โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เว็บเซิร์ฟเวอร์

ดัชนี เว็บเซิร์ฟเวอร์

ว็บเซิร์ฟเวอร์ สามารถมีได้ 2 ความหมาย คือ.

36 ความสัมพันธ์: บั๊กซิลลาพร็อกซีเซิร์ฟเวอร์พันทิป.คอมการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วนภาษาเออร์แลงยูอาร์แอลระบบจัดการเนื้อหาเว็บลินุกซ์วิกิซอฟต์แวร์สควิด (ซอฟต์แวร์)อะแพชี ทอมแคตอะแพชี แอกซิสอะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรปจีซิปทิม เบอร์เนิร์ส-ลีดรูปัลซิทามิแมมโบ (ซอฟต์แวร์)แลมป์แอปเซิร์ฟไอไอเอสเวิลด์ไวด์เว็บเว็บมินเว็บเพจเว็บเพจพลวัตเอชทีทีพีคุกกี้เอแจ็กซ์เอ็กซ์ทีนเค้กพีเอชพีเซิร์ฟเวอร์ (แก้ความกำกวม)Dojo ToolkitOpenfilerOpenWebNetPHTML EncoderXMLHttpRequest

บั๊กซิลลา

ั๊กซิลลา (Bugzilla) เป็นเครื่องมือในการติดตามบั๊กที่พัฒนาโดยมูลนิธิมอซิลลา โดย Bugzilla เป็นซอฟต์แวร์เสรีที่ทำงานผ่านเว็บ เขียนด้วยภาษาเพิร์ล บั๊กสามารถรายงานโดยใครก็ได้และจะถูกมอบหมายให้นักพัฒนาเพื่อตรวจสอบและแก้ไข ผู้ใช้สามารถติดตามสถานะของบั๊กต่าง ๆ ได้ รวมทั้งการเขียนบันทึกของบั๊กและตัวอย่างบั๊กด้วย Bugzilla จำเป็นต้องใช้เว็บเซิร์ฟเวอร์ เช่น Apache และโปรแกรมฐานข้อมูล เช่น MySQL หรือ PostgreSQL ในการทำงาน ซอฟต์แวร์ที่คล้ายกันเช่น FogBugz, JIRA, Trac, and Mantis.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และบั๊กซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์

ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์ (proxy server) หรือเรียกโดยย่อว่า พร็อกซี คือเซิร์ฟเวอร์ (ระบบคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมประยุกต์) ที่ทำงานโดยการเป็นตัวกลางในการหาข้อมูลตามคำขอของเครื่องลูกข่ายจากเซิร์ฟเวอร์อื่นๆ กล่าวคือเครื่องลูกข่ายเชื่อมต่อไปที่ พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์เพื่อขอใช้งานบางบริการ เช่น ไฟล์ การเชื่อมต่อ เว็บเพจ หรือทรัพยากรต่าง ๆ จากเซิร์ฟเวอร์อื่น จากนั้น พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์จะทำการคัดกรองด้วยกฎที่ตั้ง ตัวอย่างเช่น คัดกรองจาก หมายเลขไอพี, Protocol หลังจากนั้นถ้าการขอผ่านการคัดกรอง พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์จะจัดหาข้อมูลตามคำร้องขอจากเซิร์ฟเวอร์อื่นแทนเครื่องลูก....

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และพร็อกซีเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พันทิป.คอม

ันทิป.คอม หรือพันทิป ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และพันทิป.คอม · ดูเพิ่มเติม »

การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน

การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน (chunked transfer encoding) เป็นวิธีหนึ่งของเว็บเซิร์ฟเวอร์เอชทีทีพี ในการส่งถ่ายข้อมูลไปยังโปรแกรมประยุกต์ของเครื่องลูกข่าย (ซึ่งมักจะเป็นเว็บเบราว์เซอร์) ปกติแล้วข้อมูลที่ได้รับจากข้อความตอบรับเอชทีทีพีจะถูกส่งมาเป็นข้อมูลชิ้นเดียว ซึ่งขนาดของเนื้อหานั้นได้แสดงไว้ในส่วนหัว Content-Length ขนาดของข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญ เพราะว่าเครื่องลูกข่ายจำเป็นต้องทราบว่า เมื่อไรข้อความตอบรับจะสิ้นสุดและเมื่อไรข้อความถัดไปจะตามมา และด้วยการใช้การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน ข้อมูลจะถูกแบ่งออกเป็นบล็อกย่อย ๆ และถูกส่งออกไปเป็นหนึ่งหรือหลาย "ชิ้นส่วน" (chunk) ดังนั้นเครื่องแม่ข่ายอาจเริ่มส่งข้อมูลก่อนที่มันจะทราบว่าขนาดรวมทั้งหมดของเนื้อหาเป็นเท่าใด บ่อยครั้งที่ขนาดของบล็อกจะเท่ากันหมด แต่ก็ไม่แน่เสมอไป บางครั้งเครื่องให้บริการเอชทีทีพีใช้การบีบอัดข้อมูล (gzip หรือ deflate) เพื่อลดเวลาที่ใช้ในการส่งถ่ายข้อมูล แม้ว่าการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วนสามารถใช้ได้กับทรัพยากรที่บีบอัดเพื่อลดปริมาณชิ้นส่วนที่ส่ง แต่หลังจากแบ่งแล้ว ชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่ไม่ได้มีการบีบอัดในตัวเองก็จะไม่มีประโยชน์อะไร แถมยังทำให้เซิร์ฟเวอร์เสียเวลาในการบีบอัดอย่างเต็มที่ แล้วข้อมูลบีบอัดที่ออกมาจึงค่อยถูกตัดแบ่งตามแผน ส่วนกรณีที่มีการตัดแบ่งเป็นชิ้นส่วนก่อนแล้วค่อยนำไปบีบอัด มีข้อดีตรงที่สามารถบีบอัดได้ทันทีในขณะที่ข้อมูลกำลังส่ง เพราะข้อมูลที่นำมาบีบอัดมีขนาดเล็ก แต่ก็มีข้อเสียคือไม่สามารถทราบถึงขนาดข้อมูลสุดท้ายที่บีบอัดแล้วได้โดยง.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเออร์แลง

ษาเออร์แลง (Erlang Programming Language) เป็นภาษาโปรแกรมที่ออกแบบมาให้มีลักษณะพร้อมทำงานหลายอย่างพร้อมกัน (concurrent) ภาษาเออร์แลงออกแบบโดยบริษัทอีริคสัน ใน ค.ศ. 1987 สำหรับระบบที่ทำงานต่อเนื่องไม่ได้หยุด สามารถสลับ (swap) โค้ดของโปรแกรมโดยไม่ต้องหยุดการทำงานของโปรแกรมได้ อีริคสันได้เผยแพร่ซอร์สโค้ดของภาษาเออร์แลงในปี ค.ศ. 1998 ชื่อ "เออร์แลง" นั้นตั้งตาม Agner Krarup Erlang นักคณิตศาสตร์ชาวเดนมาร์ก แต่สามารถหมายถึงตัวย่อของคำว่า ERicsson LANGuage ได้ด้วย ซึ่งเรื่องนี้ Bjarne Däcker หัวหน้าห้องวิจัยคอมพิวเตอร์ของอีริคสันในช่วงที่สร้างภาษาเออร์แลงเปิดเผยว่า เป็นความตั้งใจตั้งแต่แรกที่ให้มีสองความหม.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และภาษาเออร์แลง · ดูเพิ่มเติม »

ยูอาร์แอล

ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล (Uniform Resource Locator, Universal Resource Locator) เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอล (URL) คือตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URI) ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สำหรับระบุแหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมีกลไกบางอย่างสำหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิคและการอภิปรายทั่วไป มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอ Tim Berners-Lee, Roy T. Fielding, Larry Masinter.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และยูอาร์แอล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ

ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Web Content management system) เป็นระบบการจัดการเนื้อหา (CMS) ชนิดหนึ่ง โดยเป็นระบบที่เขียนขึ้นด้วยภาษาโปรแกรม เพื่อใช้เป็นเว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) ในการจัดเนื้อหาของเว็บไซต์ ให้ง่ายต่อการจัดการ การทำงานของระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย โปรแกรมสำหรับสร้างหน้าเว็บด้วยสคริปต์ที่ทำงานบนฝั่งเว็บเซิร์ฟเวอร์ และโปรแกรมที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเช่น โปรแกรมฐานข้อมูล.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และระบบจัดการเนื้อหาเว็บ · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิซอฟต์แวร์

วิกิซอฟต์แวร์ (Wiki software) เป็นซอฟต์แวร์เพื่อความร่วมมือชนิดหนึ่งบนระบบ วิกิ โดยประมวลผลบน เว็บเซิร์ฟเวอร์ การจัดเก็บเนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล แม้ว่าบางครั้งการใช้เครื่องมือจะถูกจัดเก็บในรูปของไฟล์แทน ระบบการทำงานแบบวิกิถูกคิดขึ้นโดย วอร์ด คันนิงแฮม (Ward Cunningham) ในปี ค.ศ. 1995 โดยแนวคิดของวิกินั้นจะให้ความสัมพันธ์อย่างเรียบง่าย และมีเครื่องมือซึ่งง่ายต่อการใช้งานดูแลและปรับปรุงระบบ ระบบวิกิธรรมดาจะแตกต่างกับระบบวิกิที่ซับซ้อน ในด้านของเนื้อหาค่าใช้จ่ายของโครงการ ที่ใช้งานระบบที่มีสมรรถภาพสูง เช่น Drupal หรือ WebGUI วิกิซอฟต์แวร์ สามารถอธิบาย ส่วนประกอบทั้งหมดที่โปรแกรมต้องการในการทำงานของวิกิ อาจจะประกอบด้วยเว็บเซิร์ฟเวอร์ เช่น อแพชี (Apache) ในส่วนเพิ่มเติมของ วิกิเอนจิน (Wiki engine) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีของวิกิ ในบางกรณี เช่น ProjectForum หรือ วิกิเซิร์ฟเวอร์ การทำงานของเว็บเซิร์ฟเวอร์และวิกิเอนจิน จะโยงความสัมพันธ์เข้าด้วยกันเป็นหนึ่งเดียวด้วยระบบการจัดการและควบคุม ซึ่งง่ายต่อการติดตั้ง วิกิซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของโอเพนซอร์ส ซึ่งสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณะภายใต้ลิขสิทธิ์ของ GPL ตัวอย่างเช่นโครงการใหญ่อย่าง มีเดียวิกิ (ระบบของวิกิพีเดีย) และ TWiki ซอฟต์แวร์จะถูกพัฒนาด้วยจากหลายบุคคลร่วมกัน วิกิจำนวนมากมีมาตรฐานการวัดคุณภาพสูง การเขียนโปรแกรมประยุกต์ จะถูกอนุญาตให้โปรแกรมเมอร์พัฒนาลักษณะเด่นใหม่ๆตามความต้องการ วิกิซอฟต์แวร์ บางตัวถูกกำหนดให้ใช้งานการร่วมมือกันทำงาน แต่การจัดการจะขึ้นอยู่กับการใช้งาน ข่าวสารตัวอย่างเช่น AcroWiki สำหรับ ปาล์มโอเอส (PalmOS) และ ConnectedText และ wikidPad สำหรับ วินโดว.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และวิกิซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

สควิด (ซอฟต์แวร์)

วิด เป็นพร็อกซีเซิร์ฟเวอร์และ Web cache สามารถใช้งานได้หลากหลายเช่นเพิ่มความเร็วการเข้าถึงเว็บเซิร์ฟเวอร์โดยการเก็บคำขอที่ถูกขอบ่อยๆเพื่อเก็บเว็บ, DNS และเครือข่ายคอมพิวเตอร์อื่นเพื่อมองหากลุ่มคนที่แบ่งปัญทรัพยากร, ช่วยในการรักษาความปลอดภัยโดยระบบคัดกรอง.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และสควิด (ซอฟต์แวร์) · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี ทอมแคต

อะแพชี ทอมแคต (Apache Tomcat) เป็นโปรแกรมบรรจุเว็บ (web container) ที่พัฒนาโดยมูลนิธิซอฟต์แวร์อะแพชี ทอมแคตใช้ข้อกำหนดของเซิร์ฟเลตและเจเอสพีจากซันไมโครซิสเต็มส์มาเป็นต้นแบบในการทำงาน ซึ่งกำหนดสภาพแวดล้อมสำหรับโค้ดจาวาเพื่อทำงานบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ นอกจากนั้นทอมแคตได้เพิ่มเครื่องมือสำหรับการจัดการการตั้งค่าที่เก็บในรูปแบบแฟ้มเอกซ์เอ็มแอล และมีโปรแกรม HTTP เซิร์ฟเวอร์อยู่ในตัวเอง อะแพชี ทอมแคต เคยเป็นโครงการย่อยของโครงการจาการ์ตา แต่ปัจจุบันได้แยกตัวออกมาเป็นโครงการหลักของมูลนิธิซอฟต์แวร์อะแพชี.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และอะแพชี ทอมแคต · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี แอกซิส

อะแพชี แอกซิส คือ โครงร่างซอฟต์แวร์ประเภทโอเพ่นซอร์ส ใช้สำหรับสร้างเว็บเซอร์วิซ โดยด้วย แอกซิส เองรองรับการพัฒนาอยู่ 2 ภาษาคือ ภาษาจาวา และ ภาษาซีพลัสพลัส ซึ่งนำไปใช้กับ SOAP Server นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือ และ APIs ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับนักพัฒนา สำหรับสร้าง เว็บเซอร์วิซ และโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานร่วมกับเว็บเซอร์วิซ โดยที่ แอกซิส นี้อยู่ภายใต้มูลนิธีซอฟต์แวร์อะแพชี.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และอะแพชี แอกซิส · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์

อะพาเช่ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache HTTP Server) คือซอฟต์แวร์สำหรับเปิดให้บริการเซิร์ฟเวอร์บนโพรโทคอล HTTP โดยสามารถทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ ที่มาของชื่อ Apache มาจากกลุ่มคนที่ช่วยสร้างแพตช์ไฟล์สำหรับโครงการ NCSA httpd 1.3 ซึ่งกลายมาเป็นที่มาของชื่อ A PAtCHy server และในอีกความหมายหนึ่งยังกล่าวถึงเผ่าอะแพชีหรืออาปาเช่ ซึ่งเป็นเผ่าอินเดียนแดงที่มีความสามารถในการรบสูง.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และอะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป

องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (European Organization for Nuclear Research; CERN; Organisation européenne pour la recherche nucléaire) เรียกโดยทั่วไปว่า "เซิร์น" เป็นองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2497 โดยมีประเทศสมาชิกก่อตั้ง 12 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อแรกก่อตั้ง เซิร์น มีชื่อว่า "สภาวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป" หรือ Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire (European Council for Nuclear Research) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อย่อ CERN บทบาทหลักของเซิร์นคือ การจัดเตรียมเครื่องเร่งอนุภาคและโครงสร้างอื่นๆที่จำเป็นต่อการวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค เซิร์นเป็นสถานที่ทำการทดลองมากมายที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นต้นกำเนิดของเวิลด์ไวด์เว็บ สำนักงานหลักที่เขตเมแร็ง มีศูนย์คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูงมากเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง และเนื่องจากจำเป็นต้องทำให้นักวิจัยในสถานที่อื่นสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ได้ จึงต้องมีฮับสำหรับข่ายงานบริเวณกว้างอีกด้วย ในฐานะที่เป็นองค์การระหว่างประเทศ สถานที่ของเซิร์นจึงไม่อยู่ภายใต้อำนาจทางกฎหมายของทั้งสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส ใน..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และองค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

จีซิป

ีซิป (gzip) เป็นโปรแกรมบีบอัดข้อมูล เขียนโดย ฌอน-ลูป เกลลี (Jean-loup Gailly) และ มาร์ค แอดเลอร์ (Mark Adler) เวอร์ชันแรก 0.1 เผยแพร่เมื่อ 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และจีซิป · ดูเพิ่มเติม »

ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี

ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498) ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการWorld Wide Web Consortium (ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ) นักวิจัยอาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์ (3Com Founders Chair) ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอที (CSAIL).

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และทิม เบอร์เนิร์ส-ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดรูปัล

รูปัล (Drupal; สัท. /ˈdruː-pʌl/) เป็นเฟรมเวิร์กสำหรับมอจูลในการสร้างเว็บไซต์และระบบจัดการเนื้อหาเว็บในลักษณะโอเพนซอร์ซ เขียนขึ้นด้วยภาษาพีเอชพี โดยเริ่มพัฒนาใน พ.ศ. 2543 และกลายมาเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซในปี..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และดรูปัล · ดูเพิ่มเติม »

ซิทามิ

ซิทามิ หรือ ชิทามิ (Xitami) เป็นซอฟต์แวร์เสรีโอเพนซอร์สประเภทเว็บเซิร์ฟเวอร์และเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ พัฒนาโดยบริษัทอิมาทิกซ์ (iMatix Corporation) ประสิทธิภาพในการทำงานถึงจะไม่เร็วเท่าเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่เร็วที่สุด แต่ตัวซอฟต์แวร์นั้นมีขนาดเล็กมาก (ไม่เกิน 2 เมกะไบต์) และใช้ทรัพยากรระบบน้อย ซิทามิรองรับการทำงานบนเว็บแอปพลิเคชันที่เขียนด้วยภาษาซีจีไอ อาทิ ภาษาพีเอชพี และยังมีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้บนเว็บเพจที่ช่วยสามารถจัดการตั้งค่าซอฟต์แวร์ผ่านเว็บเบราว์เซอร์ได้อีกทางหนึ่ง ซิทามิสามารถทำงานได้บนวินโดวส์ ลินุกซ์ และระบบปฏิบัติการอื่นที่คล้ายยูนิกซ์ เช่น โอเพนวีเอ็มเอส โอเอส/2 เป็นต้น สำหรับรุ่นเชิงพาณิชย์ของซิทามิรองรับการใช้งานเอสเอสแอลได้ด้ว.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และซิทามิ · ดูเพิ่มเติม »

แมมโบ (ซอฟต์แวร์)

แมมโบ (Mambo) หรือชื่อเดิม แมมโบโอเพนซอร์ซ (Mambo Open Source - MOS) เป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บแบบโอเพนซอร์สที่มีผู้ใช้จำนวนมาก Mambo เคยชนะการประกวดซอฟต์แวร์ของนิตยสาร Linux Format ในปี..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และแมมโบ (ซอฟต์แวร์) · ดูเพิ่มเติม »

แลมป์

Squid). A high performance and high-availability solution for a hostile environment แลมป์ (LAMP) เป็นอักษรย่อของชุดซอฟต์แวร์เสรีสำหรับการทำเว็บไซต์ โดยตัวย่อต้นฉบับนั้นย่อมาจาก.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และแลมป์ · ดูเพิ่มเติม »

แอปเซิร์ฟ

แอปเซิร์ฟ (AppServ) คือ ชุดโปรแกรมในลักษณะของWAMP ในการสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์สำเร็จรูปบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ สร้างโดยชาวไทย จัดทำขึ้นโดย ภาณุพงศ์ ปัญญาดี เป็นการรวมโปรแกรมจำนวน 4 ตัวในการสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้แก่ Apache HTTP Server, PHP, MySQL, และ phpMyAdmin เวอร์ชันปัจจุบันได้แก่ 2.4.9 (สำหรับ PHP 4) และ 2.5.10 (สำหรับ PHP 5) เนื่องจากภาณุพงศ์ ปัญญาดี ต้องตอบคำถามวิธีการติดตั้ง Apache, PHP, และ MySQL ให้ใช้งานด้วยกันได้บ่อยครั้ง จึงริเริ่มพัฒนาชุดติดตั้ง AppServ ที่ติดตั้งและใช้งานได้ทันทีในประมาณปี..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และแอปเซิร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไอไอเอส

อินเทอร์เน็ตอินฟอร์เมชันเซอร์วิซซิส หรือ ไอไอเอส (Internet Information Services: IIS) ชื่อเดิมว่า อินเทอร์เน็ตอินฟอร์เมชันเซิร์ฟเวอร์ (Internet Information Server) เป็นโปรแกรมให้บริการเว็บเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้สามารถ Run โปรแกรมผ่านเครื่องของเราได้ ซึ่งส่วนใหญ่จะหาได้จากแผ่น Windows อยู่แล้ว โดยขั้นตอนการติดตั้งให้ไปที่ หาก Windows เป็น Windows NT 4.0 อาจจะไม่สามารถรันได้ให้ Download ASP.exe ในการลง ซึ่งแถมมากับ Windows 98.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และไอไอเอส · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์ไวด์เว็บ

แสดงตัวอย่างของเวิลด์ไวด์เว็บ ที่เชื่อมโยงกับวิกิพีเดีย เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web, WWW, W3; หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า เว็บ) คือพื้นที่ที่เก็บข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมต่อกันทางอินเทอร์เน็ต โดยการกำหนดยูอาร์แอล คำว่าเวิลด์ไวด์เว็บมักจะใช้สับสนกับคำว่า อินเทอร์เน็ต จริง ๆ แล้วเวิลด์ไวด์เว็บเป็นเพียงแค่บริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเวิลด์ไวด์เว็บ · ดูเพิ่มเติม »

เว็บมิน

ว็บมิน (Webmin) เป็นเว็บแอปพลิเคชันที่ช่วยในการจัดการระบบในระบบปฏิบัติการต่าง ๆ ในตระกูลยูนิกซ์ โดยการใช้จะทำผ่านเว็บเบราว์เซอร์เช่น Internet Explorer Google Chrome Mozilla Firefox ส่วนใหญ่ของเว็บมินพัฒนาด้วยภาษาเพิร์ล และทำงานร่วมกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ มักใช้ TCP พอร์ตหมายเลข 10000 ในการติดต่อ และสามารถใช้โพรโทคอล SSL ถ้ามีโปรแกรม OpenSSL ติดตั้งไว้แล้ว โครงสร้างภายในเป็นลักษณะโมดูล ซึ่งมีส่วนติดต่อไปยังไฟล์เก็บการตั้งค่าและอีกส่วนไปยังเซิร์ฟเวอร์เว็บมิน โครงสร้างนี้มีความยืดหยุ่น ผู้ที่สนใจสามารถเพิ่มเติมขีดความสามารถใหม่ โดยการเขียนส่วนเสริมเพิ่มเองได้ เว็บมินยังยอมให้ควบคุมเครื่องหลายเครื่องพร้อมกัน เว็บมินเป็นเว็บโปรแกรมที่เผยแพร่โดยใช้สัญญาอนุญาตแบบ BSD license ผู้พัฒนาหลักคือ เจมี แคเมรอน (Jamie Cameron) ชาวออสเตรเลีย เว็บมินมีโครงการพี่น้องที่ชื่อ ยูสเซอร์มิน (Usermin) สำหรับควบคุมงานทั่วไปที่ไม่เพียงแค่งานบริหารร.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเว็บมิน · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเพจ

หน้าจอของเว็บเพจหนึ่งบนวิกิพีเดีย เว็บเพจ (web page, webpage) หรือแปลเป็นไทยว่า หน้าเว็บ คือเอกสารเว็บชนิดหนึ่งเหมาะสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บและเว็บเบราว์เซอร์ เว็บเบราว์เซอร์จะแสดงเว็บเพจบนจอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ เว็บเพจก็คือสิ่งที่ปรากฏออกมา แต่ศัพท์นี้ก็ยังหมายถึงแฟ้มคอมพิวเตอร์ที่มักจะเขียนเป็นเอชทีเอ็มแอลหรือภาษามาร์กอัปที่เทียบเคียงได้ ซึ่งมีลักษณะเด่นอันเป็นหลักก็คือ การจัดเตรียมข้อความหลายมิติที่จะนำไปสู่ เว็บเพจอื่น ผ่านทางลิงก์ เว็บเบราว์เซอร์จะประสานงานกับทรัพยากรเว็บที่อยู่โดยรอบเว็บเพจที่เขียน อาทิสไตล์ชีต สคริปต์ และรูปภาพ เพื่อนำเสนอเว็บเพจนั้น เว็บเบราว์เซอร์สามารถค้นคืนเว็บเพจจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ระยะไกลบนเครือข่ายหนึ่ง ๆ ได้ ในระดับที่สูงขึ้น เว็บเซิร์ฟเวอร์อาจจำกัดการเข้าถึงให้เฉพาะเครือข่ายส่วนตัว เช่นอินทราเน็ตภายในองค์กร หรือจัดเตรียมการเข้าถึงสู่เวิลด์ไวด์เว็บ ส่วนในระดับที่ต่ำกว่า เว็บเบราว์เซอร์จะใช้เกณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติ (เอชทีทีพี) เพื่อสร้างการร้องขอเช่นนั้น เว็บเพจสถิต (static web page) คือเว็บเพจที่ถูกส่งมาเป็นเนื้อหาเว็บเหมือนกับข้อมูลที่บันทึกอยู่ในระบบแฟ้มของเว็บเซิร์ฟเวอร์ ในขณะที่ เว็บเพจพลวัต (dynamic web page) จะถูกสร้างขึ้นโดยเว็บแอปพลิเคชัน ซึ่งขับเคลื่อนด้วยซอฟต์แวร์ด้านเซิร์ฟเวอร์หรือสคริปต์ด้านไคลเอนต์ เว็บเพจพลวัตช่วยให้เบราว์เซอร์ (ด้านไคลเอนต์) เพิ่มสมรรถนะของเว็บเพจผ่านทางอินพุตของผู้ใช้ไปยังเซิร์ฟเวอร.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเว็บเพจ · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเพจพลวัต

ว็บเพจพลวัต: ตัวอย่างของสคริปต์ด้านเซิร์ฟเวอร์ (พีเอชพีและมายเอสคิวแอล) เว็บเพจพลวัต หรือ ไดนามิกเว็บเพจ (dynamic web page) คือเว็บเพจที่เนื้อหาเว็บสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับพารามิเตอร์ที่กำหนดโดยผู้ใช้หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเว็บเพจพลวัต · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีทีพีคุกกี้

อชทีทีพีคุกกี้ (HTTP cookie) นิยมเรียกว่า เว็บคุกกี้ หรือ คุกกี้ หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกส่งจากเว็บเซิร์ฟเวอร์มายังเว็บเบราว์เซอร์ และถูกส่งกลับมายังเว็บเซิร์ฟเวอร์ทุกๆครั้งที่เว็บเบราว์เซอร์ร้องขอข้อมูล โดยปกติแล้วคุกกี้จะถูกใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลขนาดเล็กๆไว้ที่เว็บเบราว์เซอร์ เพื่อให้เว็บเซิร์ฟเวอร์สามารถจดจำสถานะการใช้งานของเว็บเบราว์เซอร์ที่มีต่อเว็บเซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่างการใช้งานคุกกี้เช่น ใช้เพื่อจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้ เวลาที่ผู้ใช้เข้าเว็บครั้งล่าสุด ข้อมูลสินค้าที่ผู้ใช้เลือกไว้ ข้อมูลในคุกกี้เหล่านี้ ทำให้เว็บไซต์สามารถที่จะจดจำผู้ใช้ได้ แต่ไม่สามารถส่งคำสั่งมาประมวลผล หรือส่งไวรัสคอมพิวเตอร์ผ่านคุกกี้ได้ และมีเพียงเซิร์ฟเวอร์ที่สร้างคุกกี้นั้นๆ เท่านั้นจึงจะสามารถอ่านค่าของคุกกี้ดังกล่าวได้ คุกกี้เป็นมาตรฐาน ออกเมื่อ กุมภาพัน..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเอชทีทีพีคุกกี้ · ดูเพิ่มเติม »

เอแจ็กซ์

อแจ็กซ์ (AJAX: Asynchronous JavaScript and XML) เป็นกลุ่มของเทคนิคในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อให้ความสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ดีขึ้น โดยการรับส่งข้อมูลในฉากหลัง ทำให้ทั้งหน้าไม่ต้องโหลดใหม่ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งช่วยทำให้เพิ่มการตอบสนอง ความรวดเร็ว และการใช้งานโดยรวม เอแจ็กซ์นั้นไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่ แต่เป็นเทคนิคที่ได้ใช้เทคโนโลยีหลายอย่างที่มีอยู่แล้วรวมกันดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเอแจ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซ์ทีน

ลโก้ เอทเซทโต เอ็กซ์ทีน (Exteen) เป็นเว็บไซต์ไทยที่ให้บริการบล็อกฟรี ก่อตั้งโดยจดทะเบียนเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2544 แต่ได้เปิดใช้ให้บริการบล็อกในช่วงกลางปี พ.ศ. 2547 ปัจจุบันเอ็กซ์ทีนมีสมาชิกกว่า 200,000 ราย ก่อตั้งโดย ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และปฏิญญา เสงี่ยมจิตร์ ในขณะที่ทั้งคู่เป็นนิสิตภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันบริหารงานภายใต้ชื่อบริษัท เอทเซทโต จำกัด เอ็กซ์ทีนเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 157 (19 กันยายน 2557) จากการจัดอันดับโดยอะเล็กซา โครงการบางส่วนของเอ็กซ์ทีนได้มีการปรากฏตามหน้าหนังสือพิมพ์เช่น โครงการไทยช่วยสันติสุข ที่ร่วมกันบริจาคเงินกว่า 800,000 บาท รวมถึงการซื้อเสื้อเกราะกันกระสุน ช่วยเหลือทหารไทยที่ลาดตระเวนในชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเอ็กซ์ทีน · ดูเพิ่มเติม »

เค้กพีเอชพี

้กพีเอชพี (CakePHP) คือ เฟรมเวิร์กที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษาพีเอชพี ซึ่งเป็นตัวช่วยสำหรับพัฒนาเว็บโดยใช้ภาษา PHP และถูกออกแบบบนพื้นฐาน MVC (Model, View, Controller) กล่าวคือ CakePHP ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ภาษาพีเอชพี ซึ่งช่วยให้สามารถพัฒนาเว็บได้เร็วยิ่งขึ้น โดยเน้นที่การพัฒนาระบบเว็บที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะใช้เวลาในการพัฒนามาก แต่หากใช้ CakePHP ก็จะสามารถพัฒนาได้รวดเร็วยิ่งขึ้นเพราะ CakePHP มีตัวช่วย และยังเขียน Code เพียงเล็กน้อยก็สามารถทำงานได้ (Write less do more).

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเค้กพีเอชพี · ดูเพิ่มเติม »

เซิร์ฟเวอร์ (แก้ความกำกวม)

ซิร์ฟเวอร์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และเซิร์ฟเวอร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

Dojo Toolkit

Dojo Toolkit เป็น โอเพนซอร์ส DHTML ทูลคิท ที่เขียนด้วยจาวาสคริปต์ ช่วยในการพัฒนาเอแจ็กซ์ในเว็บแอปพลิเคชัน ริเริ่มโดย อเล็กซ์ รัสเสล (Alex Russell) ใน ปี..

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และDojo Toolkit · ดูเพิ่มเติม »

Openfiler

Openfiler เป็น ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ที่ออกแบบมาเพื่อให้บริการจัดเก็บไฟล์และข้อมูล หรือที่เรียกอีกอย่างว่า ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ อีกทั่งยังมีบริการ เว็บเซิร์ฟเวอร์ เมลเซิร์ฟเวอร์ อยู่ภายใต้ สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนูรุ่นที่ 2 Openfilerถูกสร้างขึ้นโดย ดัดแปลงมาจากระบบ Xinit ลินุกซ์ ดิสโทรสายหนึ่ง ในรุ่นปัจจุบัน 2.99.1 ได้เปลี่ยนแปลงระบบปฏิบัติการลินุกซ์ ดิสโทรเป็น Cent OS ในการควบคุม ติดตาม และการตั้งค่า ของซอฟต์แวร์ จะกระทำผ่านหน้าเว็บไซต์ทั้งหม.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และOpenfiler · ดูเพิ่มเติม »

OpenWebNet

OpenWebNet คือ โพรโทคอลสำหรับการสื่อสารซึ่งได้รับการพัฒนาโดย Bticino ตั้งแต่ปี 2000 สำหรับ โพรโทคอล OpenWebNet นี้ ถูกเสริมให้มีการจัดการในระดับสูง ระหว่างยูนิตรีโมต กับบัส SCS ในระบบ MyHome domotic ซิสเต็ม วิวัฒนาการล่าสุดของโพรโทคอลได้ถูกพัฒนาเสริมการใช้งาน โพรโทคอล OpenWebNet เพื่อที่จะสื่อสารและทำงานกับระบบ domotic ซิสเต็ม ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดี อย่างเช่น ระบบ KNX หรือ ระบบ DMX512-A โดยการใช้ เกตเวย์ ที่เหมาะสม ทั้งนี้ โพรโทคอล OpenWebNet ได้ถูกบรรจุใน MyOpen community ไว้แล้ว.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และOpenWebNet · ดูเพิ่มเติม »

PHTML Encoder

PHTML Encoder เป็นโปรแกรมเข้ารหัสประเภทแชร์แวร์ที่ถูกพัฒนาโดย RSSoftware Lab โดยรองรับขั้นตอนวิธีการเข้ารหัสหลากประเภท โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นสำหรับทำงานทั้งบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และลินุกซ์ PHTML Encoder ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเข้ารหัสพีเอชพีสคริปต์ก่อนที่จะทำการแจกจ่ายออกไป เพื่อไม่ให้ผู้อื่นทราบตรรกะของผู้พัฒนาได้ ทั้งยังสามารถกำหนดให้สคริปต์ที่ถูกเข้ารหัสทำงานเฉพาะบนเครื่องใดเครื่องหนึ่ง เพื่อให้สคริปต์ดังกล่าวทำงานได้เฉพาะบนเครื่องของผู้พัฒนาได้ โปรแกรมสามารถทำงานได้บนทุกแพลตฟอร์มที่รองรับการทำงานของภาษาพีเอชพี และยังมีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ทั้งแบบกราฟิก และ command-line อีกด้วย นอกเหนือไปจากตัวโปรแกรมแล้ว ทาง RSSoftware Lab ยังมีการขายซอร์สโค้ดของโปรแกรมพร้อมสิทธิ์ในการปรับแก้อีกด้วย นี่แตกต่างจากโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ตรงที่ไม่อนุญาตให้มีการแจกจ่ายซอร์สโค้ดของโปรแกรมต่อ และผู้ใช้ต้องซื้อตัวซอร์สโค้ดจากทางบริษัท แทนที่จะเป็นการแจกจ่ายเสรี.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และPHTML Encoder · ดูเพิ่มเติม »

XMLHttpRequest

XMLHttpRequest (XHR) เป็นเอพีไอที่สามารถเรียกใช้ได้จาก จาวาสคริปต์ เจสคริปต์ วีบีสคริปต์ และภาษาสคริปต์อื่นๆ ในการแลกเปลี่ยน และปรับรูปแบบ XML จากเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยใช้ HTTP ซึ่งสร้างการเชื่อมต่อระหว่างเว็บเบราว์เซอร์ (Client-Side) กับ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Server-Side) XMLHttpRequest นั้นถือเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันโดยใช้เทคนิค AJAX.

ใหม่!!: เว็บเซิร์ฟเวอร์และXMLHttpRequest · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Web ServerWeb server

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »