบัน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และนิวัตต์ ดารานันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

นิตย์ พิบูลสงคราม

นิตย์ พิบูลสงคราม (30 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ บุตรชายคนสุดท้องของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี กับท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และนิตย์ พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

นที รักษ์พลเมือง

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์นที รักษ์พลเมือง (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2557) อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อดีตหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และนที รักษ์พลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

แก้วขวัญ วัชโรทัย

นายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) และนายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) แก้วขวัญ วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 15 กันยายน พ.ศ. 2559) อดีตเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และแก้วขวัญ วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

แสง เหตระกูล

นายแสง เหตระกูล (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2524) เป็นบุตรชายในจำนวน 4 คน ของนายจงกุ่ยและนางนี้ เหตระกูล เริ่มงานในแวดวงสื่อมวลชนครั้งแรกด้วยการร่วมหุ้นกับพี่น้องทำกิจการโรงพิมพ์ชื่อ โรงพิมพ์ตงซัว ก่อนที่จะซื้อกิจการหนังสือพิมพ์ กรุงเทพ เดลิเมล์ รายปักษ์ รายสัปดาห์ มาดำเนินการเอง ซึ่งต่อมาได้พัฒนากลายเป็น เดลิเมล์รายวัน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2493 จากนั้นจึงได้มี บางกอกเดลิเมล์ หนังสือพิมพ์รายวันกรอบบ่ายเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งฉบับ ในยุคเผด็จการทหาร หลังจากที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ กระทำการรัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ได้มีคำสั่งจากคณะปฏิวัติงดใบอนุญาตประกอบการ แต่นายแสงยังคงสั่งให้บรรณาธิการทำงานอย่างเต็มที่ จนกระทั่งได้วางแผงขายในวันรุ่งขึ้น ในที่สุดแท่นพิมพ์ก็ได้ถูกล่ามโซ่ และกองบรรณาธิการบางคนถูกจับและบางคนเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง หลังจากนั้น นายแสง พยายามที่จะขออนุญาตกลับมทาทำหนังสือพิมพ์อีกหลายครั้งเป็นระยะ แต่ไม่เป็นผลสำเร็จ จึงได้จดทะเบียนชื่อหนังสือพิมพ์ใหม่ว่า แนวหน้าแห่งเดลินิวส์ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งได้พัฒนากลายมาเป็นเดลินิวส์อย่างในปัจจุบัน เมื่ออายุมากขึ้น นายแสงได้วางมือจากกิจการ โดยส่งต่อให้ นายประชา เหตระกูล บุตรชายดำเนินการต่อ และได้เสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2524 นายแสง เหตระกูล ได้รับการยกย่องอย่างมากจากแวดวงสื่อมวลชนในประเทศไทยในฐานะนักหนังสือพิมพ์รุ่นบุกเบิกคนแรก ๆ ที่ต่อสู้ทุกรูปแบบกับอำนาจเผด็จการ ความไม่ถูกต้อง เพื่อเรียกร้องให้สื่อมวลชนมีเสรีภาพ มีความเป็นประชาธิปไตย จนได้รับการยกย่องให้เป็น "ราชาหนังสือพิมพ์เมืองไทย" จากสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2553 ร่วมกับ นายกำพล วัชรพล ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ นายแสง เหตระกูล มีคำพูดที่ถือเป็นประโยคอมตะสำหรับแวดวงสื่อมวลชน ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และแสง เหตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ

ตราจารย์เกียรติคุณ ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ เป็นนักวิชาการ อาจารย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนที่ 8 (ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2523-2525) และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คนที่ 2 (ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2542-2543) เป็นศิษย์เก่าคนแรกที่ได้รับรางวัล Emil M. Mrak International Award for Outstanding Alumni จากสถาบัน Universty of California at Davis ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ศิษย์เก่าคนแรกที่ได้รับเป็นคนไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐา ฐานะจาโร

ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเชษฐา ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ. 2523) มีบุตรชาย 1 คน คือ นายไชย ณศีลวันต.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเชาวน์ ณศีลวันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟื้อ หริพิทักษ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ (22 เมษายน พ.ศ. 2453 - 19 ตุลาคม 2536) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเฟื้อ หริพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ชรา เตชะกัมพุช

ตราจารย์พิเศษ ทันตแพทย์หญิง ท่านผู้หญิง เพ็ชรา เตชะกัมพุช ทันตแพทย์ประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช,ประธานกรรมการมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์,ผู้อำนวยการหน่วยทันตกรรมพระราชทาน,อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,ประธานกรรมการแผนกทันตแพทยศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเพ็ชรา เตชะกัมพุช · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเกษม วัฒนชัย · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศรีพยัคฆ์

กษม ศรีพยัคฆ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์และรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเกษม ศรีพยัคฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตร โรจนนิล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กเต้ (เกิดเมื่อ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 1 โรงเรียนการบินรุ่น น.25 โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูงรุ่นที่ 18 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 15 และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเกษตร โรจนนิล · ดูเพิ่มเติม »

เกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (13 สิงหาคม พ.ศ. 2465) นางสนองพระโอษฐ์และมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ท่านผู้หญิงเกนหลง เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เสม พริ้งพวงแก้ว

ตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว (31 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเสม พริ้งพวงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเสริม วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสริม ณ นคร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเสริม ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญลูกเสือสดุดี

หรียญลูกเสือสดุดี มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติลูกเสือ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเหรียญลูกเสือสดุดี · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจือทอง อุรัสยะนันทน์

ท่านผู้หญิงเจือทอง อุรัสยะนันทน์ เป็นบุตรีของนายเท้ง-นางจู กรีทอง คหบดีชาว จังหวัดสมุทรสาคร เป็นพี่คนโต ในจำนวนพี่น้อง 6 คน เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2463 ณ บ้านเลขที่ 114 ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เริ่มการศึกษาชั้น ประถม ที่โรงเรียนสาครวิทยา ชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัยจนสำเร็จ ประโยคครู ประถมสามัญ จึงได้เข้ารับราชการเป้นครูในกรมสามัญศึกษา และออกไปเป็นครูที่โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล ซึ่งเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดปัตตานี ต้นปีการศึกษ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจือทอง อุรัสยะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวงศ์สว่าง มกุฎราชกุมารแห่งลาว

้าฟ้าชายมงกุฎราชกุมารวงศ์สว่าง (ເຈົ້າຟ້າຊາຍມົງກຸດລາຊະກຸມານວົງສະຫວ່າງ เจ้าฟ้าชายมงกุดลาชะกุมานวงสะหว่างสะกดด้วยอักขรวิธีเก่าว่า ເຈົ້າຟ້າຊາຍມຸງກຸຕຣາຊກຸມາຣວົງສວ່າງ ปริวรรต: เจ้าฟ้าชายมุงกุตราชกุมารวงสว่าง (ສົມຈິຕ ພັນລັກ. (2012) ພາສາລາວລ້ານຊ້າງ ກ່ອນປີ ພ.ສ 2478; ຄ.ສ 1935 ສະບັບຄົ້ນຄວ້າ. ສົມມະນາ ການພິມ ສປປ ລາວ.); ประสูติ: 27 กันยายน พ.ศ. 2474 - สิ้นพระชนม์: เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2524) มกุฎราชกุมารแห่งราชอาณาจักรลาวพระองค์สุดท้าย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา กับพระนางคำผูย เป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ลาวถัดจากพระราชบิดา แต่หลังจากฝ่ายประเทศลาวยึดอำนาจสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พระองค์ถูกจับไปเข้าค่ายสัมมนาที่เมืองเวียงไซ แขวงหัวพัน และคาดว่าพระองค์จะประชวรสิ้นพระชนม์ในศูนย์สัมมนาหมายเลข 5 ก่อนพระนางคำผุย และพระเจ้ามหาชีวิตที่ถูกกุมขังอยู่ที่เดียวกัน ทั้งนี้รัฐบาลลาวไม่เคยเปิดเผยเรื่องการสิ้นพระชนม์และสถานที่คุมขังเลยและถือว่าเป็นความลับของชาติด้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าชายวงศ์สว่าง มกุฎราชกุมารแห่งลาว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (120px) (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร (ครองราชย์ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2465) ตลอดรัชสมัย เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิตดำรงความมั่นคงสุจริตและความจงรักภักดีต่อพระบรมราชวงศ์จักรี พระองค์ได้ทรงพัฒนานครลำปางและเมืองบริวารในด้านต่าง ๆ ให้ทันกับการพัฒนาในส่วนกลาง ได้ทรงประทานที่ดินและทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อจัดสร้างถาวรวัตถุในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และการก่อสร้างสถานศึกษา ตลอดจนสถานที่ราชการต่างๆ เพื่อความผาสุกแก่ประชาชนลำปางอย่างแท้จริง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)

อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2457 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464 เป็นพระโอรสในหม่อมเจ้านิล ฉัตรกุล (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) กับหม่อมราชวงศ์ สุ่น ปาลกะวงศ์ (นัดดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)

ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ. 2410 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459) อดีตเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)

้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)

Vanity Fair" เมื่อ ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) (พ.ศ. 2392 - พ.ศ. 2463) อดีตอธิบดีกรมพระคลังสวน อธิบดีจัดการกรมภาษีร้อยชักสาม (ปัจจุบันคือ กรมศุลกากร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และเสนาบดีกระทรวงธรรมการคนแรก (ปัจจุบันคือ กระทรวงศึกษาธิการ).

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค)

้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2373 ในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นบุตรสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ) กับหม่อมพึ่ง ธิดาเจ้าพระยาพลเทพ (บุญนาก บ้านแม่ลา) เข้ารับราชการในรัชกาลที่ 4 เป็นนายไชยขรรค์ หุ้มแพรมหาดเล็ก แล้วเป็นจมื่นทิพรักษา และจมื่นราชามาตย์ ปลัดกรมพระตำรวจในซ้าย ตามลำดับ จนในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง การประปานครหลวง การไฟฟ้ามหานคร ถนนและสะพานในกรุงเทพมหานครอีกด้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา; 31 มีนาคม พ.ศ. 2405 - 26 มกราคม พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์; 20/21 สิงหาคม พ.ศ. 2386 - 19 เมษายน พ.ศ. 2456) อดีตปลัดทูลฉลอง และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)

้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล) อดีตรัฐมนตรีและองคมนตรี ได้รับพระราชทานนามสกุล "สุจริตกุล".

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)

้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ มีนามเดิมว่า เทศ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)

นายพลโท เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (นามเดิม: โต บุนนาค; พ.ศ. 2394 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2452) เป็นบุตรของเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอ่วม สุรวงษ์ไวยวัฒน์ จบการศึกษาวิชาทหารปืนใหญ่จากประเทศอังกฤษ เริ่มรับราชการเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)

อมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชการ และผู้บัญชาการกรมทหารบก จอมพลฉแรม ทับพุ่ม เป็นหลานปราบกฎบทเมืองอ่างทองโดยคนเมืองอินทบุรี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)

้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) เป็นบุตรพระยาราชภักดี (โค) ซึ่งเป็นน้องชายของสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) และคุณหญิงราชภักดี (ทองศุข สุจริตกุล) และมีน้องสาวเพียงคนเดียว คือ คุณท้าววนิดาพิจาริณี (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5) เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)

ล้อเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล อดีตเสนาบดีกระทรวงวัง (ปัจจุบันคือสำนักพระราชวัง เทียบเท่าตำแหน่งเลขาธิการสำนักพระราชวัง) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่

้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2532) เป็นราชโอรสใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีขนิษฐาและอนุชา ร่วมเจ้ามารดา 3 องค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ามหาพรหมสุรธาดา

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้ามหาพรหมสุรธาดา (มหาพรหม ณ น่าน) (17 ตุลาคม พ.ศ. 2389 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2474) เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 64 ในหลวงติ๋นมหาวงศ์ ซึ่งเป็นเจ้าผู้ครองนครองค์สุดท้ายของนครน่าน ก่อนจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามประเทศ ในปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้ามหาพรหมสุรธาดา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบเนดิกเทอแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงเบเนดิกเทอ อัสตริด อิงเงบอร์ก อิงกริดแห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงแห่งไซน์-วิตเกนชไตน์-เบอร์เลบวร์ค (Benedikte Astrid Ingeborg Ingrid.; 29 เมษายน พ.ศ. 2487) เป็นพระราชธิดาพระองค์กลางในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับสมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก ทั้งเป็นพระราชขนิษฐาของสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก และเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ เจ้าหญิงเบเนดิกเทอเสกสมรสกับเจ้าชายริชาร์ดแห่งไซน์-วิตเกนชไตน์-เบอร์เลบวร์คที่ 6 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าหญิงเบเนดิกเทอแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมพิศว์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาบัว ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาบัว (เกิด: พ.ศ. 2403 — อนิจกรรม: 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2459) เกิดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ปรากฏนามบรรพบุรุษ ทราบแต่เพียงว่าบรรพบุรุษเป็นชาวบ้านบางเขน เจ้าจอมมารดาบัวรับราชการเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติกาลพระองค์เจ้าหญิงไม่มีพระนาม ประสูติในวันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาบัว ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาชุ่ม ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (สกุลเดิม โรจนดิศ, พ.ศ. 2387 - พ.ศ. 2466) เป็นเจ้าจอมมารดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เจ้าจอมมารดาชุ่ม เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาพร้อม เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเป็นบุตรีของพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) กับ ท่านผู้หญิงกลิ่น พิษณุโลกาธิบดี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดากลิ่น หรือเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น (บางแห่งสะกดว่า ส้อนกลิ่น).พลายน้อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดามรกฎ (พ.ศ. 2398 - พ.ศ. 2458) เป็นบุตรีของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) กับ ท่านผู้หญิงมหินทรศักดิ์ธำรง (หุ่น) (ธิดาพระยานครอินทร์รามัญ) เจ้าจอมมารดามรกฎ มีพระโอรสธิดา 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5

ระนมปริก เจ้าจอมมารดาวาด พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาคนที่ 3 ของนายเสถียรรักษา (เที่ยง) คหบดีเชื้อสายรามัญ กับพระนมปริก (ธิดาพระยาอิศรานุภาพ (ขุนเณรน้อย) กับนางขำ) พระนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าจอมมารดาวาด มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาวง หรือ วงษ์ (สกุลเดิม: เนตรายน) เป็นพระสนมนางหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรีของพระยาอรรคราชนาคภักดี (เนตร เนตรายน) และอรุ่น อรรคราชนาคภักดี ซึ่งอรุ่นผู้มารดา เป็นธิดาคนที่สองของหลวงมหามณเฑียร (จุ้ย) และท่านนุ่ม ต่อมาได้ถวายตัวเป็นละคร แล้วเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 4 ครั้นเมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวพระองค์นั้น เจ้าจอมอรุ่นจึงลาออกจากวังเพื่อสมรส เจ้าจอมมารดาวง มีพระราชธิดาพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ ประสูติประสูติวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาสังวาลย์ในปัจฉิมวัย เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ (บางแห่งสะกดว่า สังวาล).พลายน้อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2400 เป็นธิดาของพระยาสุรินทรราชเสนี (จั่น สุกุมลจันทร์) กับ คุณหญิงกลิ่น สุรินทรราชเสนี (สกุลเดิม รักตประจิต) ท่านมีพี่น้องที่ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายใน ดังนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาสุด ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรีของพระยาสุรินทราราชเสนี (จั่น สุกุมลจันทร์) กับคุณหญิงกลิ่น สุรินทรราชเสนี (สกุลเดิม รักตประจิต) เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว ในรัชกาลที่ 5

ตพระราชฐานชั้นใน ที่ต่อมาได้ตกเป็นเรือนของเจ้าจอมเง็ก เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว (ราชสกุลเดิม: กปิตถา) เป็นธิดาในหม่อมเจ้าวัฒนา กปิตถา ต่อมาได้ถวายตัวเป็นพระสนมสนองพระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติกาลพระองค์เจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม (13 ธันวาคม พ.ศ. 2435 — 25 มกราคม พ.ศ. 2435) สิ้นพระชนม์ขณะมีพระชันษาได้เพียงเดือนเศษ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค ป..(19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 - 29 มกราคม พ.ศ. 2512) เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประสูติพระราชธิดา 2 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา และยังมีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ อีก 2 พระองค์ เจ้าจอมมารดาอ่อน เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือนยี่ ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ สุกุมลจันทร์) กับ คุณหญิงราชสัมภารากร (อ่ำ) ท่านเกิดเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2405 ต่อมาท่านได้ถวายตัวรับราชการฝ่ายในเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้ประสูติกาลพระราชธิดา 1 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจีน

้าจอมมารดาจีน เป็นหม่อมห้ามในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เจ้าจอมมารดาจีน มีธิดา 3 พระองค์ ซึ่งในภายหลังได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้ง 3 พระอง.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาทับทิม (9 ธันวาคม พ.ศ. 2400 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2481) เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาทิพเกษร หรือสะกดว่า ทิพเกสร พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าสุริยะ ณ เชียงใหม่ (โอรสเจ้าหนานมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่) กับเจ้าสุวัณณา ณ เชียงใหม่ (ธิดาในเจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่)) ซึ่งทั้งสองท่านนับเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักร เจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่) ซึ่งเป็นโอรสในพระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนที่ 5 และเป็นตาของเจ้าทิพเกษร ได้พาท่านเข้าเฝ้าถวายเป็นบาทบริจาริกาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพ.ศ. 2434 และทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าทิพเกษรไปศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ในสำนักของเจ้าจอมมารดาแพ ผู้เป็นพระสนมเอกผู้ใหญ่ และยังโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานรรัตนราชมานิต (โต มานิตยกุล) เป็นผู้อภิบาลดูแลเจ้าทิพเกษร ต่อมาท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีฐานันดรศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาทิพเกษร" โดยพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ซึ่งประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาดวงคำ (เกิด: ไม่มีข้อมูล — อนิจกรรม: 29 ตุลาคม พ.ศ. 2449) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีนามเดิมว่า เจ้าหนูมั่นแห่งเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายมาจากเจ้านายลาวฝ่ายเวียงจันทน์ เป็นธิดาของเจ้าคลี่ พระโอรสในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ กับเจ้าท่อนแก้ว ธิดาเจ้าอุปราช (ติสสะ) เมื่อเจ้าอนุวงศ์ ทรงก่อการวุ่นวายขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าอุปราชไม่ได้ร่วมด้วย เจ้าคลี่ ผู้บิดา จึงได้พาครอบครัวเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอยู่ในกรุงเทพฯ เจ้าหนูมั่นจึงเกิดที่กรุงเทพฯ ท่านมีพี่ชายคนหนึ่ง ชื่อเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ (เจ้าหน่อคำ) ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานี.พลายน้อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาตลับ (สกุลเดิม: เกตุทัต; เกิด: พ.ศ. 2395 — อนิจกรรม: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2472) เป็นธิดาคนโตของพระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต) กับภรรยาชื่ออิ่ม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เธอจึงได้ถวายตัวเป็นพระสนมสิบสองพระกำนัลตามโบราณราชประเพณี ต่อมาได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำ มีบรรดาศักดิ์เป็น "เจ้าจอมตลับ" และหลังจากประสูติพระราชธิดาพระองค์แรกจึงได้มีศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาตลับ" มีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแช่ม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ท่านเป็นธิดาของพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น กัลยาณมิตร) กับ แจ่ม มหาอำมาตย์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2399 ต่อมาท่านได้ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายใน และได้ประสูติพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2411 เป็นธิดารุ่นเล็กของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) กับบาง อัพภันตริกามาตย์ มีพี่น้องร่วมบิดาที่รับราชการฝ่ายใน ดังนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5 เป็นบุตรีคนที่6 ของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ที่เกิดแต่ท่านผู้หญิงสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (อิ่ม) และยังเป็นน้องสาวร่วมบิดามารดากับเจ้าคุณพระประยูรวงศ์อีกด้วย ท่านเกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2405 ต่อมาท่านได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง โดยพำนักอยู่กับเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ผู้เป็นพี่สาว ต่อมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าจอม และได้ประสูติพระราชโอรส-พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาพระยาสุนทรบุรีศรีพิชัยสงคราม (สว่าง สุนทรศารทูล) กับ คุณหญิงตลับ สุนทรบุรีศรีพิชัยสงคราม ซึ่งเป็นธิดาพระศรีสหเทพ (พึ่ง ศรีเพ็ญ) ท่านเกิดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2408 ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน ได้แก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5 สกุลเดิม นิยะวานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2418 ที่บ้านบางขุนพรหมในพระนคร เป็นบุตรีของพระนรินทราภรณ์ (ลอย นิยะวานนท์) กับ ปริก โดยปู่ของท่านเป็นน้องชายของเจ้าจอมมารดาอำพา ในรัชกาลที่ 2 (พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ ต้นราชสกุลกปิตถา และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ต้นราชสกุลปราโมช) เมื่อท่านอายุได้ 9 ปี ได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง กับ เจ้าจอมมิ ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นลูกของป้าท่าน แล้วจึงถวายตัวแด่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินินาถ แล้วได้เป็นละครหลวง ต่อมาทรงพระกรุณาให้เป็นเป็นเจ้าจอม ประสูติพระเจ้าลูกเธอรวม 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเหม อมาตยกุล (21 กันยายน พ.ศ. 2407 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระองค์เจ้าชายหนึ่งพระองค์ (ไม่ประสูติเป็นพระองค์) และพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี ท่านเป็นผู้รักการดนตรี และได้สนิทสนมกับพระราชชายา เจ้าดารารัศมีเป็นพิเศษ เจ้าจอมมารดาเหมเป็นธิดาคนโตของพระยาธรรมสารนิติวิชิตภักดี (พลับ อมาตยกุล)และท่านขรัวยายแสง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่บ้านหน้าวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) เมื่อวันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 10 ปีชวด ตรงกับวันที่ 21 กันยายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเอม (พ.ศ. 2382 — 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติการพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนงค์นพคุณ.พลายน้อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเที่ยง ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2374 - พ.ศ. 2456) เป็นเจ้าจอมมารดาของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป เจ้าจอมมารดาเที่ยง เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเขียน (พ.ศ. 2385 - พ.ศ. 2484) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของท่านอ้น และท่านอิ่ม สิริวันต์ เป็นหลานของเจ้าจอมมารดางิ้ว (หม่อมงิ้ว ในพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ พระเจ้าลูกยาเธอในรัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นพระมารดาของ สมเด็จพระนางนาฏโสมนัสวัฒนาวดี บรมอรรคราชเทวี ในรัชกาลที่ 4 โดย รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเกียรติยศให้ออกนามว่า "เจ้าจอมมารดางิ้ว" เป็นกรณีพิเศษในฐานะที่จะเป็นขรัวยายของเจ้าฟ้าโสมนัส ที่จะประสูติแต่สมเด็จพระนางนาฏโสมนัสฯ นอกจากนี้ พระยาราชภักดี (ทองคำ) พี่ชายของเจ้าจอมมารดางิ้วเป็นต้นตระกูลสุวรรณทัต) เจ้าจอมมารดาเขียนมีนามเรียกขานทั่วไปว่า "เขียนอิเหนา" ด้วยเป็นละครหลวงที่รำเป็นตัวฃอิเหนาได้งดงามไม่มีใครสู้ เป็นเจ้าจอมที่รัชกาลที่ 4 โปรดมากท่านหนึ่ง เมื่อพระราชโอรสคือ พระองค์เจ้าวรวรรณากร (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ - 2404-2474) ประสูตินั้น รัชกาลที่ 4 พระราชทานกริชให้ นอกเหนือจากพระแสงดาบที่พระราชทานพระราชโอรสทุกพระองค์ โดยมีรับสั่งว่า "เป็นลูกอิเหนา" เจ้าจอมมารดาเขียน ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ.ศ2484 รวมอายุ99ปี.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ (6 มีนาคม พ.ศ. 2433 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2526) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนั้นท่านยังเป็นคนสุดท้ายที่ได้ร้องเพลง นางร้องไห้ และเจ้าจอมคนสุดท้ายของราชวงศ์จักรีที่ยังดำรงชีพและถึงแก่อนิจกรรมในรัชกาลที่9.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันพุธที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2429 เป็นธิดา หม่อมเจ้าจำรูญ ปราโมช และ หม่อมเยื้อน ปราโมช ณ อยุธยา ท่านมีน้องร่วมมารดา 2 คน คือ ร้อยโท หม่อมราชวงศ์จรัญ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์ชาย (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังไม่มีชื่อ) เมื่อวัยเยาว์ เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย อาศัยอยู่กับท่านพ่อที่วังบูรพาภิรมย์ เพราะท่านพ่อเสด็จอยู่กับ จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จนกระทั่งอายุได้ 7 ปี ท่านพ่อจึงส่งเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวังกับพระญาติในราชสกุลปราโมช ซึ่งรับราชการอยู่ในห้องเครื่องต้น วันหนึ่งท่านได้ตามเสด็จ หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ไปรับเงินจ่ายประจำเดือนของห้องเครื่อง จากพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ (พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา) พระอรรคชายาเธอฯทอดพระเนตรเห็นหม่อมราชวงศ์จรวยเป็นเด็กน่าเอ็นดู จึงขอไปทรงเลี้ยง และเมื่อหม่อมราชวงศ์จรวยมีอายุครบ 10 ปี ได้ทรงพระเมตตาจัดพิธีโกนจุกประทานด้วย ครั้นอายุได้ 18 ปี พระอรรคชายาเธอฯจึงนำท่านขึ้นถวายตัวรับราชการฝ่ายใน เป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับพระราชทานเงิน 5 ชั่ง ผ้าลายและแพรห่ม 2 สำรับตามประเพณี ซึ่งท่านได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณจนตลอดรัชกาล โดยมีหน้าที่จัดเตรียมเครื่องสรงพระพักตร์ และทรงเครื่องในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบรรทมตื่นที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในช่วงเวลา 11-12 น. และเมื่อเสด็จพระราชดำเนินออกเสวย ก็ต้องอยู่ประจำในหน้าที่ตั้งเครื่องเสวยทั้งในมื้อเช้าและมื้อเย็น รับใช้ไปจนเข้าที่พระบรรทม ราว 5-6 น. บางครั้งก็ต้องรับหน้าที่อ่านหนังสือถวายแทนเจ้าจอมมารดาเลื่อน และคอยเฝ้าในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปรุงพระกระยาหารด้วยพระองค์เองด้วย เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้า เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 และเข็มพระกำนัล อักษรพระบรมนาม.ป.ร.ลงยาสีชมพูห้อยริบบิ้นเหลืองจักรี และเมื่อมีพิธีเฉลิมพระที่นั่งอัมพรสถาน ท่านได้รับพระราชทานเกียรติยศให้เป็นผู้เชิญพานฟักในงานพระราชพิธีสำคัญนั้นด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 5 แล้ว เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาอาศัยอยู่ในสำนักพระวิมาดาเธอฯ ที่พระราชวังสวนสุนันทา จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2472 จึงออกมาอาศัยกับหม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช จนสิ้นชีพิตักษัย ครั้งสุดท้ายได้ออกมาอยู่กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา ที่ตำหนักทิพย์ ถนนราชวิถี ได้ตามเสด็จเสด็จพระองค์อาทรฯไปฟังธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหารเป็นประจำ จนกระทั่งเสด็จพระองค์อาทร สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ. 2501 จึงอยู่กับเจ้าจอมอาบ และนายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ผู้เป็นทายาทต่อมา เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ปราโมช ป่วยด้วยโรคชรา ถึงอนิจกรรมเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 สิริอายุได้ 82 ปี 4 เดือน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5

้าจอม หม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5 เป็นหม่อมราชวงศ์คนแรก ในราชสกุล "ลดาวัลย์" เกิดเมื่อวันศุกร์ ที่ 30 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอี่ยม เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ขวา) เจ้าจอมอาบ บุนนาค ท..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 ต..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมน้อม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรีคนที่ 4 ในเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม โอสถานนท์) ท่านมีพี่น้องร่วมมารดา ดังนี้.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5 (สกุลเดิม บุนนาค) (22 เมษายน พ.ศ. 2422 - 11 สิงหาคม พ.ศ. 2487) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหนึ่งในเจ้าจอมก๊กออที่ทรงโปรดปรานเป็นพิเศษ เจ้าจอมเอิบ เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอื้อน (ขวา) และเจ้าจอมอาบ (ซ้าย) เจ้าจอมเอื้อน (พ.ศ. 2430 - พ.ศ. 2470) เจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าจอมคนสุดท้องในเจ้าจอมก๊กออจากสกุลบุนน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมเอี่ยม (กลางภาพ) เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ซ้าย) เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2495) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพี่น้องหนึ่งในห้าคนในเจ้าจอมก๊กออ มีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ จำนวน 2 พระองค์ เจ้าจอมเอี่ยม เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าทิพเนตร

ณหญิงเจ้าทิพเนตร หรือ แม่เจ้าทิพเนตร์ หรือ เจ้าทิพเนตร อินทวโรรสสุริยวงศ์ (พระนามเดิม: เจ้าทิพเนตร ณ เชียงใหม่; พ.ศ. 2402—2460) เป็นภรรยาของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 8 ทั้งยังเป็นธิดาของเจ้ามหาเทพ ณ เชียงใหม่ โอรสองค์ที่ 7 ของพระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าทิพเนตร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) (สกุลเดิม บุนนาค) (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2486) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยูรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและสมเด็จเจ้าพร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่

้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)

นายพันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) (200px) (พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2473) เจ้านายฝ่ายเหนือ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจมณฑลพายัพ สืบสายโลหิตจากพระยาธรรมลังกา ผู้จับดาบตะลุยทั่วสิบทิศ เพื่อความสงบสุขของมหาชนชาวนครเชียงใหม่ เป็นเจ้านายมือปราบนาม เจ้าไชยสงคราม ซึ่งโจรผู้ร้ายสยองเพียงได้ยินชื่อ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่

้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ (5 มกราคม พ.ศ. 2456 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2546) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ประจำปีพุทธศักราช 2541.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเจ้าเครือแก้ว ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทอด เทศประทีป

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และอดีตคณบดีคนแรกของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเทอด เทศประทีป · ดูเพิ่มเติม »

เทียนชัย ศิริสัมพันธ์

ลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตหัวหน้าพรรคราษฎร.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเทียนชัย ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดชา สุขารมณ์

นาวาโท นายแพทย์ เดชา สุขารมณ์ ร.น. (21 กันยายน พ.ศ. 2478 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี นายแพทย์เดชา สุขารมณ์ สมรสกับ ทิพย์สุดา สุขารมณ์ มีบุตรชายเป็นนักร้องในสังกัดเครือแกรมมี่ คือ นายแพทย์พรเดชา สุขารมณ.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเดชา สุขารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ (The Vallabhabhorn Order) เรียกโดยย่อว่า "ว.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม ม่วงแพรศรี

นายเฉลิม ม่วงแพรศรี (2 สิงหาคม พ.ศ. 2481 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเฉลิม ม่วงแพรศรี · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว ปทุมรส

กรณีรัชกาลที่ 8 สวรรคต เฉลียว ปทุมรส (25 มีนาคม พ.ศ. 2445 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นอดีตสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน อดีตราชเลขาธิการในสมัยรัชกาลที่ 8 อดีตสมาชิกพฤฒสภาสังกัดพรรคแนวรัฐธรรมนูญ ตกเป็นผู้ต้องหาในเหตุการณ์รัชกาลที่ 8 สวรรคต โดยถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวพันในการวางแผนลอบปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในที่สุดศาลฎีกาได้พิพากษาให้ได้รับโทษประหารชีวิต จึงถูกนำตัวไปประหารชีวิตที่เรือนจำบางขวางในเช้ามืดวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 พร้อมด้วยจำเลยอีก 2 คนในคดีนี้ คือ ชิต สิงหเสนี และบุศย์ ปัทมศริน เฉลียว ปทุมรส มีบุตรสี่คน คือ สมวงศ์ ปทุมรส, เครือพันธ์ (ปทุมรส) บำรุงพงศ์, ฉายศรี (ปทุมรส) โสภณศิริ และ เพิ่มศักดิ์ ปทุมรส ตามลำดั.

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเฉลียว ปทุมรส · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์

ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ เกิดเมื่อวันพุธ ขึ้น 1 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะแม ตรงกับวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญรัตนาภรณ์และเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รัตนาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9เหรียญรจนาภรณ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »